You are on page 1of 6

ชางเทคนิคระดับสูง - เครื่องปรับอากาศ การถอด

การถอด สวนประกอบ
1. การฟนฟูสารทําความเย็น

2. ถอดคอมเพรสเซอรเครื่องปรับอากาศ

(1/1)

-1-
ชางเทคนิคระดับสูง - เครื่องปรับอากาศ การถอด

การเปลี่ยนถายสารทําความเย็น
1. ติดตั้งชุดแมนิโฟลดเกจ
ปฏิบัติตามเงื่อนไขดังนี้
• สวิตชเครื่องปรับอากาศอยูในตําแหนง
"OFF"
• สวิตชจุดระเบิดอยูในตําแหนง "LOCK"
(เครื่องยนตไมทาํ งาน)
2. ใชเครื่องฟนฟูสารทําความเย็น
ขอแนะนํา:
เครื่องฟนฟูสารทําความเย็นจะมีความ
แตกตางกันตามแตละรุน ดังนั้น
ควรศึกษาจากคูมือการใชงาน

1 แมนิโฟลดเกจ
2 เครื่องฟนฟูสารทําความเย็น
3 ทอยางสีเขียว
4 สวิตชจุดระเบิด
5 สวิตชชุดเครื่องปรับอากาศ

(1/1)

ติดตั้งชุดแมนิโฟลดเกจ
1. คุณลักษณะของชุดแมนิโฟลดเกจ
(1)เกจมี 2 ตัว คือ
เกจวัดแรงดันต่าํ และเกจวัดแรงดันสูง
(2)สับชองทางเติมสารทําความเย็น
โดยเปดและปดวาลว
ขอแนะนํา:
แมนิโฟลดเกจทีอ่ อกแบบมาสําหรับ
HFC-134a (R134a)
ไมสามารถที่จะนําไปใชกับระบบที่เปน
CFC-12 (R12) ได

1 ปดวาลวดาน Lo / ปดวาลวดาน Hi
2 เปดวาลวดาน Lo / ปดวาลวดาน Hi
3 ปดวาลวดาน Lo / เปดวาลวดาน Hi
4 เปดวาลวดาน Lo / เปดวาลวดาน Hi

(1/2)

-2-
ชางเทคนิคระดับสูง - เครื่องปรับอากาศ การถอด

2. ติดตั้งชุดแมนิโฟลดเกจ
(1)หมุนปดวาลวดานแรงดันต่าํ (Lo)
และวาลวดานแรงดันสูง (Hi)
ของชุดแมนิโฟลดเกจใหสนิท
คําเตือน:
• การตอทอสารทําความเย็นเขากับเกจ
ควรใชมือขันใหแนน หามใชประแจขัน
• ถาขอตอหรือทอสารทําความเย็นซึง เกิด
ความเสียหาย ใหทาํ การเปลีย นใหม
• ขนาดของขอตอและทอดานแรงดันต่า ํ
และแรงดันสูงจะแตกตางกัน ดังนั้น
จะไมสามารถตอทอสลับดานได
• เมื่อทําการตอขอตอเขากับทอสารทํา
ความเย็นบนรถยนต ใหตอขอตอแบบ
สวมล็อคติดอยูกับทอของสารทําความ
เย็น และเลื่อนจนกระทั่งไดยินเสียง
ดัง “คลิก”
• เมื่อทําการตอแมนิโฟลดเกจ
หามทําใหทอตอของเกจคดงอ

1 ปด

-3-
ชางเทคนิคระดับสูง - เครื่องปรับอากาศ การถอด

(2)ตอปลายสายของทอเติมสารทําความ
เย็นเขาที่ชุดแมนิโฟลดเกจ และอีกขาง
หนึ่งของปลายทอเขากับวาลวบริการ
บนรถยนต
• ทอสีนา้ํ เงิน —> ดานแรงดันต่าํ
• ทอสีแดง —> ดานแรงดันสูง

