You are on page 1of 26

อุปกรณ์ประกอบโรงไฟฟ้า 9

บทที่ 9

อุปกรณ์ ประกอบโรงไฟฟ้ า

9.1 หม้ อแปลงไฟฟ้ า

หม้ อแปลงเป็ นอุปกรณ์ที่ใช้ ปรับเปลี่ยนแรงดันไฟฟ้ากระแสสลับ (Alternative Current : AC)


ให้ มี ค่าเพิ่ม มากขึน้ หรื อลดน้ อยลง หม้ อแปลงเป็ น อุปกรณ์ สําคัญ อย่างหนึ่งในโรงไฟฟ้า เนื่ องจาก
Voltage ที่ Generator ผลิ ต ได้ เพี ย ง 13.8 KV. แต่ ส ายส่ ง แรงสูง (Transmission Line) เป็ นขนาด
230-500 KV. ดังนัน้ เราจึงต้ องเพิ่ ม Voltage ของ Generator ที่ ผลิ ตได้ จาก 13.8 KV. ให้ เป็ น ขนาด
230-500 KV. โดยใช้ หม้ อแปลงไฟฟ้ากําลัง ดังรูปที่ 9-1

รูปที่ 9-1 โครงสร้ างของหม้ อแปลงไฟฟ้ากําลัง

โครงสร้ างที่สําคัญดังแสดงไว้ ในรูปที่ 9-1 แบ่งออกได้ เป็ น 5 ส่วนด้ วยกัน คือ


1. ส่ ว นประกอบภายนอกของหม้ อแปลง ได้ แก่ ถั ง หม้ อแปลง (Transformer
Tank), นํ ้ามัน Insulating (Oil), ห้ องรองรับนํ ้ามัน (Conservator tank) ห้ องหายใจ (Breather), เครื่ อง
ทํ า ให้ แห้ ง (Dryer), เครื่ อ งวัด นํ า้ มั น (Oil Gauge), ลิ น้ ระบายความดัน (Pressure Relief Valve)

1-26
อุปกรณ์ประกอบโรงไฟฟ้า 9

รุ่ นใหม่ , เครื่ องมือระบายความร้ อน (Cooling Device), เทอร์ โมมิเตอร์ (Thermometer), ปลอกรอง
แกน (Bushing) และเครื่ องมืออื่น ๆ ดังรูปที่ 9-2

Transformer Tank Conservator Tank Silica-gel Breather

Oil Level Gauge Pressure Relief Device Cooling Device

Winding Temp. Gauge Bushing Operating Cabinet

รูปที่ 9-2 ส่วนประกอบภายนอกของหม้ อแปลง

2-26
อุปกรณ์ประกอบโรงไฟฟ้า 9

2. ส่ ว นต่ อ ภายในและภายนอกของหม้ อแปลง ได้ แก่ ปลายขั ว้ สายไฟฟ้ า


(Terminals), แทป (Taps), สวิ ท ช์ แ ละตั ว เปลี่ ย นแปลงแทป (Tap Changer), ฉนวนปลายขั ว้
(Terminal Insulator) และสายลีด (Lead) เป็ นต้ น ดังรูปที่ 9-3

Lead Terminals On Load Tap Changer

รูปที่ 9-3 ส่วนต่อภายในและภายนอกของหม้ อแปลง

3. ส่วนที่เป็ นวงจรแม่เหล็ก ได้ แก่ แกนเหล็ก (Core), แขนหม้ อแปลง (Limb), แอก
หม้ อแปลง (Yoke) และเครื่ องยึด (Clamping) เป็ นต้ น ด ◌ัง รูปที่ 9-4
22 22

รูปที่ 9-4 ส่วนที่เป็ นวงจรแม่เหล็ก

4. ส่วนที่เป็ นวงจรไฟฟ้า ได้ แก่ขดลวด (Winding), ซึ่งรวมทัง้ ปฐมภูมิ (Primary),


ทุติยภูมิ (Secondary) และตติยภูมิ (Tertiary), ปลอก (Formers), ความเป็ นฉนวน (Insulation) และ
เครื่ องวัด (Bracing Device) เป็ นต้ น ดังรูปที่ 9-5

3-26
อุปกรณ์ประกอบโรงไฟฟ้า 9

รูปที่ 9-5 ขดลวด (Winding)

5. ส่วนประกอบอื่ น ๆ ได้ แก่ Silica Gel ที่ อยู่ใน Breather ดังรู ปที่ 9-6 มี ไว้ เพื่ อ
กรองและลด ความชื น้ ของอากาศ ก่ อ นที่ จ ะเข้ า ไปใน Conservator Tank ดัง รู ป ที่ 9-7, 9-8 ซึ่ง มี
Insulating Oil อยู่ , Nitrogen Capping หมายถึง Nitrogen ที่อยู่ส่วนบนของนํ ้ามัน ใน Conservator
Tank มี ความดัน ประมาณ 5 PSI จากถังเก็ บ ถึง Nitrogen ในปั จจุบัน Nitrogen จะอยู่ใน Rubber
Bag หรื อบน Diaphragm ดังรูปที่ 9-9

รูปที่ 9-6 โครงสร้ างภายในของห้ องหายใจกรองความชื ้น (Dehydrating Breather)

4-26
อุปกรณ์ประกอบโรงไฟฟ้า 9

1. Oil Tube 2. Gas Relay 3. Shut-Off Valve For Conservator Disconnection


4. Oil Indicator 5. Oil Conservator 6. Relief Tube 7. Oil Filling Plug 8. Oil Sump

รูปที่ 9-7 ลักษณะภายนอกของห้ องรองรับนํ ้ามัน (Conservator)


7
1
8
2
3
4
9

6
5

1. Expansion 2. Sump Chamber 3. Main Shut-Off Valve 4. Drain Valve


5. Oil Level Indicator 6. Dehydrating Breather 7. Bleeder Valve 8. Rubber Air Cell
9. Gas Operated Relay

รูปที่ 9-8 ส่วนตัดภายในแสดงถึงส่วนประกอบของห้ องรองรับนํ ้ามัน (Conservator)

5-26
อุปกรณ์ประกอบโรงไฟฟ้า 9

รูปที่ 9-9 Nitrogen Capping

9.1.1 การป้องกันหม้ อแปลง

ได้ จัดเตรี ย มไว้ 2 ขัน้ ตอน คื อ Alarm และ Trip เช่น ระดับ นํ า้ มัน ตํ่ า นํ า้ มัน หรื อขดลวดมี
อุณหภูมิสงู ในกรณีเกิด Electrical Faults ภายในหม้ อแปลงจะเกิดฟอง Gas ของนํ ้ามันถ้ าเกิดกรณีนี ้
ต้ องนํานํ ้ามันไปทําการทดสอบ ค่าความเป็ นฉนวนว่าเสื่อมลงหรื อไม่

