You are on page 1of 112

บทที่ 13 เครื่องกำเนิดไฟฟ้ าสำรอง

( Standby Generator )

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 1


13.1 บทนำ
- พลังงานไฟฟ้ ามีใช้มากมายในสถานประกอบการต่างๆ

- เมื่อไฟฟ้ าจากการไฟฟ้ าเกิดขัดข้อง จำเป็ นต้องมีชดุ


เครื่องกำเนิดไฟฟ้ า เพื่อจ่ายไฟฟ้ าให้กบั อุปกรณ์ที่ส ำคัญ
เช่น แสงสว่างทางเดิน บันไดหนี ไฟ ลิฟต์ เป็ นต้น

- เครื่องกำเนิดไฟฟ้ าสำรองยังสามารถ ขนานเข้ากับ


ระบบของการไฟฟ้ า ลด Peak ได้
ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 2
13.2 ชุดเครื่องกำเนิดไฟฟ้ า

รูปที่ 13.1 Typical Diesel Generator Set Installation


ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 3
ชุดเครื่องกำเนิดไฟฟ้ า
มีส่วนประกอบที่ส ำคัญคือ
- เครื่องต้นกำลัง ( Engine Prime Mover )
- เครื่องกำเนิดไฟฟ้ า ( Alternator )
- แผงควบคุม ( Control Panel )
- สวิตช์สบั เปลี่ยน ( Transfer Switch )

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 4


13.3 เครื่องต้นกำลัง

- เครื่องยนต์ดีเซล ( Diesel Engine )


- เครื่องกังหันแก๊ส ( Gas Turbine )
- เครื่องกังหันไอน้ำ ( Steam Turbine )
- เครื่องกังหันน้ำ ( Water Turbine )

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 5


เครื่องยนต์ดีเซล ( Diesel Engine )
- ใช้กบั แพร่หลายที่สดุ
- เป็ นเครื่องยนต์แบบ สันดาบภายใน
- มีระบบ 2 จังหวะ และ 4 จังหวะ
- ขนาดพิกดั ตามจำนวนลูกสูบ 4 , 6 หรือ 12 สูบ
- ติดตัง้ ตามแนว ( In Line ) หรือ รูปตัว V

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 6


เครื่องยนต์ดีเซล ( Diesel Engine )…( ต่อ )
เครื่องยนต์ 4 จังหวะมีข้อดีกว่า 2 จังหวะ
- ประสิทธิภาพดีกว่า
- วาล์ว ( Valve ), ลูกสูบ และแหวน
จะมีอายุการใช้งานยาวนานขึน้
เพราะมันสามารถกระจายความร้อนได้ดี

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 7


เครื่องยนต์ดีเซล ( Diesel Engine )…( ต่อ )
เครื่องยนต์ดีเซล
- พิกดั สูงอาจมี Turbocharge
- นำเอาพลังงานไอเสียมาขับวงล้อเทอร์ไบน์
เพื่อไปหมุน Centrifugal Air Impellar
ทำให้ภายในลูกสูปมีอากาศมากขึน้
เครื่องยนต์มีก ำลังมากขึน้

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 8


เครื่องยนต์ดีเซล ( Diesel Engine )…( ต่อ )

เครื่องยนต์ดีเซลมีส่วนประกอบที่ส ำคัญดังนี้ คือ


- ระบบเชื้อเพลิง ( Fuel System )
- ระบบระบายความร้อน ( Cooling System )
- ระบบไอเสีย ( Exhaust System )
- ระบบเริ่มเดินเครื่อง ( Starting System )

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 9


กัฟเวินเนอร์ ( Governor )
- ใช้ในการ ควบคุมความเร็วของเครื่องยนต์
N NL  N FL
% Droop =  100
N FL

NNL = ความเร็วรอบขณะไม่มีโหลดต่ออยู่

NFL = ความเร็วรอบขณะจ่ายโหลดเต็มพิกดั

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 10


กัฟเวินเนอร์ ( Governor )…(ต่อ)

รูปที่ 13.2 แสดงความเร็วของเครื่องยนต์


ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 11
กัฟเวินเนอร์ ( Governor )…( ต่อ )
0 % Droop ( Isochronous )
- ความเร็วรอบไม่เปลี่ยน

Governor มีหลายชนิดเช่น
- กัฟเวินเนอร์ทางกล ( Mechanical Governor )
- กัฟเวินเนอร์ไฮดรอลิก ( Hydraulic Governor )
- กัฟเวินเนอร์อิเล็คทรอนิกส์ ( Electronic Governor )
- กัฟเวินเนอร์แบบผสม
ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 12
Speed Band
( Mechanical Governor ) มีค่า Speed Band  0.5 %
( Hydraulic Governor ) มีค่า Speed Band  0.25 %

( Electronic Governor ) มีค่า Speed Band  0.10 %

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 13


13.4 เครื่องกำเนิดไฟฟ้ า
มีส่วนประกอบที่ส ำคัญคือ
- ส่วนที่หมุน ( Rotor )
- ส่วนที่อยู่กบั ที่ ( Stator )
- ส่วน Brushless Rotating Exciter a Rotating Rectifier
- ส่วนควบคุมแรงดัน ( Voltage Regulator )

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 14


13.4.1 โรเตอร์ ( Rotor )

- ส่วนที่หมุน

- มีขวั ้ แม่เหล็กพร้อมขดลวดพันรอบ

- สร้างสนามแม่เหล็กหมุน ( Rotating Field )


ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 15
13.4.2 สเตเตอร์ ( Stator )

