You are on page 1of 18

การเดินเครื่ องและบํารุงรักษา 10

บทที่ 10
การเดินเครื่ องและการบํารุ งรั กษา

10.1 การเดินเครื่องผลิตไฟฟ้ า

โรงไฟฟ้าพลังนํ ้าเป็ นโรงไฟฟ้าที่มีคณ ุ สมบัติท่ีแตกต่างจากโรงไฟฟ้าประเภทอื่น ที่เด่นชัดคือ


ความเร็ วในการเดินเครื่ องเพื่อจ่ายพลังงานไฟฟ้า และความรวดเร็ วในการควบคุมการเพิ่ม-ลดการจ่าย
พลังงาน และการหยุดเครื่ อง โดยทั่ว ๆ ไป การควบคุมเครื่ องกํ าเนิดไฟฟ้ามีอยู่ 2 ลักษณะคือ การ
ควบคุมการเดินเครื่ องและหยุดเครื่ องแบบการควบคุมด้ วยบุคคล (Manual Control) และการควบคุม
การเดินเครื่ องและหยุดเครื่ องแบบอัตโนมัติ (Automatic Control) นอกจากนี ้ สภาวะการต่าง ๆ ขณะที่
เครื่ องกําเนิดไฟฟ้าจ่ายพลังงานไฟฟ้าอยู่ ควรจะเป็ นเช่นไร เมื่อเกิดสภาวะการเดินเครื่ องที่ผิดปกติ
เกิดขึ ้น การหยุดเครื่ องกําเนิดไฟฟ้าฉุกเฉิน (Emergency Shut Down) จะดําเนินการได้ ที่ใดบ้ าง เป็ น
สิง่ ที่พนักงานเดินเครื่ องจําเป็ นอย่างยิ่งที่จะต้ องทราบและจดจําให้ ได้
10.1.1 ขันตอนการเดิ
้ นเครื่ องและหยุดเครื่ องแบบควบคุมด้ วยบุคคล (Manual Control)

1) ขันตอนการเดิ
้ นเครื่ องด้ วยบุคคล (Manual Start Up)

รูปที่ 10-1 การเดินเครื่ องแบบ Manual

1-18
การเดินเครื่ องและบํารุงรักษา 10

ก. ตรวจสอบความพร้ อมและดําเนินการกับอุปกรณ์ตา่ ง ๆ ต่อไปนี ้


1 . I n l e t G a t e F u l l y O p e n
2. ปลดล๊ อค Servo Motor
3. Close Gen Disconnecting Switch
4. Auto Voltage Regulator System และ Governor System
อยูใ่ น สภาพพร้ อมทํางาน
ข. ทําการเปิ ด Inlet Valve และ Main Cooling Water Valve
ค. ทําการ Start Up อุปกรณ์ตอ่ ไปนี ้
1. High Pressure Oil Lift Pump
2. Gen thrust Bearing Oil Circulating Pump
3. Turbine Guide Bearing Circulating Pump
4. เปิ ด G e n e r a t o r A i r C o o l e r O u t l e t V a l v e
ง. ตรวจสอบอัต ราการไหลของนํ า้ มัน และนํ า้ สํ า หรั บ ระบายความร้ อน
รวมทังระบบแรงดั
้ นนํ ้ามันว่าอยูใ่ นพิกดั ที่กําหนด
จ. เมื่ อ อุ ป กรณ์ ประกอบทุ ก อย่ า งพร้ อม จะทํ า การกดปุ่ ม Start ที่ ต้ ู
Governor หลั ง จากนั น้ ค่ อ ย ๆ เปิ ด Gate เพื่ อ ให้ นํ า้ เข้ าไปผลั ก ให้
Turbine หมุนไปที่ความเร็ วตามพิกดั (Rated Speed) จากนันจึ ้ งทําการ
“OFF” High Pressure Oil Lift Pump
ฉ. นํ า ระบบ Excitation เข้ าใช้ งาน โดย Close Field Breaker และเพิ่ ม
Field Current จนแรงดันของเครื่ องกําเนิดไฟฟ้าเป็ นไปตามพิกดั (Rated
Voltage)
ช. ทําการขนานเครื่ องเข้ าระบบ (Synchronizing) โดยพิจารณาแรงดันและ
ความถี่ของเครื่ องกําเนิดไฟฟ้าว่า Match กับระบบไฟฟ้าขณะนันหรื ้ อไม่
ถ้ า Match แล้ วก็ทําการ “Close” Generator Circuit Breaker ขันตอนนี ้ ้
ถึงแม้ วา่ เป็ น Mode Manual Start Up ก็จะปล่อยให้ เป็ นหน้ าที่ของระบบ
ขนานเครื่ อ งอั ต โนมั ติ Automatic Synchronizing เนื่ อ งจากมี ค วาม
แม่นยําค่อนข้ างสูง
ซ. เมื่ อขนานเครื่ องเข้ าระบบแล้ วก็ ทํ าการเพิ่ม การจ่ายพลังงานและปรั บ
สภาวะการจ่ายพลังงานให้ เหมาะสมกับระบบการผลิต ณ เวลานัน้