9.1.2 การระบายความร้ อนนํ ้ามันในหม้ อแปลง แบ่งได้ 3 วิธี

1. การดึงความร้ อนออกจากหม้ อแปลง โดยใช้ ระบบหมุนเวียนของนํ ้ามัน ดังรูป ที่ 9-10

รูปที่ 9-10 การดึงความร้ อนออกจากหม้ อแปลง โดยใช้ ระบบหมุนเวียนของนํ ้ามัน

6-26
อุปกรณ์ประกอบโรงไฟฟ้า 9

2. ติดตังพั
้ ดลมเพื่อเพิ่มอัตราการไหล ของอากาศผ่าน Radiator ดังรูปที่ 9-11

รูปที่ 9-11 ติดตังพั


้ ดลมเพื่อเพิ่มอัตราการไหล ของอากาศผ่าน Radiator

3. ติดตัง้ Oil Pump เพื่อเพิ่มอัตราการไหลของนํ ้ามัน ดังรูปที่ 9-12

รูปที่ 9-12 ติดตัง้ Oil Pump เพื่อเพิ่มอัตราการไหลของนํ ้ามัน

7-26
อุปกรณ์ประกอบโรงไฟฟ้า 9

9.2 ลานไกไฟฟ้ า

ลานไกไฟฟ้า (Switchyard) จะรับแรงดันไฟฟ้าที่ได้ จากเครื่ องกําเนิดไฟฟ้า ที่มีคา่ แรงดันสูง


ระดับหนึ่ง เช่น 3.5 KV, 11 KV หรื อ 13.8 KV แล้ วทําการแปลงแรงดันไฟฟ้าให้ สงู ขึ ้น เช่น 69 KV, 115
KV, 230 KV หรื อ 500 KV โดยหม้ อ แปลงเพิ่ ม แรงดัน (Step-Up Transformer) เพื่ อ ทํ า การส่งจ่ า ย
กําลังไฟฟ้าโดยผ่านระบบส่งไฟฟ้า (Transmission Line) ไปยังสถานีไฟฟ้าแรงสูง (Substation) เพื่อ
แปลงแรงดันไฟฟ้าให้ เหมาะสมกับระบบจําหน่ายต่อไป
อุปกรณ์ ที่ติดตังไว้
้ บน Switchyard นัน้ จะต้ องอยู่ระหว่างแหล่งผลิตและแหล่งจ่าย (ในที่นี ้
หมายถึง จากเครื่ องกําเนิดไฟฟ้ากับสายส่ง) ดังรูปที่ 9-13

รูปที่ 9-13 แสดงอุปกรณ์บน Switchyard

9.2.1 Generator Circuit Breaker สามารถติดต่อได้ ดงั นี ้

ก. ด้ านหนึ่งต่อกับ Generator และอีกด้ านหนึ่งต่อกับด้ าน Low Side


ของ Main Transformer (Step Up Transformer) ดังรูปที่ 9-14

รูปที่ 9-14 Generator Circuit Breaker Operating At Generation Voltage

8-26
อุปกรณ์ประกอบโรงไฟฟ้า 9

ข. ด้ านหนึง่ จะต่อเข้ ากับด้ าน High Side ของ Main Transformer


(Step Up Transformer) และอีกด้ านหนึง่ ต่อกับ Transmission Bus ดังรูปที่ 9-15

รูปที่ 9-15 Generator Circuit Breaker Located After Step-Up Transformer

Single-Line Diagram แสดงรายละเอียดการติดตัง้ อุปกรณ์ บน Switchyard ต่อเข้ ากับ


Generator ดังรูปที่ 9-16

รูปที่ 9-16 Typical Plant One Line Schematic

9-26
อุปกรณ์ประกอบโรงไฟฟ้า 9

9.2.2 Potential Transformer (PT)


ติดตังอยู
้ ่เหนือ Generator ที่ High Voltage Bus หรื อที่ติดตังบริ
้ เวณอื่น ๆ ก็เพื่อ
ต้ องการทราบแรงดันของไฟฟ้า และยังใช้ ในระบบป้องกันและควบคุมอุปกรณ์ต่าง ๆ หากมีการตรวจ
ซ่อมจะต้ องปลดออกจากตําแหน่งก่อนทุกครัง้ เพื่อป้องกันแรงดันย้ อนกลับเข้ าไปในอุปกรณ์ ที่กําลัง
ตรวจซ่อมอยู่ ดังรูปที่ 9-17

รูปที่ 9-17 Potential Transformer (PT)

9.2.3 Current Transformer (CT)


จะติดตังอยู
้ ่ที่ขวของ
ั้ Generator , Switch Gear และ Bushing Transformer เพื่อ
ต้ อ งการทราบกระแสของไฟฟ้ า สามารถใช้ ในการป้อ งกัน และระบบควบคุม วงจร ส่ว นทางด้ า น
Secondary ของ CT จะมีแรงดันสูงมากถ้ าหากมีการปลดอุปกรณ์ ตรวจวัดออกจะต้ องทําการ Short
วงจรไว้ ดังรูปที่ 9-18

รูปที่ 9-18 Current Transformer (CT)

10-26
อุปกรณ์ประกอบโรงไฟฟ้า 9

9.2.4 Disconnecting Switch


จะถูกติดตังเพื
้ ่อใช้ ตดั ตอนวงจร ของอุปกรณ์บน Switchyard เพื่อความสะดวกใน
การบํารุงรักษา Disconnecting ต้ องไม่ขดั ขวางการไหลของกระแส
การทํา Switching ปลด Breaker ที่แรงดันสูง ๆจะทําให้ ความสามารถในการทนการอาร์ ค
ของกระแสลดลง ดังรูปที่ 9-19

รูปที่ 9-19 Disconnecting Switch

9.3 ไฟฟ้ าแรงสูงและการป้ องกัน

การสร้ างระบบเพื่อป้องกันฟ้าผ่าหรื อชีลลด์ฟา้ ผ่าต่าง ๆ นัน้ เป็ นการป้องกันอันดับแรก แต่


