You are on page 1of 8

ข อ ง induction motor ส า ม า ร ถ จ า ล อ ง ด้ ว ย ว ง จ ร ไ ฟ ฟ้ า ที่ มี ทั้ ง R แ ล ะ

-Stator L
ทาให้กระแสทีไ่ หลใน stator coil แบ่งได้เป็ น reactive and active current ดูตวั อย่างวงจรใน [1]

-เมือ
่ start ด้วยวิธี DOL คือ applied voltage เท่ากับ rated voltage จะได้วา่ Istart จะมีคา่ สูงกว่า Irated
ประมาณ 6-10 เท่า [2]

Fig 1.

แ ส ด ง starting current จ า ก วิ ธี start แ บ บ ต่ า ง ๆ ซึ่ ง เ ห็ น ไ ด้ ว่ า


-Fig 1 [3] start current
จะมากหรือน้อยมาจากการ vary voltage นั่นเอง
Fig 2.

-Fig 2 เ ป็ น catalog ข อ ง Hitachi แ ล ะ Mitsubishi สั ง เ ก ต จ ะ เ ห็ น ว่ า Is (Istart)


จะมีคา่ โดยประมาณในช่วงตามที่ [2] บอกไว้ นั่นคือปกติผู้ผลิตจะบอกสเปคสาหรับในกรณี

DOL นั่นเอง

Fig 3.

-จากรู ป Fig 3 [4] อธิ บ ายการท างานของ induction motor ได้ ด ง


ั นี้ เมื่ อ เริ่ ม start ( DOL) motor
จ ะ ส ร้ า ง torque ที่ ป ร ะ ม า ณ 1.5 เ ท่ า ข อ ง Trated โ ด ย ที่ torque
จะค่อ ยๆลงลงจนถึงจุ ด หนึ่ ง จึง ค่อ ยๆเพิ่ม ขึ้น จุ ด ที่ล ดลงจาก Tstart มากที่สุด เรี ย กว่า pull up
torque จุดที่ start และจุด pull up นี้มีความสาคัญ ตอนเริม ่ start หาก แรงต้าน (ทอร์คภายนอก)
ที่ ต้ อ งการให้ ม อเต อร์ ท างาน มากก ว่ า Tstart มอเต อร์ จ ะไม่ ส ามารถ เริ่ ม ห มุ น ได้ เ ลย
ถ้ า แ ร ง ต้ า น ภ า ย น อ ก น้ อ ย ก ว่ า Ts แ ต่ ยั ง ม า ก ก ว่ า pull up torque
มอเตอร์ก็จะหมุนได้แค่ตอนแรกแล้วก็จะหยุดหมุนเพราะแรงต้านภายนอกมากกว่า pull up
torque ห ลั ง จ า ก จุ ด pull up ม อ เ ต อ ร์ จ ะ ส ร้ า ง torque
ม า ก ขึ้ น ต า ม ค ว า ม เร็ ว ที่ เพิ่ ม ขึ้ น จ น ถึ ง ค่ า ม า ก สุ ด ที่ motor ส า ม า ร ถ ท า ไ ด้ ที่ Tmax
แ ล ะ เ มื่ อ ค ว า ม เ ร็ ว ม า ก ขึ้ น อี ก torque
ทีม่ อเตอร์สร้างได้ก็จะค่อยๆลดลงจนถึงจุดทีม ่ อเตอร์ ถูกออกแบบไว้ให้ทางานทีค ่ วามเร็วทีเ่ รีย
กว่า asynchronous speed ทีจ่ ุดนี้ ผู้ผลิตคานวณแล้วว่าเมือ ่ หมุนไปซักพักจะเกิด thermal stability
จุดนี้เรียก rated point
- แต่ถา
้ ดูที่ Fig 2
จะพบว่าค่าจากผูผ
้ ลิต Ts อยูใ่ นช่วง 3-4 เท่าของ Trated และ break down torque
Tmax จะมีคา
่ ประมาณ 2-3 เท่าของ Trated (สอดคล้องกับค่าทีผ ่ ูผ
้ ลิตแจ้งตาม Fig 2)

-ให้ จุ ด rated point เป็ นจุ ด อ้ า งอิ ง


ช่ ว งที่ค วามเร็ ว ต่ า กว่า rated point จนถึ ง จุ ด Tmax เรี ย กว่ า
constan flux range ส่วนช่วงทีค
่ วามเร็วสูงกว่า rated point เรียกว่า field weakening range [4]