2-18
การเดินเครื่ องและบํารุงรักษา 10

2) การหยุด เครื่ อ งด้ ว ยบุ ค คล (Manual Shut Down) ขัน้ ตอนการหยุด เครื่ อ ง จะ
ดําเนินการย้ อนกลับ จากขันตอนการเดิ
้ นเครื่ อง ดังต่อไปนี ้
ก. ลดการจ่ายพลังงานทัง้ Real Power และ Reactive Power
ข. เมื่ อ ลดการจ่ า ยพลัง งานลงเหลื อ Load ประมาณ 4-7 MW. ทํ า การ
“Open” Generator Circuit Breaker
ค. เมื่อ Generator Circuit Breaker “Open” แล้ ว ทําการ Stop Turbine ที่
ตู้ Governor Gate จะปิ ดลงมาสู่ตําแหน่ง Fully “Close” จากนันทํ ้ าการ
“On” High Pressure Oil Lift Pump และ “Close” Inlet valve
ง. ความเร็ วรอบของ Turbine จะลดลงมาเรื่ อย ๆ จนถึง 20% ของ Rated
Speed จะทําการ “On” Brake เพื่อทําการหยุดเครื่ อง
จ. เมื่ อ Speed ของ Turbine เท่ ากับ ศูน ย์ ให้ ทํ าการ “Off” อุป กรณ์ เหล่า นี ้
ตามลําดับ
1. High Pressure Oil Pump
2. Generator Thrust Bearing Oil Circulating Pump
3. Turbine Guide Bearing Oil Circulating Pump
4. Release Brake
ฉ. จากนัน้ ทํ า การ Close Main Cooling water Valve และ Generator Air
Cooler Outlet Valve
ช. ทําการ Lock Serve

10.1.2 ขันตอนการเดิ
้ นเครื่ องและหยุดเครื่ องแบบอัตโนมัติ (Automatic Control)

รูปที่ 10-2 การเดินเครื่ องแบบ Auto

3-18
การเดินเครื่ องและบํารุงรักษา 10

เป็ นการเดิ น เครื่ อ งที่ สั่ ง การที่ Master Control Switch ที่ Unit Control Board หรื อที่
จอคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์ทกุ อย่างที่อยูใ่ น Mode Manual จะทํางานตามขันตอนโดยอั้ ตโนมัตใิ น Mode
Automatic นี ้ แต่ทงนี
ั ้ ้ Control Switch ของทุกอุปกรณ์ต้องอยูท่ ี่ตําแหน่ง “Remote-Auto”
1) ขันตอนการเดิ
้ นเครื่ องแบบอัตโนมัติ (Auto Start Up) มีดงั ต่อไปนี ้
ก. Condition To Start เป็ นช่ ว งที่ ต รวจสอบว่ า อุ ป กรณ์ ทุ ก อย่ า งอยู่ ใ น
ตําแหน่งพร้ อมที่จะทํางาน