การเกิดแรงดันเหนี่ยวนํา การแลบข้ ามกลับหรื อการชีลด์ล้มเหลว จะทําให้ เกิดคลื่นแรงดันไฟฟ้าสูงวิ่ง
ไปสูป่ ลายทาง ซึง่ มีอปุ กรณ์ไฟฟ้าที่ตอ่ อยูอ่ าจได้ รับอันตราย ดังนันการติ
้ ดตังอุ
้ ปกรณ์ปอ้ งกันฟ้าผ่าเพื่อ
ลดระดับแรงดันเกิน จึงเป็ นการลดความเสี่ยงต่อการเกิดเบรกดาวน์ ของฉนวนไฟฟ้าและยังเป็ นตัว
ป้องกันอันดับสองที่ สําคัญยิ่งที่ช่วยในการป้องกันอันตรายจากฟ้าผ่าอุปกรณ์ เหล่านีไ้ ด้ แก่ “กับดัก
ฟ้ าผ่ า” (Lightning Arrester) อุปกรณ์ ดงั กล่าวจะติดตังอยู ้ ่หลายจุดเหนือระบบเพื่อเปลี่ยนเส้ นทาง
ของสายฟ้าผ่าหรื อ Switching Surge ลง Ground ก่อนที่ จะทํ าความเสียหายต่ออุปกรณ์ เช่น หม้ อ
แปลงไฟฟ้า เป็ นต้ น
การเกิดฟ้าผ่า คือการถ่ายเทประจุ (Discharge) ระหว่างก้ อนเมฆกับก้ อนเมฆ หรื อระหว่าง
ก้ อนเมฆกับพื ้นดิน เมื่อมีการสะสมประจุชนิดเดียวกันเป็ นจํานวนมาก ๆ บนก้ อนเมฆ หรื อบนพื ้นดิน
จนทําให้ การเป็ นฉนวนของอากาศระหว่างกลุม่ ของประจุที่ต่างกันไม่สามารถทนได้ จะเกิดการถ่ายเท
ประจุขึน้ และเกิ ด การไหลของกระแสเป็ น จํ านวนมาก (Magnitude) โดยจะเกิ ด ขึน้ ในเวลาอัน สัน้
ประมาณ 2-5 ไมโครวินาที หากการไหลของกระแสผ่านความต้ านทานสูง จะเกิดแรงดันบริ เวณนันสู ้ ง
ไปด้ วย
11-26
อุปกรณ์ประกอบโรงไฟฟ้า 9

รูปที่ 9-20 ฟ้าผ่า

การเกิดฟ้าผ่าเป็ นปรากฏการณ์ธรรมชาติ จะผ่าที่ไหน เมื่อไหร่ ไม่มีตารางบอกให้ ทราบ


ล่วงหน้ า เมื่อผ่าลงที่ใดมักจะทําให้ เกิดความเสียหายแก่สงิ่ ที่ถกู ผ่าเป็ นอันตรายแก่คนและสัตว์ที่อยู่
ใกล้ เคี่ยงถ้ าหากไม่มีการป้องกันหรื อป้องกันไม่ถกู ต้ องตามวิชาการ ปั จจุบนั ความเจริญก้ าวหน้ าทาง
วิชาการทําให้ เราเอาชนะ หรื อ บังคับธรรมชาติบางอย่างได้ แต่การเกิดฟ้าผ่านันมนุ ้ ษย์ยงั ห้ ามมิได้
อย่างไรก็ดีผลจากการศึกษาค้ นคว้ าวิจยั ทําให้ เรารู้จกั ลักษณะและธรรมชาติของฟ้าผ่า จึงทําให้ เรา
สามารถหาวิธีปอ้ งกันไม่ให้ เกิดความเสียหายเนื่องจากฟ้าผ่าได้ เช่นในระบบสายล่อฟ้าให้ ฟา้ ผ่าลงบน
เสา หรื อสายล่อฟ้า กระแสฟ้าผ่าจะวิง่ ลงสูพ่ ื ้นดิน ตามสายนําลงดินกระจายหายไปอย่างรวดเร็วโดย
ไม่ก่อความเสียหายแก่ทรัพย์สนิ หรื อเกิดอันตรายแก่สงิ่ มีชีวิตที่อยูใ่ นบริเวณนัน้
ฟ้าผ่ามี 2 ลักษณะ คือ ฟ้าผ่าขึน้ และฟ้าผ่าลง ฟ้าผ่าขึน้ เริ่ มต้ นเกิ ดจากก้ อนเมฆ บริ เวณที่ มี
ความเครี ยดสนามไฟฟ้าสูง ถึงค่าหนึ่งราว 10 KV./Cm. แล้ วเกิดการแตกตัวของอากาศ (Ionization)
ขยายตัวออกไปด้ วยความเร็ ว 10-100 KM./Sec. โดยวิ่งออกไปเป็ นจังหวะก้ าว (Step) แต่ละก้ าวจะมี
ความยาวโดยเฉลี่ยประมาณ 50 M./Sec. ในทิศทางที่แตกตัวได้ ง่ายที่สดุ แล้ วหายลงสู่พื ้นโลกทําให้
ประจุจากก้ อนเมฆ Discharge ลงสู่พืน้ ดิน ส่วนฟ้าผ่าขึน้ จะเกิดจากสิ่งปลูกสร้ างที่มีความเข้ มของ
สนามไฟฟ้าสูง แล้ ววิ่งสูก่ ้ อนเมฆ
กระแสฟ้ า ผ่ า เป็ น กระแสที่ ไหลทางเดี ย วอาจเป็ น บวกหรื อ ลบก็ ได้ ดัง นัน้ กระแสฟ้ า ผ่ า จึ ง มี
คุณ สมบัติเป็ น ได้ ทัง้ บวกและลบ กระแสฟ้าผ่าบวก หมายถึงลําฟ้าผ่าเอาประจุบ วกจากก้ อนเมฆ
Discharge ลงสู่พื ้นโลก กระแสฟ้าผ่าลบหมายถึงลําฟ้าผ่านําเอาประจุลบจากก้ อนเมฆ Discharge
ลงสูพ่ ื ้นโลก จากการบันทึกรวบรวมข้ อมูล 80% เป็ นฟ้าผ่าลบ

12-26
อุปกรณ์ประกอบโรงไฟฟ้า 9

9.3.1 Lightning Arrester

ประกอบไปด้ วยส่วนประกอบง่ายๆ คือจะใช้ ช่องว่างของอากาศ (Spark Gap) ขนาด


กว้ างพอเหมาะ โดยด้ านหนึ่งต่อกับ Ground และอีกด้ านหนึ่งต่อกับสายล่อฟ้า โดยช่องว่างดังกล่าว
จะต้ องกว้ างพอที่จะเป็ นฉนวน ขณะทํางานปกติและในด้ านที่ตอ่ กับ Ground จะมีตวั ความต้ านทานที่
เปลี่ยนค่าได้ ซึง่ ทําหน้ าที่ควบคุมขนาดของกระแสที่ไหลผ่านตัวมัน มาต่ออนุกรม ตัวความต้ านทานที่
ใช้ ผลิตมาจากวัสดุพิเศษ เช่น Silicon Carbide ซึ่งจะมีคุณสมบัติเป็ นฉนวนในสภาวะแรงดันไฟฟ้า
ปกติ จนกระทัง่ เมื่อเกิดฟ้าผ่า หรื อ เกิด Surge ที่มีแรงดันไฟฟ้าสูง ๆ วัสดุนี ้จะทําหน้ าที่เป็ นตัวนํา นํา
แรงดันไฟฟ้าสูงลงสู่ Ground และเมื่อแรงดันไฟฟ้ากลับสู่สภาพปกติ ก็จะกลายเป็ นฉนวนตามเดิม
บางชนิดด้ านที่ต่อลง Ground จะมี Counter ต่อร่ วมอยู่ด้วยเพื่อให้ ทราบจํานวนครัง้ การทํางานของ
Lightning Arrester และทําให้ ทราบอายุการใช้ งานและวาระการบํารุงรักษา Lightning Arrester