-Tmax เป็ นสัดส่วนโดยตรงกับกาลังสองของ magnetic flux [4] เพราะงัน


้ ในช่วงทีค
่ วามเร็วต่ากว่า
rated Tmax จ ะ มี ค่ า ป ร ะ ม า ณ ค ง ที่ ใ น ข ณ ะ ที่ ช่ ว ง ค ว า ม เ ร็ ว สู ง ก ว่ า rated

จะแปรผกผันกับกาลังสองของความถี่ ดังสมการข้างล่าง
-ข้างบนคือข้อทีต
่ อ
้ งคานึงเมือ
่ ใช้ inverter โดยปกติ Tmax เมือ่ ผ่าน inverter จะถูกจากัดอยูท
่ ี่ 70%
ของ Tmax จริง
-แปลว่ า เมื่ อ ใช้ inverter สามารถลดความเร็ ว motor โดยที่ ย ง
ั ได้ Torque ที่ ม ากๆอยู่ ( ABB
แนะนาให้ใช้แค่ประมาณ 70% ของ Tmax ทีม
่ อเตอร์ทาได้) ในขณะทีเ่ มือ่ เพิม
่ ความเร็ว Torque
ทีไ่ ด้จะลดลงแบบผกผันกับความเร็วทีเ่ พิม ้
่ ขึน
Fig 4

-Fig 4 อ ย่ า สั บ สั น กั บ Fig 3 แ ก น ตั้ ง ข อ ง Fig 4 คื อ T/Trated

0.8Tm
Tr

0.7Tr

แกนนอนคืออัตราส่วนความเร็วทีเ่ ทียบกับ rated speed


Fig 5

-ถ้
า Text ภ า ย น อ ก ที่ motor ต้ อ ง เ อ า ช น ะ อ ยู่ ใ น ช่ ว ง 0.7Tr<Text<0.8Tm
สามารถประมาณหากระแสได้จาก I = Text/Tr*Ir (ดูรายละเอียดใน [4])
-สรุปก็คอ
ื หากต้องใช้ inverter เพือ
่ ลดความเร็ว motor ลง สามารถทาได้โดยทีย่ งั คงได้ Tmax ถึง
70% ข อ ง Tmax เดิ ม น อ ก จ า ก นี้ ยั ง ส า ม า ร ถ ค ว บ คุ ม volt ที่ applied ใ ห้ กั บ motor
ทีค
่ วามเร็วต่าๆได้ (v/f constant method) สาหรับกรณี ทงี่ านไม่ตอ ้ งการ high torque ในการ start
(อ่านไปเรือ่ ยด้านล่างจะเตือนเรือ่ ง torque dip ทีอ่ าจทาให้การstart ล้มเหลวได้)

-spec ของ inverter ทีต


่ อ
้ งการคือต้องสามารถจ่ายกระแสระดับทีท
่ าให้ได้ 70%ของ Tmax เดิม
ตัวอย่างที่ใ ช้ค านว
ณหา

Fig 6

-ยกตัว อย่ า งจาก Fig 6 hitachi motor Ir = 1.9 A หากประมาณ ด้ ว ย I = Text/Tr*Ir = 0.7Tm/Tr*Ir =
0.7*2.6*Tr/Tr*1.9 = 1.82*1.9 = 3.5 A แปลว่าหากต้องการให้ inverter ทางานได้ถึง 70%ของ Tmax
ต้ อ งสามารถ จ่ า ยกระแ สให้ ม อเต อร์ ไ ด้ 3.5 A ตัว เลข นี้ อาจเป็ น over load ข อง inverter
ทีท
่ าได้เนื่องจากปกติการใช้งานที่ torque สูงมักจะเป็ นเวลาช่วงสัน
้ อยูแ
่ ล้ว

Fig 7

-ถ้ า เป็ น ง า น ทั่ ว ๆ ไ ป fan pump compressor ( แ บ บ ทั่ ว ไ ป ไ ม่ ใ ช่ แ บ บ พิ เศ ษ ) load