รูปที่ 10-3 แสดงวงจร Condition To Start


ข. Auxiliary Equipment Start เป็ นขันตอนสั ้ ง่ Start Auxiliary Equipment
ค. Preparation เป็ นการตรวจสอบอัตราการไหลของนํ ้าจะคลายความร้ อน
และนํ ้ามันหล่อลื่นให้ อยูใ่ นพิกดั ที่ต้องการ

รูปที่ 10-4 แสดงวงจร Auxiliary Equipment To Start และ Preparation

4-18
การเดินเครื่ องและบํารุงรักษา 10

ง. Start เป็ นขันตอนการหมุ


้ น Turbine จนถึง Rated Speed ขันตอนนี ้ ้เรี ยก
กันอีกอย่างหนึง่ ว่า No Load – No Excite Run
จ. Excitation เป็ นขันตอนการสร้
้ างแรงดันไฟฟ้าของ Generator จนถึง
Rated Voltage ขันตอนนี้ ้เรี ยกกันอีกอย่างหนึง่ ว่า No Load – No Excite
Run
ฉ. Ready For Synchronizing เป็ นขันตอนการเตรี
้ ยมการขนานเครื่ อง
ช. Generator Circuit Breaker Close เป็ นขันตอนการขนานเครื
้ ่ องเข้ าระบบ
ฌ. Load เป็ นขันตอนการจ่
้ ายพลังงาน
ญ.

รูปที่ 10-5 แสดงวงจรการ Start, Excitation On, Ready For Synch, Load

2) ขันตอนการหยุ
้ ดเครื่ องอัตโนมัติ
มีขนตอนดั
ั้ งต่อไปนี ้
เมื่ อ ไม่ มี ค วามต้ อ งการใช้ พ ลังงานจากโรงไฟฟ้ า พลังนํ า้ ก็ จ ะทํ า การหยุด
เครื่ องกําเนิดไฟฟ้าลง แต่ละ Plant ตามความเหมาะสม ดังนี ้
ก. Unload เป็ นขันตอนการลดการจ่
้ ายพลังงาน
ข. Generator Circuit Breaker Open เป็ นขัน้ ตอนการปลดเครื่ องออกจาก
ระบบเมื่อลดการจ่ายกําลังไฟฟ้าลงมาที่ 4-7 Mw
ค. Excitation Off เป็ นขัน้ ตอนการลดแรงดันไฟฟ้าของเครื่ องกํ าเนิ ดไฟฟ้า
หรื อลดสนามแม่เหล็กของ Rotor

5-18
การเดินเครื่ องและบํารุงรักษา 10

ง. Turbine Stop เป็ นขันตอนการปิ


้ ด Gate
จ. Dynamic Brake “On” เป็ นขันตอนการลดความเร็
้ วของตัว Turbine และ
หยุดลงในที่สดุ
ฉ. Pneumatic Brake On เป็ นขันตอนการหยุ
้ ดเครื่ อง Back Up เพื่อให้ ความ
มัน่ ใจว่า Turbine หยุดจริง ๆ
ช. Preparation เป็ นขันตอนการหยุ
้ ดอุปกรณ์ประกอบ
ซ. Stop (อุปกรณ์ทงหมดหยุ
ั้ ดการทํางาน)

รูปที่ 10-6 แสดงวงจรการหยุดเครื่ องแบบ Auto

การเดินและหยุดเครื่ องแบบ Automatic นี ้ การทํางานจะเป็ นไปตามลําดับอย่างแน่นอน ไม่