รูปที่ 9-21 Spark Gap

รูปที่ 9-22 Lightning Arrester

13-26
อุปกรณ์ประกอบโรงไฟฟ้า 9

9.3.2 Surge Arrester


จะทําหน้ าที่ปอ้ งกันอุปกรณ์ไฟฟ้าอื่น ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งหม้ อแปลงไฟฟ้า จากแรงดันไฟฟ้า
เกิ น ที่ เ กิ ด จากธรรมชาติ (Atmospheric Overvoltage) และที่ เ กิ ด ขึ น้ ภายในระบบไฟฟ้ า เอง
(Switching Overvoltage)
Arrester ที่ใช้ กนั อยูใ่ นปั จจุบนั แบ่งออกเป็ น 3 ลักษณะ คือ
ลักษณะที่ 1 ประกอบด้ วย Plate-Type Spark-Gaps และ Silicon Carbide Resistor
Arrester แบบนี ้จะใช้ กบั ระบบจําหน่ายที่สาํ คัญ ๆ
ลักษณะที่ 2 ประกอบด้ วย Magnetically Blown Spark-Gap และ Silicon Carbide
Resistor Arrester แบบนี ้จะใช้ กบั ระบบแรงดันไฟฟ้าสูง หรื อระบบจําหน่ายที่สาํ คัญ ๆ
ลักษณะที่ 3 ประกอบด้ วย Non-Linear Metal-Oxide Resistors (ไม่มี Spark-Gap)
Arrester แบบนี ้ใช้ งานทัว่ ไป
ลักษณะที่ 1 และ 2 รวมเรี ยกว่า Valve-Type Arrester ลักษณะที่ 3 เรี ยกสัน้ ๆ ว่า
MO-Arrester
การเลือก Arrester เพื่อใช้ งานต้ องคํานึงถึงองค์ประกอบหลายอย่างดังนี ้ คือ
- คุณลักษณะของระบบไฟฟ้าที่จะนํา Arrester ไปใช้
- Protective Ratio ระหว่าง Rated Impulse Withstand Voltage ของอุปกรณ์ที่จะป้องกัน
กับ Protective Level ของ Arrester, Discharge Current, Line Discharge Class และ
Short Circuit Strength
- Resealing Voltage (สําหรับ Valve-Type) และ Maximum Continuous Operating
Voltage สําหรับ (MO-Arrester)

รูปที่ 9-23 ส่วนประกอบของ Surge Arrester รูปที่ 9-24 Surge Counter

14-26
อุปกรณ์ประกอบโรงไฟฟ้า 9

9.3.3 Circuit Breaker

เป็ นอุปกรณ์ ที่ใช้ ตดั ต่อวงจรไฟฟ้าขณะจ่าย Load หรื อเมื่อเกิดกระแสไฟฟ้าเกินขนาด


อุปกรณ์ ที่ใช้ ตดั ต่อวงจรไฟฟ้าโดยทัว่ ไปขณะทํางานจะเกิดประกายไฟ (Arc.) ที่หน้ าสัมผัส (Contact)
เสมอ เนื่องจาก มีกระแสไหลผ่านหน้ าสัมผัส ซึง่ ขณะที่เกิดความผิดปกติ (Fault) ในระบบ ถ้ าช่องว่าง
ระหว่างหน้ าสัมผัสเป็ นอากาศ Arc ที่เกิดขึ ้นจะทําให้ อากาศส่วนนันร้ ้ อนและกลายเป็ นตัวนํา การเกิด
Arc จะทําให้ หน้ าสัมผัสเสียหายได้ ฉะนันใน ้ Circuit Breaker จึงจําเป็ นต้ องออกแบบให้ มีการดับ Arc
ซึ่งการดับ Arc นัน้ มีหลายวิธีตามความเหมาะสม และแต่ละวิธีจะมีข้อดีข้อเสียแตกต่างกันไป เช่น
การดับ Arc โดยใช้ นํ ้ามัน, Compressed Air, SF 6 เป็ นต้ น ดังนัน้ จึงเรี ยกชนิดของ Circuit Breaker
ตามวิธีของการดับ Arc ดังต่อไปนี ้

Minimum Oil Circuit Breaker Air Blast Circuit Breaker

Vacuum Circuit Breaker SF6 Circuit Breaker

รูปที่ 9-25 Breaker ชนิดต่างๆ

15-26
อุปกรณ์ประกอบโรงไฟฟ้า 9

1. Oil Circuit Breaker (OCB)


OCB. เป็ น Circuit Breaker ที่ใช้ นํ ้ามันเป็ นตัวดับ Arc โดยปกติใช้ ในระดับแรงดันไฟฟ้า
ตังแต่
้ 6-275 KV. ในระบบ 3 เฟส มีทงชนิ ั ้ ดที่ใช้ แยกออกเป็ น 3 ถังๆละ 1 เฟส หรื อทัง้ 3 เฟส อยูใ่ นถัง
เดียวกัน ซึง่ กลไกการทํางานจะทําพร้ อมกัน ภายนอกของถังจะมี Bushing เพื่อต่อกับ Load หรื อ
Bus Bar ภายในถังแต่ละถังประกอบด้ วย Main Contact ,Auxiliary Contact Arc Interrupter และ
Operating Mechanism โดยทั ง้ หมดจะแช่ อ ยู่ ใน Insulating Oil เมื่ อ OCB. ทํ า งานจะเกิ ด Arc ที่
Contact และที่ Arc Interrupter Insulating Oil จะทํ าหน้ าที่ เป็ นตัวดับ Arc การทํ างานของ OCB.
จะ Open ด้ วย Spring แข็ ง และ Close ด้ วย Compressed Air ซึ่ ง จะทํ า งานอย่ า งรวดเร็ ว และ
แน่นอน สิ่งที่ต้องทําการตรวจสอบอย่างสมํ่าเสมอสําหรับ OCB. คือ ตรวจสอบว่า Compressed Air
มี Pressure เพี ยงพอหรื อไม่ ตรวจสอบ Counter การทํ างานว่า ควรที่ จะทํ าการบํารุ งรักษาและทํ า
ความสะอาดนํ ้ามันแล้ วหรื อไม่ เนื่องจากนํ ้ามันที่ใช้ ในการดับ Arc จะเกิดความสกปรกขึ ้นที่นํ ้ามันด้ วย