คําเตือน:
• การตอทอสารทําความเย็นเขากับเกจ
ควรใชมือขันใหแนน หามใชประแจขัน
• ถาขอตอหรือทอสารทําความเย็นซึง เกิด
ความเสียหาย ใหทาํ การเปลีย นใหม
• ขนาดของขอตอและทอดานแรงดันต่า ํ
และแรงดันสูงจะแตกตางกัน ดังนั้น
จะไมสามารถตอทอสลับดานได
• เมื่อทําการตอขอตอเขากับทอสารทํา
ความเย็นบนรถยนต ใหตอขอตอแบบ
สวมล็อคติดอยูกับทอของสารทําความ
เย็น และเลื่อนจนกระทั่งไดยินเสียง
ดัง “คลิก”
• เมื่อทําการตอแมนิโฟลดเกจ
หามทําใหทอตอของเกจคดงอ

1 วาลวบริการ (ดานรถยนต)
2 แมนิโฟลดเกจ
3 ขอตอสวมเร็ว
4 ทอยางชารจสารทําความเย็น

(2/2)

-4-
ชางเทคนิคระดับสูง - เครื่องปรับอากาศ การถอด

ถอดคอมเพรสเซอรเครื่องปรับอากาศ
1. ถอดสายพานขับ
(1)คลายโบลทยึดที่ปรับตั้งความตึงสาย
พาน (A) และ (B) ของอัลเทอรเนเตอร
(2)ใชมอื โยกอัลเทอรเนเตอรเขาหาเครือง-
ยนตและ ทําการถอดสายพานออก
ขอควรระวัง:
การดึงสายพานขับอัลเทอรเนเตอรเพื่อ
ถอดอัลเทอรเนเตอรอาจทําใหสายพาน
เกิดความเสียหายได

1 สายพาน

การเปลี่ยนสายพานขับ
แบบไมมีลูกรอก (ไมมีโบลทปรับตั้ง)
สําหรับแบบไมมีลูกรอก
(ไมมีโบลทปรับตั้ง) วิธีการปรับตั้งความตึง
สายพานจะทําไดโดยการปรับโบลทปรับตั้ง
เพื่อใหอุปกรณที่ยึดอยูเลือ่ นใหสายพานตึง
”สําหรับเครื่องยนต 1NZ-FE
ถอดสายพานขับ
(1)คลายโบลทยึดตัวที่ 2 และ 3 ของอัล-
เทอรเพื่อปรับแตงความตึงของสายพาน
(2)ดันอัลเทอรเนเตอรเขาหาเครื่องยนต
แลวถอดเอาสายพานออก
ขอควรระวัง:
การดึงสายพานเพื่อทําใหอัลเทอรเน-
เตอรเลื่อนอาจทําใหสายพานเสียหาย

1 สายพาน
2 โบลทยึด
3 โบลทยึด

-5-
ชางเทคนิคระดับสูง - เครื่องปรับอากาศ การถอด

2. ถอดทอสารทําความเย็นออกจาก
คอมเพรสเซอรเครื่องปรับอากาศ”
ดังนั้น ในการถอดทอสารทําความเย็น จะมี
น้าํ มันภายในทอไหลออกมา ควรจะมีถุง
พลาสติกหอหุมทอไวเพื่อปองกันน้าํ มันรั่ว
ออกมา หรือความชื้นและสิ่งสกปรกจะเขา
สูคอมเพรสเซอรของชุดเครื่องปรับอากาศ

(1/2)

3. ถอดคอมเพรสเซอรเครือ งปรับอากาศ
(1)คลายโบลทยึดคอมเพรสเซอรชุด
เครื่องปรับอากาศ และดึงโบลทออก
จากคอมเพรสเซอรชุดเครือ่ งปรับ-
อากาศขณะประคองคอมเพรสเซอรไว
(2)ควรมีถุงพลาสติกหุม คอมเพรสเซอรไว
เพื่อปองกันน้าํ มันคอมเพรสเซอรรั่ว
ออกมา และเพื่อปองกันความชื้นหรือ
สิ่งสกปรกเขาสูคอมเพรสเซอรของชุด
ปรับอากาศ
ขอควรระวัง:
เมือ่ ทําการถอดชุดคอมเพรสเซอรของ
เครื่องปรับอากาศ ระวังอยาใหไป
กระแทกกับชุดกรองน้าํ มันเครื่อง
หมอน้าํ หรืออื่นๆเกิดความเสียหายได

(2/2)

-6-

You might also like