- ส่วนที่อยู่กบั ที่
- มีขดลวด Armature

- สนามแม่เหล็กจะตัดขดลวด Armature
สร้างแรงดันเหนี่ ยวนำขึน้ และ
จ่ายกำลังไฟฟ้ าให้โหลด
ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 16
ความเร็วรอบและความถี่หาได้จาก
120 f
n
p
โดยที่
n = ความเร็วรอบของโรเตอร์ ( rpm )
f = ความถี่ ( Hz )
p = จำนวนขัว้ แม่เหล็ก ( Pole )

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 17


ตัวอย่าง เครื่องกำเนิดไฟฟ้ ามี 6 ขัว้
ถ้าต้องการความถี่ 50 Hz
Prime Mover จะต้องวิ่งด้วยความเร็วเท่าใด

N = (120 f ) / P
= 120 x 50 / 6
= 1000 rpm
ถ้ามี 4 ขัว้
N = (120 f ) / P
= 120 x 50 / 4
= 1500 rpm

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 18


13.4.3 A.C. Exciter

- ชุดสร้างสนามแม่เหล็กกระตุ้น
- จ่ายกระแสตรงให้ขดสนาม
- เป็ นเครื่องกำเนิดไฟฟ้ า AC ตัวเล็กๆ
- ติดตัง้ บนเพลาเดียวกับ Rotor
- มี Full-Wave Rectifier เพื่อแปลงไฟ A.C. เป็ น D.C.
- ไม่จ ำเป็ นต้องใช้แปรงถ่าน ( Brushes )
- เรียกว่าแบบ ( Brushless Rotating Exciter )
ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 19
13.4.4 Automatic Voltage Regulator ( AVR )
ชุดควบคุมแรงดันขาออกแบ่งเป็ น 2 แบบ

1 ) แบบ Self Excited

2 ) แบบ Separately Excited

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 20


1 ) Self Excited
- รับกำลังไฟฟ้ ากระตุ้นจากแรงดันขาออก
- มี Residual Magnetism ซึ้งจะเหนี่ ยวนำแรงดัน
- ชุดควบคุมแรงดัน ( Voltage Control Unit )
ควบคุมให้ได้แรงดันขาออกที่ต้องการ

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 21


Self Excited…( ต่อ )

รูปที่ 13.3 Block diagram แบบ Self Excited


ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 22
2 ) Separately Excited…
- ไฟฟ้ ากระตุ้นของ A.C. Exciter ได้จาก
A.C. Generator ตัวเล็กๆ
- สนามที่ได้เป็ นแม่เหล็กถาวร ( Permanent Magnet )

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 23


Separately Excited…( ต่อ )
Electrical Power Output
Power
Set Reference

Sense Output
V.C.U.

Exciter
Main Stator Field
(Stator)
Permanent
Magnet
Stator
Exciter Permanent
Rotor Magnet
Main Field (rotor) (arma- Field
-ture) (rotor)
Rotating Diodes

Mechanical
Rotational
Power Input

รูปที่ 13.4 Block diagram แบบ Separately Excited


ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 24
13.5 สวิตช์สบั เปลี่ยน ( Transfer Switch )
สับเปลี่ยนโหลดจากแหล่งจ่ายไฟปกติไปยังชุด
เครื่องกำเนิดไฟฟ้ า มี 2 ชนิด
1) สวิตช์สบั เปลี่ยนไม่อตั โนมัติ
( Non-Automatic Transfer Switch )
2) สวิตช์สบั เปลี่ยนอัตโนมัติ
( Automatic Transfer Switch, ATS )

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 25


การทำงานของ ATS
- ทำการตรวจสอบตลอดเวลาว่าไฟฟ้ าฯ
ขาดหายไปหรือไม่

- เมื่อพบว่าไฟฟ้ าขาดหายไปจะส่งสัญญาณ
ให้ชดุ เครื่องกำเนิดไฟฟ้ าเริ่มเดินเครื่อง

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 26


การทำงานของ ATS ( ต่อ )

- เมื่อเครื่องกำเนิดไฟฟ้ าวิ่งถึงความเร็ว
จะสับเปลี่ยนโหลด มายังชุดเครื่องกำเนิดไฟฟ้ า
และจ่ายไฟให้ Loads

- ตรวจสอบว่าไฟฟ้ าจากทางการไฟฟ้ าฯ
กลับมาจ่ายอีกครัง้ หรือยัง
ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 27
การทำงานของ ATS…( ต่อ )
- เมื่อพบว่าไฟฟ้ าจากทางการไฟฟ้ าฯ
กลับมาจ่ายตามเดิมแล้วจะทำการสับเปลี่ยน
โหลดมายังระบบไฟฟ้ าของทางการไฟฟ้ าฯ

- ส่งสัญญาณให้ชดุ เครื่องกำเนิดไฟฟ้ า
หยุดเดินเครื่อง

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 28


NORMAL
POWER ENG/GEN
SOURCE CONTROL
ENG

MAIN GEN.
SERVICE
DISCONNECT
CURRENT
PROTECTIVE
DEVICE EMERGENCY
LOADS

TRANSFER
CURRENT SWITCH
PROTECTIVE
DEVICE

NON-EMERGENCY
LOADS

รูปที่ 13.5 ระบบไฟฟ้ าที่มีชดุ เครื่องกำเนิดไฟฟ้ าพร้อม


Transfer Switch
ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 29
แบบ Automatic Closed Transition Transfer Switch
- ATS การสับโหลดกลับทำให้เกิดไฟฟ้ าดับ 2 ครัง้
- CTTS สามารถลดไฟดับเหลือ 1 ครัง้
- CTTS จะขนานไฟฟ้ าของเครื่องกำเนิดไฟฟ้ าเข้ากับ
่ ่ เมื่อเสร็จแล้วจะตัดไฟจากชุด
แหล่งจ่ายไฟชังครู
เครื่องกำเนิดไฟฟ้ าออก ดังนัน้ ไฟฟ้ าที่จ่ายให้โหลด
จะไม่ขาดหาย
ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 30
13.6 ขนาดพิกดั ชุดเครื่องกำเนิดไฟฟ้ าสำรอง