รูปที่ 9-26 Oil Circuit Breaker

2. Air Blast Circuit Breaker ( ABB.)


ABB. ทัว่ ไปใช้ กบั แรงดันไฟฟ้าแรงสูงระดับแรงดันตังแต่
้ 13.2 KV. ขึ ้นไป ส่วนประกอบที่
สําคัญคือ Compressed Air ซึง่ ใช้ ในการดับ Arc โดยพ่นเข้ าไปที่ Interrupter ขณะที่สงั่ Open Circuit
Breaker และ Compressed Air ยังใช้ ควบคุมการทํางานของ Operating Mechanism อีกด้ วยวงจร
ควบคุม Circuit Breaker แบ่งออกเป็ น 2 ส่วนคือ Closing Circuit และ Tripping Circuit ไฟที่ ใช้ ใน
วงจร Control อาจเป็ น ไฟ AC. หรื อ DC. ขึน้ อย◌ู ◌่ กับการออกแบบ สิ่งที่ สําคัญ คื อจะต้ องให้ วงจร
ควบคุ ม พร้ อมอยู่ เ สมอที่ จ ะสั่ ง Close หรื อ Trip Circuit Breaker ได้ ตลอดเวลา ดั ง นั น้ จึ ง ต้ อง
ตรวจสอบ Indicating Lights แสดงตําแหน่งของ Circuit Breaker และ Control Power ให้ ถกู ต้ องอยู่
เสมอ สําหรับ Air Blast Circuit Breaker ต้ องตรวจสอบ Compressed Air Pressure และรอยรั่วตาม

16-26
อุปกรณ์ประกอบโรงไฟฟ้า 9

ท่อลมที่จ่ายเข้ าด้ วย ผู้ปฏิบตั ิงานต้ องศึกษาทําความเข้ าใจอย่างถ่องแท้ ถึงวงจรป้องกันที่จะสัง่ Trip


Circuit Breaker หรื อ Interlock ก่อนที่จะสัง่ ให้ Circuit Breaker ทํางาน เพื่อป้องกันความผิดพลาด

รูปที่ 9-27 Air Blast Circuit Breaker

3. SF 6 Circuit Breaker (Sulfer Hexa Fluoride Circuit Breaker)


SF 6 Circuit Breaker เป็ น Breaker ที่ ป รั บ ปรุ ง มาใช้ ง านหลัง จาก Breaker ชนิ ด อื่ น ๆ
และใช้ ง านได้ ดี เพราะใช้ Gas SF 6 ที่ มี Pressure ตํ่ า ระบบ Seal ง่ า ยไม่ ค่ อ ยรั่ ว เหมื อ น Air Blast
Circuit Breaker และ คุณ สมบัติของ SF 6 คื อมี สถานะเป็ น Gas ที่ ความดัน บรรยากาศ และ การ
Ionization ขณะเกิ ด Arc มี น้ อยมาก ราคาถูกไม่เป็ น ของเหลวที่ อุณ หภูมิตํ่า ถึง –48oC Dielectric
Strength ประมาณ 3 เท่าของอากาศ หรื อเท่ากับ Oil แต่ดีกว่าเนื่องจากการ Ionization น้ อยกว่า Oil
ดัง นัน้ Circuit Breaker แบบนี จ้ ึ ง มี ข นาดเล็ ก ที่ Rating เท่ า กัน ราคาไม่ แ พง เมื่ อ เที ย บกับ Circuit
Breaker ชนิดอื่น Operating Pressure อยูท่ ี่ 3.5 Kg/Cm2

รูปที่ 9-28 SF6 Circuit Breaker

17-26
อุปกรณ์ประกอบโรงไฟฟ้า 9

4. Vacuum Circuit Breaker


เป็ น Circuit Breaker ที่ Arc Interrupt ในสุญ ญากาศ โดยทํ า Interrupting Chamber
ให้ เป็ น สุญญากาศ การ Arc เกิดขึ ้นน้ อยมากและไม่เกิดการ Ionize มีเพียงแต่ Electron เท่านันที ้ ่เกิด
การ Arc เพราะไม่ มี ก าร Ionize ใน Interrupting Chamber ข้ อเสี ย คื อ ต้ อ งมี ก าร Seal อย่า งดี และ
Contact ต้ องเป็ นโลหะพิเศษ เนื่องจากจะมี โมเลกุลของโลหะหลุดออกมาขณะเกิด Arc โมเลกุลนี ้ต้ อง
เอามารวมกับตัวโลหะเดิมให้ ได้ เมื่อ Arc หมด มิเช่นนันผง ้ Arc และจะทําให้ หน้ า Contact สึกกร่ อน
ขึ ้นเรื่ อยๆ

รูปที่ 9-29 Contact ของ Vacuum Circuit Breaker

5. Low Voltage Circuit Breaker


Circuit Breaker ชนิ ดนี ใ้ ช้ กับ ระบบแรงดัน ตํ่ า ส่วนใหญ่ จะใช้ Blow Out Coil หรื อ Air
Interruption ซึ่ง Blow Out Coil จะมีหน้ าที่เป็ นตัวสร้ างสนามแม่เหล็ก เพื่อไล่ Arc เข้ าสู่ Arc Chute
ขณะที่ หน้ าสัม ผัสของ Circuit Breaker ถูกเปิ ดออกและเมื่ อหน้ าสัม ผัส เปิ ดออกเกื อบสุดแล้ วจะมี
ลูกสูบมาเป่ าอากาศไล่ Arc เข้ าสู่ Arc Chute อีกทีหนึง่ ทําให้ Arc ดับได้ เร็วขึ ้น
Note: Arc Chute เป็ นแผ่นฉนวนหลายชัน้ วางเรี ยงกันเป็ นครี บ โดยจะวางตังอยู ้ ่เหนือ
จุดที่ Arc เกิดขึ ้น ลักษณะของครี บฉนวนจะทําให้ Arc เพิ่มระยะยาวขึ ้นเพราะระยะทางที่ Arc ผ่านจะ
ถูกขัดขวางจากครี บฉนวน การเพิ่มระยะทางจะทําให้ ความต้ านทานของอากาศมากขึ ้น Arc จะลดลง