ั ษณะตาม Fig 7 ซึ่ง จะเห็ น ว่า motor ที่ต้ อ งการไม่จ าเป็ นต้อ งมี
เนื่ อ งจากงานเหล่า นี้ ม กั มี ล ก
locked rotor torque (starting torque) สู ง ๆ แต่ สิ่ ง ที่ ส าคัญ กว่ า คื อ speed torque curve ของ motor
ต้องอยูเ่ หนือ load curve ของงาน [5]

-สิง
่ ทีต
่ อ
้ งระวังคือช่วง torque dip ตรงบริเวณรอบๆ pull up speed (ดู Fig 3) ทีอ่ าจทาให้การ start

motor ล้มเหลว [5]

Fig 8

-ก า ร ใ ช้ soft starter or wye-delta ที่ reduced voltage


มั ก ถู ก เข้ า ใ จ ผิ ด ว่ า ส า ม า ร ถ ล ด พ ลั ง ง า น แ ล ะ ยั ง ค ง ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ใ น ก า ร start
แต่ในความเป็ นจริง คือเมื่อลด voltage ลงช่วง torque dip ก็ลดลงไปด้วยซึ่งอาจทาให้การ start
motor ล้ ม เ ห ล ว เ ช่ น ป ก ติ แ ล้ ว terminal voltage
ที่ม อเตอร์ อ าจจะต่ ากว่าความเป็ นจริงเนื่ อ งมาจาก line drop เหลื อ แค่ 90% ดัง นั้น หากใช้ วิธี
reduced voltage 50% (จาก rated voltage) จะเห ลื อ actual terminal voltage ให้ ม อเต อร์ แ ค่ 45%
เท่านัน
้ [5]

-ปกติแล้ว OL จะปิ ดมอเตอร์เมือ


่ 7-10 s เมือ่ ให้ full rated voltage และจะปิ ดมอเตอร์ภายใน 25-35
s เมื่ อ ให้ 50% voltage ซึ่ งบ างค รั้ ง อ าจ ต้ อ งท าก าร delay OL อ อ ก ไ ป อี ก ถ้ างาน มี inertia
ทีส่ งู ซึง่ ทาให้ความเร็ว rated มาถึงช้า [5]
Fig 9

-ใ น อ ดี ต NEC แ น ะ น า ว่ า instantaneous current สู ง ป ร ะ ม า ณ 13 เท่ า ข อ ง rated current


แต่ความเป็ นจริงแล้วอาจสูงได้ถงึ 18.38 เท่า (worst case) ซึง่ ปัจจุบน
ั NEC ได้เปลีย่ นค่านี้ ให้เป็ น
17 เท่าแล้วสาหรับ efficiency motors [5]

สู ง ขึ้ น ม า ก เนื่ อ ง จ า ก ก า ร พั ฒ น า ม อ เต อ ร์ ใ ห้ ดี ขึ้ น


-ส า เห ตุ ที่ instantaneous loss
น้อยลงทาให้กระแสในช่วง inrush สูงขึน้ ตามไปด้วย

-แม้ แ ต่ ใ นกรณี ที่ โ ชคดี ที่ สุ ด และบวกกับ starting current สู ง สุ ด แค่ 6.5 เท่ า ของ rated current
ก็ ย งั เกิ ด inrush current เกื อ บๆ 13 เท่ า อยู่ ดี ( inrush นี้ เกิ ด ภายใน ½ cycle ของ applied current
ดู ร ายละเอี ย ด [5]) แต่ เนื่ อ งจากหน้ า งาน terminal voltage ของ motor มัก จะมี line drop effect
อยูด่ ว้ ยทาให้หลายครัง้ ทีก ่ ารเลือก trip point ที่ 13 เท่า ก็ยงั สามารถสตาร์ท motor ได้

-ก า ร start
ด้ ว ย inverter จ ะ ไ ม่ มี inrush current เ นื่ อ ง จ า ก current source ม า จ า ก vfd
และกลไกในการ trip ของ inverter จะอยูท ่ ี่ 150% rated current (typical inverter)
[1] Estimation of Induction Motor Operating Power Factor From Measured Current and Manufacturer
Data

[2] Controlled Capacitance Injection into a Three-Phase Induction Motor through a Single-Phase
Auxiliary Stator Winding

[3] Starting and control of three-phase asynchronous motors

[4] ABB drives technical guide No.7 Dimensioning of a drive system

[5] troubleshooting induction motors

You might also like