ชุดเครื่องกำเนิดไฟฟ้ า ซึ่งประกอบด้วย
ตัวต้นกำลัง ( Prime Mover )
และ
เครื่องกำเนิดไฟฟ้ า ( Generator )

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 31


การกำหนดพิกดั จะต้องคำนึ งถึงทัง้ 2 ส่วน

1 ) ตัวต้นกำลัง
ตัวต้นกำลังต้องกำหนดตาม
กำลังจริง ( kW ) ที่สามารถจ่ายให้ได้

2 ) เครื่องกำเนิดไฟฟ้ า
เครื่องกำเนิดไฟฟ้ าต้องสามารถจ่าย
กำลังเสมือน ( kVA ) สูงสุด

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 32


สำหรับชุดเครื่องกำเนิดไฟฟ้ า
จะกำหนดที่ ตัวประกอบกำลัง 80 % Lagging

ชุดเครื่องกำเนิดไฟฟ้ า อาจ ให้ พิกดั เป็ น 3 แบบ คือ

1. Prime Power Rating


2. Standby Power Rating
3. Continuous Power Rating

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 33


1. Prime Power Rating

- คือพิกดั กำลังสูงสุดที่เครื่องยนต์
สามารถจ่ายได้อย่างปลอดภัย
- คิดตาม Fuel Stop Power
ตามมาตรฐาน ISO 3046/1 หรือ BS 55/4

่ พิกดั นี้ จะใช้กบั งานที่


- โดยทัวไป
Load Factor ไม่เกิน 60 %
- หรือใช้ไม่เกิน 500 ชัวโมงต่
่ อปี
ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 34
2. Standby Power Rating

- พิกดั นี้ จะใช้ สูงกว่า Prime Power Rating 10 %


- พิกดั นี้ โดยทัวไปจะใช้
่ กบั งานอาคาร

- Load Factor น้ อยกว่า 60 %


- และ ใช้ไม่เกิน 100 ชัวโมงต่
่ อปี

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 35


3. Continuous Power Rating

- คือพิกดั ของเครื่องซึ่งใช้
โหลดเกือบคงที่ ( Near – Constant Load )
สำหรับเวลาไม่จ ำกัด

- พิกดั นี้ โดยทัวไป


่ Load Factor 70 - 100 %
และใช้เป็ น Base Load

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 36


ตัวอย่าง Gen set ชุดหนึ่ งมี Prime Rating 800 kW

Generator Power = 800 / 0.8 = 1000 kVA

แม้ว่า Generator จะมีพิกดั 1000 kVA

แต่ไม่สามารถจ่ายโหลดได้ 1000 kW

เพราะว่ามันจะ Overload Engine

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 37


ตัวอย่าง พิกดั ของ Gen set ชุดหนึ่ งมี Rating 3 แบบ
 
kVA kWe
Prime Rating 849 679
Standby Rating 935 748
Continuous Rating 780 624

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 38


13.7 การสตาร์ทมอเตอร์จากชุดเครื่องกำเนิดไฟฟ้ า

- เมื่อสตาร์ท Induction Motor


กระแสจะสูงขึน้ ประมาณ 5 - 7 เท่ากระแสพิกดั

- ทำให้เกิด Voltage Dip

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 39


APPLICATION
OF LOAD

UPPER LIMIT
NOMINAL VALUE
LOWER LIMIT

VOLTAGE DIP

AN EXAMPLE OF GENERATOR VOLTAGE RECOVERY CHARACTERISTICS

รูปที่ 13.6 Voltage Dip ของเครื่องกำเนิดไฟฟ้ า


ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 40
Voltage Dip ทำให้เกิดผลเสียดังนี้
- ไฟฟ้ ากระพริบ
- มอเตอร์อาจหยุดหมุน เนื่ องจากขดลวดยึด
( Holding Coil ) ของคอนแทกเตอร์อาจมีกำลังไม่พอ
- วงจรไฟฟ้ าที่มี Undervoltage Relay อาจทำงาน
- แรงดันตกมากๆ อาจทำให้เกิดแรงบิดมอเตอร์
ไม่เพียงพอ

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 41


Voltage Dip สำหรับโหลดต่างๆ
- โหลดคอมพิวเตอร์ แรงดันตกวูบไม่เกิน 10 %

- โหลดในโรงงานอุตสาหกรรม แรงดันตกวูบไม่เกิน 15-25 %

- โหลดไฟฟ้ า+โหลดทัวไป
่ แรงดันตกวูบไม่เกิน 30 %

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 42


Starting kVA ของการ Start มอเตอร์แบบต่างๆ

1 ) การสตาร์ทแบบ DOL

Is = 6 In
kVA (Start) = 6 kVA (F/L)

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 43


Starting kVA ของการ Start มอเตอร์แบบต่างๆ
2 ) การสตาร์ทแบบ Star - Delta

Is = 2 In
kVA (Start) = 2 kVA (F/L)