รูปที่ 9-33 ลักษณะของ Arc Chute With Blow Out Coils


18-26
อุปกรณ์ประกอบโรงไฟฟ้า 9

9.3.4 Switching Bus


ใน Switchyard จะประกอบด้ วย Bus อยู่ 3 Phase ตามความยาวของ Switchyard ซึ่ง
Bus นี ้จะมีหน้ าที่เป็ นจุดรวมเพื่อรับพลังงานไฟฟ้าจากเครื่ องกําเนิดไฟฟ้าและเป็ นจุดจ่ายพลังงานไป
ยั ง ส าย ส่ งไฟ ฟ้ าซึ่ ง จ ะต่ อ เข้ ากั บ Bus บ น Switchyard โด ย มี Circuit Breaker แ ล ะใบ มี ด
( Disconnecting Switch ) เป็ น ตัว ตัด ต่ อ วงจร และจะมี ใบมี ด Ground ( Ground Disconnecting
Switch ) ติดตังอยู้ ่ที่ปลายสายส่ง ใบมีด Ground มีหน้ าที่ ต่อปลายสายส่งลง Ground ขณะที่มีการ
บํารุงรักษาสายส่ง เพื่อป้องกันอันตรายจากแรงดันไฟฟ้าเหนี่ยวนําที่อาจเกิดขึ ้นในสายส่งหลังจากที่ได้
ปลด Circuit Breaker ออกหมดแล้ ว
ในสายส่งบางวงจร อาจมีการติดตัง้ Capacitor และ กับดักสัญญาณ ( Wave Traps )
ต่ อ อนุ ก รมที่ ป ลายสายส่ ง แต่ ล ะข้ างก่ อ นเข้ าสถานี ไ ฟฟ้ า เพื่ อ ใช้ เป็ นตัว ส่ ง และแยกสัญ ญาณ
ระบบสื่อสารที่สง่ มากับสายส่ง แต่จะไม่มีผลต่อกระแสไฟฟ้าในระบบ รู ปร่ างของ Wave Traps จะมี
ลักษณะเป็ นสาย Cable ทองแดงม้ วนเป็ นรูปทรงกระบอกข้ างในกลวง ซึง่ จะต้ องระวังนกไม่ให้ เข้ าไป
ทํารังข้ างใน

รูปที่ 9-31 แสดง Switching Bus บน Switchyard

9.3.5 Bus Disconnects


Disconnecting Switch มีหน้ าที่เป็ นตัวแยกวงจรการจ่ายไฟฟ้า ของเครื่ องกําเนิดไฟฟ้า
ที่ตอ่ เข้ ากับ Bus ให้ เป็ นอิสระต่อกันได้ ดังรูปซึง่ จะเป็ นประโยชน์ในกรณีที่ต้องการแยกวงจรการจ่าย
ไฟฟ้าของเครื่ องกําเนิดไฟฟ้า กับสายส่งไฟฟ้าแต่ละวงจร เช่น กรณีที่มีการซ่อมบํารุงรักษาอุปกรณ์
ไฟฟ้าใน S w i t c h y a r d หรื อซ่อมบํารุงรักษาอุปกรณ์ไฟฟ้าในสายส่งแรงสูง เป็ นต้ น

19-26
อุปกรณ์ประกอบโรงไฟฟ้า 9

9.4 สถานีจ่ายไฟฟ้ าและอุปกรณ์ ไฟฟ้ ากระแสตรง


9.4.1 สถานีจา่ ยไฟฟ้า (Station Service Electrical Supply)
สถานี จ่ายไฟฟ้า คือ แหล่งจ่ายพลังงาน ให้ กับอุปกรณ์ ประกอบของโรงไฟฟ้า (Auxiliary
Equipment) ตามรูปที่ 9-32 ซึง่ อุปกรณ์ประกอบในโรงไฟฟ้าพลังนํ ้าโดยทัว่ ไป มอเตอร์ ไฟฟ้าจะทํางาน
ในช่วงแรงดันไฟฟ้า 400-600 V (โวลต์) ในขณะที่อปุ กรณ์แสงสว่างและอุปกรณ์แรงดันตํ่าจะทํางานที่
240 V หรื อ 120 V โดยอุ ป กรณ์ เหล่ า นี น้ อกจากจะมี แ หล่ ง จ่ า ยไฟ AC แล้ ว ยั ง จะต้ องใช้
แหล่งจ่ายไฟ DC มาควบคุมการทํางานอีก
โดยทัว่ ไปแล้ วการจัดระบบของแหล่งจ่ายพลังงานในโรงไฟฟ้าพลังนํ ้า จะเป็ นในลักษณะที่
Load Center ต่ า งๆหรื อ Motor Control Center (M.C.C) หรื อ Power Distribution Board จะรั บ
พลังงานมาจากแหล่งจ่า ยใหญ่ ของโรงไฟฟ้ า และจาก Load Center จะเป็ น แหล่งจ่ า ยย่อ ยให้ กับ
มอเตอร์ ของอุปกรณ์ ประกอบ โดยดึงพลังงานมาจาก Bus Bar ผ่าน Circuit Breaker (CB) ตามรู ปที่
9-33
Circuit Breaker เป็ นอุปกรณ์สําคัญมากอุปกรณ์หนึ่งที่ทําหน้ าที่เป็ นสะพานไฟหรื อกันไม่
้ ให้
ไฟผ่านไปยัง Motor คุณสมบัติสําคัญอย่างหนึ่งคือสกัดกัน้ กระแสเกินค่าที่ Contactor จะรับได้ จาก
กรณีเกิด Fault หรื อผิดพลาดขึ ้นที่ Motor หรื อที่สาย Cable CB จะตัดตอนโดย Trip motor ออกจาก
Bus จ่ายพลังงาน

สถานีจ่ายไฟฟ้า

Load Center 1 Load Center 2 Load Center 3

รูปที่ 9-32 แสดงสถานีจ่ายไฟให้ กบั Load Center

20-26
อุปกรณ์ประกอบโรงไฟฟ้า 9

รูปที่ 9-33 แสดงการจ่ายพลังงานให้ อปุ กรณ์ประกอบ


ในกรณีที่จะบํารุงรักษา Auxiliary Equipment จําเป็ นต้ องแยก Circuit Breaker ออกจาก
Bus เพื่อตัด Power Supply Circuit Breaker จะทําหน้ าที่แยกหน้ าสัมผัสออกจาก Bus ดังรูปที่ 9-33
การควบคุมการทํางานของ Circuit Breaker นันสามารถควบคุ
้ มได้ ทงที
ั ้ ่ Local (ที่ตวั
อุปกรณ์) และ Remote (ควบคุมระยะไกล) โดยการควบคุมระยะไกลนัน้ จะสัง่ Close/Open CB โดย
Switch หรื อ Push Button จะส่งไฟฟ้าแรงดันตํ่า 125 V D.C. ไปยังขดลวดของ Relay ใน Breaker
เพื่อสัง่ เปิ ด–ปิ ดวงจร (ตามรูปที่ 9-34)

รูปที่ 9-34 แสดงการควบคุมอุปกรณ์ระยะไกล

สําหรับ Circuit Breaker (ตามรู ปที่ 9-35) นัน้ Closing Coil ของ Contactor จะมีพลังงาน
อยูเ่ มื่อมีไฟ AC ผ่าน จะทําให้ หน้ าสัมผัสยังคงปิ ดค้ าง แต่หากไฟ AC หาย จะทําให้ Contactor เปิ ด

รูปที่ 9-35 Contactors จะเปิ ดหากแรงดันไฟฟ้าหายไป

21-26
อุปกรณ์ประกอบโรงไฟฟ้า 9

แต่ถ้ากรณี ที่ไฟ AC หายแล้ ว Circuit Breaker ยัง Close ค้ าง เมื่อแหล่งจ่ายมาอีกครัง้ จะ