มีการลัดขันตอนแต่
้ อย่างใด

นอกจากนีใ้ นปั จจุบนั ยังมีการเดินเครื่ องและหยุดเครื่ องกําเนิดไฟฟ้าด้ วยการควบคุมจาก


ระยะไกล ห่างจากตัวโรงไฟฟ้าหลายร้ อยกิโลเมตรอีกด้ วย เราเรี ยกการควบคุมการเดินเครื่ องและหยุด
เครื่ องแบบนี ้ว่า Remote - Automatic การทํางานก็เหมือนกับการเดินเครื่ องแบบอัตโนมัติ เพียงแต่ว่า
ผู้สงั่ การและควบคุมไม่ได้ อยูท่ ี่โรงไฟฟ้า อาจอยูท่ ี่สํานักงานในตัวเมือง หรื อที่ไหนก็ได้

6-18
การเดินเครื่ องและบํารุงรักษา 10

10.1.3 การหยุดเครื่ องกําเนิดไฟฟ้าแบบฉุกเฉิน (Emergency Shut Down)

รูปที่ 10-7 แสดง Emergency Push Button Switch


ในทัว่ ๆ ไป หลังจากหมดความต้ องการพลังงานจากเครื่ องกําเนิดไฟฟ้าแล้ ว เราก็จะทําการ
หยุด (Shut Down) เครื่ องกํ าเนิ ดไฟฟ้า แต่ถ้ าในขณะที่ เดิน เครื่ องกํ าเนิ ดไฟฟ้าแล้ วเกิ ดสิ่งผิดปกติ
เกิดขึ ้น เช่น มีกลุ่มควันจาก Generator Room ซึง่ อุปกรณ์ปอ้ งกันควรจะทํางานแต่ไม่ทํางาน หรื อเกิด
นํ ้าหล่อเย็นของ Generator Air Cooler รั่วอย่างรุนแรง สภาวะการต่าง ๆ เหล่านี ้ ผู้ควบคุมหรื อหัวหน้ า
งานต้ อ งตัด สิ น ใจหยุ ด เครื่ อ งทั น ที โดยสั่ง การจาก Emergency Push Button Switch ที่ Control
Desk, Control Board, Turbine Control Board

10.1.4 การควบคุมการจ่ายพลังงาน

เมื่อเครื่ องกําเนิดไฟฟ้าขนานเข้ ากับระบบแล้ ว เราก็จะควบคุมการจ่ายพลังงานให้ เป็ นไป


ตามความต้ องการของระบบ ซึง่ ในขณะที่เครื่ องกําเนิดไฟฟ้าจ่ายพลังงานให้ ระบบนัน้ เราจะควบคุมให้
จ่ายพลังงานไฟฟ้า ณ จุดใดจุดหนึ่งคงที่ก็ได้ หรื อจะควบคุมให้ เครื่ องปรับลดหรื อเพิ่ม Active Power
และ Reactive Power ตามสภาวะการของระบบก็ได้ แต่ต้องอยู่ในพิกดั ของเครื่ องกําเนิดไฟฟ้านัน้ ๆ
เราจะรู้ได้ อย่างไรว่าสภาวะการจ่ายพลังงานอยู่ในพิกดั ดังกล่าว เครื่ องกําเนิดไฟฟ้าโดยทัว่ ๆ ไป จะมี
การกํ า หนดขี ด จํ า กั ด สภาวะการจ่ า ยพลั ง งานไว้ ในรู ป ของ Generator Capability Curve ซึ่ ง
Capability Curve มีลกั ษณะดังรูปที่ 10-8
22 ในการจ่ า ยพลัง งานทัง้ ในสภาวะ Under Execite และ Over Execite ของเครื่ อ งกํ า เนิ ด
ไฟฟ้าควรจะอยู่ในเส้ นขีดจํากัด ถ้ าหากเกินขีดจํากัดดังกล่าวออกไป เครื่ องอาจเกิดความเสียหายได้