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 44


3 ) การสตาร์ทแบบ Autotransformer

กระแสสตาร์ทขึน้ อยู่กบั TAP


TAP 50 % 65 % 80 %
IST 25 % 42 % 64 %
kVA (start) 25 % 42 % 64 %
% = % ของ Start แบบ DOL
ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 45
ตัวอย่าง Motor 37 kW , 400V ,  = 92% , P.F = 85 %
จงคำนวณหา kVA ( Start ) ของการ Start
แบบ DOL , Y  , Auto tap 65 %

kVA ( n ) = 37 / ( .92 x .85 ) = 47.3 kVA


1) DOL
kVA ( s ) = 6 kVA ( n )
= 6 x 47.3
= 283.8 kVA

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 46


2) Y
kVA ( s ) = 2 kVA ( n )
= 2 x 47.3
= 94.6 kVA

3 ) Auto tap 65 %
kVA ( s ) = 0.42 kVA ( DOL )
= 0.42 x 283.8
= 119 kVA

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 47


การหา Voltage Dip
จาก Start kVA และเครื่องกำเนิดไฟฟ้ า
กระแสโหลดเต็ มพิกั ดของเครื ่ องกำเนิดไฟฟ้า (ต่อหน่วย)
1.0 0 0.5 1.0 1.5 2.0
B C D E
แรงดั นไฟฟ้า (ต่ อหน่วย)

0.8

0.6 A

0.4
เส้ นแสดงแรงดั นตกภายในเครื่อง
0.2 กำเนิดไฟฟ้าเนื่องจากค่าทรานเซียนต์
0 รี แอกแตนช์
P

รูปที่ 13.7 Graph แสดง Voltage Dip


ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 48
การหา Voltage Dip…( ต่อ )
จาก Start kVA และเครื่องกำเนิดไฟฟ้ า
จากกราฟอาจหาความสัมพันธ์ ิ โดยประมาณได้ดงั นี้
Voltage Dip 30 % kVA Starting = 2.10 kVAG
” 26 % ” = 1.80 kVAG
” 20 % ” = 1.25 kVAG
” 16 % ” = 1.00 kVAG
” 10 % ” = 0.50 kVAG
ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 49
ตัวอย่าง ถ้าคำนวณ kVA start ได้รวม 200 kVA
และต้องการ Voltage Dip ไม่เกิน 10 %
ชุดเครื่องกำเนิดไฟฟ้ า ต้องมีขนาดเท่าใด

Voltage Dip ไม่เกิน 10 %

kVA start = 0.5 kVAG


kVAG = 2 kVAS
= 2 x 200
= 400 kVA

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 50


13.8 การหาขนาดของชุดเครื่องกำเนิดไฟฟ้ า

ต้องทำการวิเคราะห์โหลด
โหลดแยกเป็ น 2 ลักษณะ
- โหลดสภาวะอยู่ตวั ( Steady State Loading )
่ ่ ( Transient Loading )
- โหลดสภาวะชัวครู

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 51


13.8.1 โหลดสภาวะอยู่ตวั
- kW และ kVA ของชุดเครื่องกำเนิดไฟฟ้ า
 โหลดทัง้ หมด
- P.F.  80% ให้ใช้ค่า kW
- P.F.  80% ให้ใช้ค่า kVA

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 52


่ ่
13.8.2 โหลดสภาวะชัวครู
- หา Starting kVA ( SkVA ) ของโหลดทัง้ หมดแล้ว
นำไปหา kVAG สำหรับ Voltage Dip ที่ต้องการ
- Voltage Dip
โหลดคอมพิวเตอร์ 10 %
โหลดในโรงงานอุตสาหกรรม 15 - 25 %
โหลดไฟฟ้ า+โหลดทัวไป
่ 30 %

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 53


ตัวอย่างที่ 13.1

โหลดของชุดเครื่องกำเนิดไฟฟ้ าเป็ นมอเตอร์


รวมทัง้ หมด 80 kW แต่มีรายละเอียดต่างกันคือ
a. มอเตอร์ 20 kW 4 ตัว สตาร์ทตามลำดับแบบ DOL
b. มอเตอร์ 40 kW 2 ตัว ” DOL
c. มอเตอร์ 20 kW 4 ตัว ” Y- 
d. มอเตอร์ 40 kW 2 ตัว ” Y- 

ให้หาขนาดชุดเครื่องกำเนิดไฟฟ้ า
กำหนดให้แรงดันตกวูบ ( Voltage Dip ) ไม่เกิน 30 %
ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 54
a. มอเตอร์ 20 kW มี P.F. 88 % ,  = 89 % , DOL

มอเตอร์แต่ละตัวมี

Input kW = 20 / 0.89 = 22.5


kW

” kVA = 22.5 / 0.88 = 25.5 kVA

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 55


เพราะฉะนัน้ สำหรับ DOL , SkVA = 25.5 x 6
= 153 kVA

Running kVA 3 ตัว = 25.5 x 3


= 76.5 kVA

สตาร์ทมอเตอร์ตวั ที่ 4 SkVA = 76.5 + 153


= 229.5 kVA

Running kW 4 ตัว = 22.5 x 4


= 90 kW
ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 56
สำหรับ V.D. 30 %

kVA(G) = skVA / 2.1


= 229,5 / 2.1
= 109.3

เพราะฉะนัน้ เลือกเครื่องกำเนิดไฟฟ้ าขนาด

125 kVA , 100 kW

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 57


b. มอเตอร์ 40 kW มี P.F. = 91 % ,  = 91 % , DOL

Input kW = 40 / 0.91 = 44 kW
” kVA = 44 / 0.91 = 48.3 kVA

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 58


สตาร์ทมอเตอร์ตวั ที่ 2
SkVA = 6 x 48.3 + 48.3 = 338.1 kVA
Running kW = 2 x 44 = 88 kW
สำหรับ V.D. 30 %
kVA(G) = 338.1 / 2.1 = 161 kVA
เลือกขนาดเครื่องกำเนิดไฟฟ้ า
175 kVA , 140 kW