ทํ าให้ Start up อี ก ครัง้ ทัน ที กรณี เช่น นี อ้ าจก่อให้ เกิ ดปั ญ หาได้ จึงมี การติดอุปกรณ์ เพื่ อหลีก เลี่ย ง
ปั ญ หานี ้ โดยติด ตัง้ Undervoltage Relay ที่ Motor ซึ่งจะ Trip Circuit Breaker กรณี ที่ ไม่ มี แรงดัน
มี ห ลายวิธีที่ จ ะจ่ายไฟให้ สถานี จ่ ายกํ า ลัง เช่น นํ าไฟมาจาก 13.8 KV Bus ของ Generator มาลด
แรงดันให้ ตํ่าลงเหลือ 600 V แต่เพื่อเพิ่มความมัน่ คงให้ ระบบ เราจะต่อแหล่งจ่ายให้ สถานีจ่ายไฟเพิ่ม
อีก 1 แห่ง คือผ่านหม้ อแปลงแรงดันอีกชุดหนึง่ (ดังรูปที่ 9-36)
แหล่งจ่ายของสถานีไฟฟ้านันสามารถนํ
้ ามาจากหลายแหล่งเช่น
1 นํามาจาก Bus ของ Generator ด้ าน 13.8 KV และแปลงแรงดันให้ ตํ่าลงมาที่
400-600 V ด้ วยหม้ อแปลงอีกชุด โดยที่ Bus ของ Generator สามารถต่อร่วมกับ Generator ตัวอื่นได้
(ดังรูปที่ 9-36)
2. นํามาจากด้ าน High Voltage Bus โดยลดแรงดันลงมาจนเป็ นแรงตํ่าที่ใช้ งาน

รูปที่ 9-36 แสดงการนําแหล่งจ่ายมาจาก Bus ของ Generator

รูปที่ 9-37 แสดงการนําแหล่งจ่ายมาจากทังทาง


้ Gen. Terminal และ Bus

22-26
อุปกรณ์ประกอบโรงไฟฟ้า 9

เพื่ อเพิ่มความมั่นคงในระบบสถานีจ่ายไฟ จะต่อหม้ อแปลงเป็ น 2 Bus แต่ละ Bus จะจ่าย


พลังงานไปยัง Power Board ต่าง ๆ
สถานการณ์ ที่อาจเกิดขึ ้นที่เราควรคํานึงถึง คือ Generator Trip ทุกตัว สายส่งขาดทําให้ ไฟ
ในโรง ไฟฟ้าดับทังหมด ้ (Black Out) และจําเป็ นที่จะต้ องเดินเครื่ องใน Mode Black Start ด้ วยเหตุผล
นี จ้ ึ ง จํ า เป็ นต้ องสํ า รองเครื่ อ งกํ า เนิ ด ไฟฟ้ า ฉุ ก เฉิ น (Emergency Diesel Generator) ซึ่ ง จะ Start
อัตโนมัตเิ มื่อสถานี Bus ขาดไฟ
ในบางกรณี การป้อนไฟเข้ าสู่สถานีจ่ายไฟมาจาก Bus ของ Auxiliary Transformer จะถูก
ต่อตรงเข้ ากับ Generator ขณะ Start–Up
โดยปกติแล้ วเครื่ องกําเนิดไฟฟ้าฉุกเฉินมักจะถูกติดตังไว้ ้ เพื่อใช้ งานกับอุปกรณ์ที่ถกู ควบคุม
การทํางานระยะไกล เนื่องจากหากเกิดกรณีไฟหาย อุปกรณ์ดงั กล่าวจะได้ แหล่งจ่ายจากเครื่ องกําเนิด
ไฟฟ้าฉุกเฉินแทน เช่น อุปกรณ์ Spillway (ทางระบายนํ ้าล้ น) หรื อ Reservoir Control Gates (ประตู
ควบคุมของอ่างเก็บนํ า้ ) เครื่ องกํ าเนิดไฟฟ้าฉุกเฉิ นจะต้ องทดสอบ Auto Start อย่างสมํ่าเสมอและ
ได้ รับการบํารุงรักษา ทังเติ ้ มนํ ้ามันอยูเ่ สมอ
สถานีจ่ายไฟฟ้าในโรงไฟฟ้าและระบบพลังงานสํารองจะเกิดประโยชน์อย่างสูงสุดและใช้ งาน
ได้ จ ะต้ อ งอาศัย AC Source ซึ่ง ต้ อ งออกแบบและติ ด ตัง้ อย่ า งถูก ต้ อ งและต้ อ งมี อุป กรณ์ ป้ อ งกัน
Breaker DS (Disconnect Switch) และต้ องมี Layout ของ Auxiliary Bus ทั ง้ หมดในโรงไฟฟ้ า
เพื่อให้ เข้ าใจและรู้วา่ การ ปิ ด–เปิ ด แหล่งจ่ายต่าง ๆ เพราะพลังงานสํารองมีความสําคัญพอ ๆ กับนํ ้าที่
ใช้ หมุนเครื่ องผลิตไฟฟ้า
9.4.2 อุปกรณ์ไฟฟ้ากระแสตรง
แหล่งจ่ายพลังงานไฟฟ้ากระแสตรงจะมีความจําเป็ นในงานหลายๆ อย่างหนึ่งในนันอาจจะ ้
เป็ นไฟฉุกเฉิ นในกรณี ของการผิดพลาดขึ ้นในสถานีจ่ายพลังงานไฟฟ้ากระแสสลับ ไฟฉุกเฉินจะถูก
ติดตังในโรงไฟฟ้
้ าอย่างทัว่ ถึง ในกรณีของการผิดพลาดขึ ้นในสถานีจ่ายพลังงานไฟฟ้ากระแสสลับ ไฟ
ฉุกเฉินจะถูกติดตังอย่ ้ างน้ อยให้ เพียงพอต่อการปฏิบตั งิ านต่ออุปกรณ์ในโรงไฟฟ้า
การใช้ งานเบื ้องต้ นของพลังงานไฟฟ้ากระแสตรงจะใช้ ในระบบควบคุมสัญญาณเตือน วงจร
Protections วงจรสวิตช์ ที่ใช้ กันทั่วไปและไฟสัญ ญาณบนแผงควบคุมหลัก จะใช้ แรงดัน 125 โวลต์
วงจรการเปิ ดและการปิ ด Breaker จะใช้ ไฟฟ้ากระแสตรง เพื่ อควบคุมการทํ างานของอุปกรณ์ ที่ใช้
ไฟฟ้ากระแสสลับ
แหล่ ง จ่ า ยพลัง งานไฟฟ้ า กระแสตรง โดยปกติ แ ล้ ว จะเป็ น Rectifier Unit ซึ่ ง จะเปลี่ ย น
พลังงานไฟฟ้ากระแสสลับ (ดึงมาจากแผงพลังงานสํารอง Auxiliary Board) ไปเป็ นพลังงานไฟฟ้า
กระแสตรง ปกติจะเป็ น 125 โวลต์ (ดังรู ปที่ 9-38) จะจ่ายพลังงานไปที่ DC Distribution Bus และ