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 59


c. มอเตอร์ 20 kW มี 4 ตัว , Y- 

Running kW = 90 kW

SkVA Y-  = 2 kVA
= 2 x 25.5
= 51 kVA

SkVA ทัง้ หมด = 51+25.5 x 3


= 127.5 kVA
ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 60
สำหรับ V.D. 30 %

kVA(G) = 127.5 / 2.1 = 60.7 kVA

เลือกขนาดเครื่องกำเนิดไฟฟ้ า
125 kVA , 100 kW

เนื่ องจาก SkVA น้ อยกว่า kW จึงเลือก kW แทน


ในกรณี นี้แรงดันตกวูบจะประมาณ 16 % เท่านัน้

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 61


d. มอเตอร์ 40 kW มี 2 ตัว , Y-

Running kW = 88 kW

SkVA Y- = 2 x 48.3


= 96.6 kVA

SkVA ทัง้ หมด = 966 + 48.3


= 144.9 kVA

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 62


สำหรับ V.D. 30 %

kVA(G) = 144.9 / 2.1 = 69 kVA

เพราะฉะนัน้ เลือกขนาดเครื่องกำเนิดไฟฟ้ า
125 kVA , 100 kW

ในกรณี เช่นเดียวกับข้อ c)
และแรงดันตกวูบจะเพียงประมาณ 16 %

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 63


ตัวอย่างที่ 13.2 โหลดของชุดเครื่องกำเนิดไฟฟ้ า
มีดงั ต่อไปนี้
a) Motor 22 kW, 400 V, 3 ph, P.F. 85%, Eff 90% start Y-
b) Motor 75 kW, 400 V, 3 ph, P.F. 85%, Eff 94% start Y-
c) Heater 20 kW, 400 V, 3 ph
d) Lighting 100 kVA, 230 / 400V, 3 ph 4 w, P.F. 85%
ให้หาขนาดชุดเครื่องกำเนิดไฟฟ้ าโดยมี
Voltage Dip ไม่เกิน 20%

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 64


a) Motor 22 kW, 400 V, 3 ph, P.F. 85%, Eff 90%
start Star / Delta

kW = 22 / 0.9 = 24.4

kVA = 24.4 / 0,85 = 28.8

kVA(s) = 2 kVA(n) = 57.6

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 65


b) Motor 75 kW, 400 V, 3 ph, P.F. 85%, Eff 94%
start Star / Delta

kW = 75 / 0.94 = 79.8

kVA = 79.8 / 0.85 = 93.9


kVA(s) = 2 kVA(n) = 187.7

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 66


c) Heater 20 kW, 400 V, 3 ph
kW = 20
kVA = 20
kVA(s) = 20

d) Lighting 100 kVA , 230 / 400V, 3 ph 4 w, P.F. 85%


kW = 100 x 0.85 =
85
kVA = 100
kVA(s) = 100
ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 67
Load kW kVA kVA(s)
a 24.4 28.8 57.6
b 79.8 93.9 187.7
c 20 20 20
d 85 100 100

Total 209.2 242.7 365.3

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 68


สำหรับ Voltage Dip ไม่เกิน 20% ยอมให้

kVA(s) = 1.25 kVA(G)

ชุดเครื่องกำเนิดไฟฟ้ า

ต้องมีพิกดั kW ไม่น้อยกว่า 209.2 kW


หรือ 209.2 / 0.8 = 261.5 kVA
สำหรับ Voltage Dip ไม่เกิน 20%
ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 69
 ถ้า Start พร้อมกันหมด

kVA(G) = 365.3 / 1.25 = 292.2 kVA

 300 kVA

kW(G) = 300 x 0.8 = 240 kW

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 70


ถ้า Start มอเตอร์ 75 kW พร้อม Heater และ Lighting
แล้วค่อย Start มอเตอร์ 22 kW

kVA(s) = 187.7 + 20 + 100


= 307.7

kVA(G) = 307.7 / 1.25


= 246.2

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 71


แต่พิกดั ชุดเครื่องกำเนิดไฟฟ้ า
ไม่น้อยกว่า 261.5 kVA
เลือกใช้ 275 kVA

 ใช้ขนาดชุดเครื่องกำเนิดไฟฟ้ า
220 kW ( 275 kVA ) ได้

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 72


13.9 การขนานเครื่องกำเนิดไฟฟ้ า
จำเป็ นต้องทำการปรับค่าต่อไปนี้

- แรงดันเดียวกัน ( Same Voltage )


- ความถี่เดียวกัน ( Same Frequency )
- การหมุนของเฟสไปทางเดียวกัน
( Same Phase Rotating )

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 73


การขนานเครื่องกำเนิดไฟฟ้ า…( ต่อ )
จำเป็ นต้องทำการปรับค่าต่อไปนี้
- เครื่องจะต้อง In Phase เมื่อจะปิด CB
- Voltage Regulator มีคณุ สมบัติคล้ายกัน
( Similar Voltage Regulator)
- Governor ของเครื่องยนต์คล้ายกัน
( Similar Engine Governor Speed Regulation )

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 74


กระบวนการปรับค่าต่างๆ ( Synchronization )

- แบบใช้มือ ( Manual Operation )

- แบบอัติโนมัติ ( Automatic Operation )

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 75


13.9.1 แบบใช้มือ ( Manual Operation )

Synchronizing
Lamps

Gen. Gen.
#1 #2

รูปที่ 13.8 การซิงโครไนซ์แบบใช้มือ


ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 76
13.9.2 แบบอัตโนมัติ ( Automatic Operation )

Automatic Automatic
Synchronizer Synchronizer
Relay Relay

Gen. Volt. Freq. Gen. Volt. Freq.


#1 Control Control #2 Control Control

รูปที่ 13.9 การซิงโครไนซ์แบบอัตโนมัติ


ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 77
13.10 การติดตัง้ ชุดเครื่องกำเนิดไฟฟ้ า
- เพื่อให้ชดุ เครื่องกำเนิดไฟฟ้ า
ทำงานได้อย่างถูกต้อง และมีประสิทธิภาพสูง
ต้องติดตัง้ ให้ถกู ต้อง

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 78


ความต้องการการติดตัง้ มีดงั นี้

- สถานที่ติดตัง้ ( Location )
- ฐานที่รบั ( Foundation )
- การระบายความร้อนและระบายอากาศ
( Cooling and Ventilation )
- เชื้อเพลิง ( Fuel ) และเสียงรบกวน ( Noise )

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 79


13.10.1 สถานที่ติดตัง้ ( Location )
ห้องหรือบริเวณที่จะติดตัง้ ชุดเครื่องกำเนิดไฟฟ้ า
ต้องคำนึ งถึงสิ่งเหล่านี้
- ติดตัง้ ไว้ในที่ๆ น้ำถ่วมไม่ถึง
- พืน้ ห้องต้องทำด้วยคอนกรีตหรือวัสดุทนไฟ
และสามารถรับน้ำหนักเครื่องกำเนิดได้
- ขนาดระยะห่างของห้องกับเครื่องโดยรอบไม่
น้ อยกว่า 750 mm.
ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 80
สถานที่ติดตัง้ ( Location )…( ต่อ )
- ความสูงห้องจากพืน้ ถึงระดับใต้คานต่ำสุด
ไม่น้อยกว่า 2600 mm.
- ภายในห้องต้องมีแสงสว่างเพียงพอ ความสว่าง
ไม่ต่ำกว่า 300 Lux
- ประตูห้องต้องออกแบบให้เปิดออกข้างนอกเท่านัน้
และมีกญุ แจ

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 81


สถานที่ติดตัง้ ( Location )…( ต่อ )
- ช่องเปิดที่พืน้ หรือผนังที่เจาะไว้เพื่อวางท่อ
ต้องไม่เป็ นทางผ่านของเปลวไฟ ควัน หรือก๊าช
- ต้องมีไฟฟ้ าฉุกเฉินที่ทำงานโดยใช้แบตเตอรี่ติดตัง้ ไว้
- ต้องจัดหาแผนผังไฟฟ้ าใส่กรอบแขวนไว้ใน
ห้องเครื่องกำเนิดไฟฟ้ าในที่ที่เห็นได้ง่าย
- ต้องทำเครื่องหมายเตือนอันตรายและ
เครื่องหมายห้ า มสูบ บุ ห รี ่ ไว้
ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์
ให้ เ ห็
น ชั
ด เจน 82
13.10.2 ฐานติดตัง้ ( Foundation )
- สามารถรับน้ำหนักได้
- รับแรงปฏิกิริยาที่เกิดจากการสันได้

- ควรยกสูง 150 mm.
- แท่นควรใหญ่กว่าฐาน 400 m
- นิยมใช้ฐานที่มียางหรือสปริง
เพื่อลดการสันสะเทื
่ อน
ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 83
13.10.3 การระบายความร้อนและระบายอากาศ
เครื่องที่ใช้น้ำหล่อเย็นมี 3 วิธีด้วยกันคือ
- เครื่องยนต์ที่ติดพัดลมระบายความร้อนจาก
รังผึง้ หม้อน้ำ
- เครื่องยนต์ที่มีพดั ลมระบายความร้อนจาก
รังผึง้ หม้อน้ำ แยกส่วนต่างหาก
- เครื่องยนต์ติดตัง้ ระบบระบายความร้อนด้วย
เครื่องถ่ายเทความร้อนวงจรปิด
ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 84
1) เครื่องยนต์ระบายความร้อนด้วยน้ำหล่อเย็น
โดยใช้พดั ลมขับจากเครื่องยนต์

ถ้ าระยะจากรั งผึ้งหม้ อน้ำ


ไปยั งกำแพงเกิ น 200 มม.
จำเป็นต้ องทำเป็นปล่ อง
ระบายอากาศ ช่ องอากาศเข้ า
ส่ วนที่ยื ดหยุ่นได้

ช่ องระบาย
อากาศออก

ไปเครื ่ องกำเนิด ไปสายเมน ไปโหลด

รูปที่ 13.10 เครื่องยนต์ระบายความร้อนด้วยน้ำหล่อเย็น


โดยใช้พดั ลมขับจากเครื่องยนต์
ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 85
- รังผึง้ หม้อน้ำ
ระดับเดียวกับตำแหน่ งช่องอากาศออกห่าง
ไม่เกิน 200 mm.
- พืน้ ที่ช่องอากาศออก
อย่างน้ อยเท่ากับด้านหน้ าของรังผึง้ หม้อน้ำ
- พืน้ ที่ของช่องอากาศเข้าห้อง
อย่างน้ อย 2 เท่าขนาดรังผึง้ หม้อน้ำ