23-26
อุปกรณ์ประกอบโรงไฟฟ้า 9

Station Battery แบตเตอรี่ จ ะถูก ชาร์ ต อย่ า งต่ อ เนื่ อ งโดย Rectifier ถ้ า พลัง งานไฟฟ้ า กระแสสลับ
สูญเสีย Rectifier จะไม่ป้อนพลังงานไฟฟ้ากระแสตรงให้ ทงชุ ั ้ ด Battery และ D.C. Distribution Bus
แต่แบตเตอรี่ จะป้อนพลังงานไฟฟ้ากระแสตรงแทน

รูปที่ 9-38 Typical D.C. System

Station Battery ประกอบไปด้ วยเซลแต่ละเซลต่อกันแบบอนุกรมเพื่ อจ่ายพลังงานไฟฟ้า


กระแสตรง 125 โวลต์หรื อ 250 โวลต์ ปกติจะจ่ายไฟฟ้ากระแสตรงได้ หลาย ๆ ชัว่ โมง ดังนันจึ ้ งมีเวลาที่
จะแป ล งไฟ ม าเติ ม ใน ห ล าย ๆ โรงไฟ ฟ้ าจะพ บ Battery Bank ม าก ก ว่ า 1 Bank ระบ บ
Communication Battery มั ก ถู ก ติ ด ตั ง้ กั บ Rectifier Charging Unit ซึ่ ง ทํ า งานที่ 48 โวลต์ ของ
กระแสตรงและอาจจะยังไม่ได้ ติดตัง้ Battery Groups การทํางานที่ แรงดันไฟฟ้ากระแสตรง สําหรับ
การดูแลเอาใจใส่ต่อแบตเตอรี่ นัน้ มี ความสําคัญ อย่างมาก สามารถทํ าให้ เกิ ด การระเบิดและเป็ น
เชื ้อเพลิงได้ จาก DC Bus พลัง งานไฟฟ้ า กระแสตรงจะถู ก จ่ า ยไฟที่ ว งจรต่ า งๆ ผ่ า น DC
Distribution Panels ต้ องมั่น ใจว่า DC Distribution Panels ถูก ตัง้ ไว้ ที่ ตรงจุด ไหนในโรงไฟฟ้าและ
วงจรจ่ายไฟทังหมด ้
ประโยชน์ จากการใช้ พลังงานไฟฟ้ากระแสตรงในการควบคุมและสําหรับวงจรฉุกเฉิ นคือ
ไฟฟ้าจะไม่ขาดหายไปเนื่องจากความสามารถในการเก็บไฟของ Station Battery อย่างไรก็ตามในการ
ใช้ งาน ขัน้ สูงขึน้ นัน้ แหล่งจ่ายพลังงานไฟฟ้ากระแสสลับต้ องไม่ดับ เช่น ในระบบควบคุม แบบ
ดิจิตอลเราไม่สามารถเสี่ยงต่อการสูญ เสียพลังงานเพื่ อคอมพิวเตอร์ หลักหรื อคอมพิวเตอร์ รองอื่นๆ
แม้ ว่าคอมพิวเตอร์ จะทํางานบนระบบไฟฟ้ากระแสตรงทังหมดมั ้ นก็จะถูกจ่ายด้ วยไฟกระแสสลับแบบ
ธรรมดา นัน่ คือ 240 หรื อ 120 โวลต์ เราต้ องเปลี่ยนรูปของแรงดันให้ เหมาะสมกับระบบการทํางานของ
คอมพิวเตอร์ และเปลี่ยนเป็ นไฟกระแสตรงเหมือนกันกับคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์อื่นๆ ที่ประยุกต์ในขันสู ้ ง
นี ้อาจต่อเข้ ากับระบบพลังงานไฟฟ้ากระแสสลับและได้ รับประโยชน์จากการไม่ถกู รบกวน ตัวอย่างคือ

24-26
อุปกรณ์ประกอบโรงไฟฟ้า 9

อุปกรณ์ทางการสื่อสารกับฟั งก์ชนั่ การทํางานที่เป็ นหัวใจสําคัญทังหมด


้ ในการติดตังระบบป้
้ องกันและ
วงจรควบคุมจะถูกต่อเข้ ากับระบบไฟฟ้ากระแสสลับแทนที่จะเป็ นไฟฟ้ากระแสตรง
Uninterruptible AC Power Supply อาจจะถูกแบ่งออกได้ จากหลายๆ ชนิดของระบบ UPS
( Uninterruptible Power Supply ) ทังหมดจะใช้
้ แบตเตอรี่ เป็ นตัวจ่ายให้ เป็ น Standby System

รูปที่ 9-39 Typical On-Line UPS System

รู ป ที่ 9-39 แสดงแผนผั ง ของระบบ On-line UPS ซึ่ ง Critical AC Supply จะถู ก จ่ า ยโดย
Inverter โดยการทํางานของ Inverter จะตรงข้ ามกับ Rectifier นั่นคือจะเปลี่ยนไฟฟ้ากระแสตรงไป
เป็ นกระแสสลับ Inverter จะรับไฟฟ้ากระแสตรงมาจาก Rectifier และแบตเตอรี่ จะต่อคร่ อมขัวไว้ ้ ถ้ า
ไฟฟ้ากระแสสลับที่จ่ายให้ Rectifier หายไป บางทีอาจเนื่องมาจากการตัดของโรงงาน แบตเตอรี่ ยงั คง
จ่ายให้ กบั Inverter ซึง่ มันก็ยงั คงจ่ายให้ กบั Uninterruptible AC Power และ Critical Circuit

รูปที่ 9-40 Typical Off-Line UPS System

25-26
อุปกรณ์ประกอบโรงไฟฟ้า 9

รู ปที่ 9-40 แสดงระบบ “Off-line” UPS Load ชนิด Critical AC ปกติแล้ วจะได้ รับพลังงาน
จากไฟ AC จาก Auxiliary Power Board โรงไฟฟ้า UPS Inverter จะถูกต่อขนานกับ Static Transfer
Switch ซึ่งจะเป็ น แบบ NO ในกรณี ที่ เกิ ด Loss Of Volts บนแหล่งจ่ายหลัก Static Switch ปิ ดและ
Critical Power ทังหมดจะถู
้ กจ่ายโดยระบบ UPS ภายในเวลามิลลิวินาที
ในการติดตัง้ UPS ที่ประกอบด้ วยเครื่ องจักรเล็ก ๆ ที่ใช้ ขบั เครื่ องกําเนิดไฟฟ้าซึ่งจะสตาร์ ท
โดยอัตโนมัติ เพื่ อจ่ าย Critical AC Power บน Critical AC Power บน Loss Of AC Supply ในการ
ทํางานแบบนี ้ Inverter และแบตเตอรี่ เป็ นที่ต้องการเพื่อรักษาความต่อเนื่องของ AC Power Supply
ในระหว่างช่วงทํางาน

26-26

You might also like