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 86


2) เครื่องยนต์ที่มีระบบระบายความร้อนแยกส่วนต่างหาก
ถังน้ำ ล้น

ช่องระบาย
พัดลมระบายความร้ อน ข้ อสั งเกต : ความสู งสุดของรั งผึ้งหม้อน้ำ
อากาศออก
ขึ้นอยู่กั บชนิดของเครื่องยนต์

ท่อน้ำ หล่อเย็น

ข้ อต่ออ่อน ส่วนที่ยื ดหยุ่นได้

เดิ นสายไฟไปยั งพัดลม


ข้ อต่ออ่อน
ของรั งผึ้งหม้อน้ำ

รูปที่ 13.11 เครื่องยนต์ที่มีระบบระบายความร้อนแยกส่วนต่างหาก


ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 87
- ชุดรังผึง้ หม้อน้ำมีพดั ลม
- ความสูง 3.5 - 4 m

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 88


3) เครื่องยนต์ติดตัง้ ระบบระบายความร้อนด้วย
เครื่องแลกเปลี่ยนความร้อนวงจรปิด
ไปยั งหอหล่ อเย็ นหรื อรั งผึ้งหม้ อน้ำ (ความสู งขึ้นอยู่กั บชนิดของเครื ่ องยนต์ )

วาล์ ว
เกจแสดงปริ มาณการไหล

เครื ่ องแลกเปลี่ยนความร้ อน
ท่ออ่ อน

ปั้มน้ำ สำหรั บ วาล์ ว


ให้น้ำ หมุนเวี ยน

รูปที่ 13.12 เครื่องยนต์ติดตัง้ ระบบระบายความร้อนด้วย


เครื่องแลกเปลี่ยนความร้อนวงจรปิด
ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 89
ข้อดี
- ระดับเสียงในห้องต่ำ
- ต้องการอากาศหมุนเวียนน้ อย

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 90


13.10.4 ไอเสีย

- พืน้ ที่ของสถานที่ติดตัง้ อำนวย


- จำนวนข้องอน้ อยที่สดุ เพื่อลดความดันโต้กลับ
- ยาวเกินกว่า 10 m. จะต้องเพิ่มขนาด
เส้นผ่านศูนย์กลางท่อ

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 91


การติดตัง้ ท่อไอเสีย

1. ปลอก ( Sleeves ) ใช้เมื่อผ่านทะลุผนังห้อง

2. ปลายท่อไอเสีย ( Termination ) ไอเสียต้อง


ไม่ย้อนกลับเข้าห้อง

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 92


การติดตัง้ ท่อไอเสีย…( ต่อ )

3. ระบบท่อไอเสียจากเครื่องยนต์หลายเครื่อง
( Multiple Exhaust System ) การติดตัง้ เครื่องยนต์
หลายเครื่องควรมีระบบท่อไอเสียแยกจากกัน

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 93


การติดตัง้ ท่อไอเสีย…( ต่อ )
4. ท่อระงับเสียง ติดตัง้ ท่อระงับเสียงระยะ 3 m
จากปลายท่อ ชนิดของท่อระงับเสียง
- ชนิดใช้ในโรงงานทัวไป
่ ( Normal Industrial Silencers )
- ชนิดใช้ในบริเวณที่อยู่อาศัย ( Residential Silencers )
- ชนิดเรโซแนนซ์ ( Resonance Silencers )
- ชนิดดักประกายไฟ ( Spark Arrestor Silencers )

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 94


การติดตัง้ ท่อไอเสีย…( ต่อ )
5. การหุ้มฉนวนความร้อน
อุณหภูมิไอเสีย 500  - 600  C
ควรมีการหุ้มฉนวนกันความร้อน

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 95


13.10.5 ระบบน้ำมันเชื้อเพลิง

- เครื่องยนต์ดีเซลใช้ Grade ตามผูผ้ ลิต

- ปริมาณเชื้อเพลิงประมาณ 0.34 ลิตร / kW / hr

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 96


ตัวอย่างที่ ชุดเครื่องกำเนิดไฟฟ้ า 1000 kW, 380 V
ถ้าใช้ติดต่อกัน 5 ช.ม. จะใช้น้ำมันเท่าใด

ปริมาณน้ำมัน = 0.34 x 1000 x 5


= 1700 ลิตร

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 97


ระบบน้ำมันเชื้อเพลิง…( ต่อ )

ถังน้ำมันมี 2 แบบ

ถังน้ำมันประจำวัน ( Day Tank )

ถังน้ำมันสำรอง ( Storage Tank )

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 98


ระบบน้ำมันเชื้อเพลิง…( ต่อ )

ถังน้ำมันประจำวัน ( Day Tank )


- เป็ นถังน้ำมันที่ติดตัง้ ในห้องเครื่อง
- ก้นถังสูงจากรูน้ำมันเข้าเครื่องยนต์อย่าง
น้ อย 500 mm.
- เติมน้ำมันได้ง่าย

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 99


ระบบน้ำมันเชื้อเพลิง…(ต่อ)
ถังน้ำมันสำรอง ( Storage Tank )
- สำหรับน้ำมันปริมาณมาก
- ขนาดของถังน้ำมันสำรองดังตาราง
‡ª µ¤ ‹» Á­ oœŸnµœ«¼ œ¥r„¨ µŠ ‡ª µ¤ ¥µª
( ¨ ˜· ¦ ) ( Á¤ ˜ ¦ ) (Á¤ ˜ ¦ )
5,000 1.50 2.8
10,000 2.00 3.0
25,000 2.50 5.0
50,000 2.75 9.0

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 100


ถั งน้ำ มั น ที่เติมน้ำ มั น
สำรอง
เกจบอก
ระดั บน้ำ มั น กำแพงกั้น
ระดั บพื้น

วาล์ ว
เปิด-ปิด
วาล์ ว
โซลิ นอยด์
สวิ ตช์
ลู กลอย

รูปที่ 13.13 แสดงการติดตัง้ ถังน้ำมันสำรอง


ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 101
เกจบอกระดั บ ตั ววั ดและส่ งสั ญญาณ
น้ำ มั นในถั งน้ำ มั น กรณีเกิ ดเปลวไฟ
สำรอง

วาล์ วตั ดการ


จ่ ายเชื้อเพลิ ง
กรณีมี เปลวไฟ
จุ ดเติ มเชื้อเพลิ ง
ท่ อระบายอากาศ

วาล์ ว
ถั งน้ำ มั นสำรอง เปิด-ปิด
ก๊ อกปล่ อย ปัม๊

รูปที่ 13.14 รูปแสดงการติดตัง้ ถังน้ำมันสำรอง


ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 102
13.10.6 การควบคุมเสียงรบกวน
- ระดับเสียงเครื่องยนต์
95 - 100 dB ที่ระยะห่าง 3 m
- ระดับเสียงที่ยอมรับได้
60 dB สำหรับที่อยู่อาศัย
- แหล่งกำเนิดเสียง
ท่อไอเสีย
เครื่องจักร
การไหลของอากาศ
ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 103
เสียงจากท่อไอเสีย

- ดังมากบริเวณนอกห้อง

- ท่อไอเสียยาวมากกว่า 10 m ใช้ท่อระงับเสียง
ที่ส่วนปลาย

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 104


เสียงจากเครื่องจักร

- ผนังห้องทำด้วยวัสดุดดู กลืนเสียง

- ใช้ฐานเครื่องชนิดลดการสันสะเทื
่ อน

- ใช้ระบบระบายความร้อนแบบแยกส่วน

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 105


เสียงจากการไหลของอากาศ

- การที่อากาศไหลเข้า-ออกห้องเครื่อง

- สร้างแผ่นระงับเสียงที่ช่องเข้า-ออก

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 106


คำถามท้ายบท
1) ชุดเครื่องกำเนิดไฟฟ้ า มีส่วนประกอบที่ส ำคัญอะไรบ้าง
2) เครื่องต้นกำลังที่นิยมใช้ มีอะไรบ้าง
3) เครื่องยนต์ดีเซลระบบ 2 จังหวะ ต่างกับระบบ
4 จังหวะ อย่างไร
4) กัฟเวินเนอร์ของเครื่องยนต์ คืออะไร

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 107


คำถามท้ายบท…(ต่อ)
5) % Droop คืออะไร
6) เครือ่ งยนต์ที่มีความเร็วแบบ Isochronous คืออะไร
7) เครื่องกำเนิดไฟฟ้ ากระแสสลับ
( A.C. Generator or Altemator )
มีส่วนประกอบสำคัญอะไรบ้าง
8) สวิตท์สบั เปลี่ยน( Transfer Switch )แบ่งได้กี่ชนิด อะไรบ้า

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 108


คำถามท้ายบท…(ต่อ)
9) เครื่องกำเนิดไฟฟ้ าขนาด 100 kVA
ถ้าต้องการ Voltage Dip ไม่เกิน 20% Starting kVA
จะต้องเป็ น เท่าใด
10) เครื่องกำเนิดไฟฟ้ ามีโหลดเป็ นมอเตอร์ขนาด 100 kW,
400 V,  = 94% PF = 85% สตาร์ทแบบ DOL
ถ้าต้องการ Voltage Dip ไม่เกิน 30%
จงหาขนาดเครื่องกำเนิดไฟฟ้ า

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 109


คำถามท้ายบท…(ต่อ)
11) ชุดเครื่องกำเนิดไฟฟ้ ามีพิกดั 200 kW, 400 V kVA
ของชุดเครื่องกำเนิดไฟฟ้ าเป็ นเท่าใด
12) โหลดรวมของชุดเครื่องกำเนิดไฟฟ้ าคำนวณได้ 200 kVA,
ที่ PF = 70% ให้หาขนาดของชุดเครื่องกำเนิดไฟฟ้ า
13) ชุดเครื่องกำเนิดไฟฟ้ า
แบบ Prime Rating คืออะไร จงอธิบาย
14) ชุดเครื่องกำเนิดไฟฟ้ า
แบบ Standby Rating คืออะไร จงอธิบาย
ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 110
คำถามท้ายบท…(ต่อ)
15) การขนานเครื่องกำเนิดไฟฟ้ าจะต้องทำอย่างไร
16) จงอธิบายการขนานเครื่องกำเนิด
แบบใช้มือ (Manuel Operation)
17) สถานที่ติดตัง้ ชุดเครื่องกำเนิดไฟฟ้ ามีข้อกำหนดอย่างไร
18) จงอธิบายการระบายความร้อนด้วยน้ำหล่อเย็น
โดยการใช้พดั ลมขับจากเครื่องยนต์

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 111


คำถามท้ายบท…(ต่อ)
19) จงอธิบายการระบายความร้อน
ของชุดเครื่องกำเนิดไฟฟ้ าแบบแยกส่วน
20) ท่อไอเสียที่มีความยาวเกิน 10 m
จะต้องทำการแก้ไขอย่างไร
21) ถังน้ำมันประจำวัน (Day Tank)
ของชุดเครื่องกำเนิดไฟฟ้ าคืออะไร จงอธิบาย
22) ถังน้ำมันสำรอง (Storage Tank)
ของชุดเครื่องกำเนิดไฟฟ้ าคืออะไร จงอธิบาย
ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 112

You might also like