7-18
การเดินเครื่ องและบํารุงรักษา 10

แต่ในการควบคุมของ Auto Voltage Regulator จะมีการควบคุมในเครื่ องจ่ายพลังงานให้ อยู่ในพิกดั


ดังกล่าวโดยอัตโนมัติ

Under Excite Over Excite


Limitter Limitter

Under Excite Over Excite

รูปที่ 10-8 แสดง Capability Curve ของ Generator


22

22 10.1.5 การตรวจสอบและติดตามสภาวะการจ่ายพลังงานของเครื่ องกําเนิดไฟฟ้า


ในขณะที่เครื่ องกําเนิดไฟฟ้าเดินเครื่ องจ่ายพลังงานไฟฟ้า จะมีการติดตามสภาพการณ์และ
บันทึกข้ อมูลของอุปกรณ์ ต่าง ๆ โดยพนักงานเดินเครื่ อง โดยจะมีช่วงระยะเวลาการบันทึกเป็ นชัว่ โมง
ต่อชัว่ โมง หรื อต่อสามชัว่ โมงก็ขึ ้นอยูก่ บั ข้ อกําหนดของอุปกรณ์นนั ้ ๆ เช่น
1) เครื่ องกําเนิดไฟฟ้า เราควรจะบันทึกข้ อมูลของ
ก. สภาวะการจ่าย Load MW และ MVAR
ข. Generator Voltage และ Ampares
ค. Exciter Voltage และ Ampares
ง. Generator Winding Temp & Air Cooler Temperature
จ. Generator Thrust Bearing & Oil Temperature ทุ ก ๆ ชั่ ว โมง
(ตามตัวอย่าง ใน Log Sheet ที่แนบท้ ายบท) เป็ นต้ น
2) ในส่วน Turbine เราควรบันทึกข้ อมูลของ
ก. Turbine Guide Bearing และ Oil Temperature
ข. Flow Rate และ Temperature ของ Cooling Water
ค. ค่า Vibration ของ Generator & Turbine

8-18
การเดินเครื่ องและบํารุงรักษา 10

ง. แรงดันของนํา้ มันสําหรับ Governor Pressure Oil System ตาม


ตัวอย่างใน Log sheet เป็ นต้ น

10.1.6 ข้ อเสนอแนะในการกําหนดอัตราการรับ Load

เครื่ อ งกํ า เนิ ด ไฟฟ้ า พลัง นํ า้ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพในการรั บ ภาระที่ อัต รากํ า หนด และมี ค วาม
ยืดหยุน่ ต่อการปรับ Load เมื่อระบบมีความต้ องการในอัตราที่กําหนดที่สามารถทํางานได้ ในทันที โดย
การทํางานของ Governor, Hydraulic Turbine และ Hydraulic Condition
1) การพิจารณาขันต้
้ นในการรับภาระที่อตั รากําหนดของเครื่ องกําเนิดไฟฟ้าพลังนํ ้า
คื อ พิ จ ารณาอัต ราการเปลี่ ย นแปลงอุณ หภูมิ ของ Stator และ Field Coil นอกจากนี ต้ ้ อ งคํ านึ งถึ ง
ผลกระทบของฉนวน
2) วิธีการเพิ่มการรับภาระโดยมี ผลเสียต่อเครื่ องกํ าเนิดไฟฟ้าน้ อยที่ สุด คือ ต้ อง
ค่อย ๆ ให้ เครื่ องกําเนิดไฟฟ้าจะรับภาระจนถึงอัตรากําหนดภายในเวลาที่เหมาะสม หลังจากเริ่ มมีการ
รับภาระ การเพิ่มภาระในลักษณะนี ้ จะทําให้ ความร้ อนที่เพิ่มขึ ้น และกระจายไปตามส่วนต่าง ๆ ของ
เครื่ องกํ าเนิดไฟฟ้าอย่างสมํ่าเสมอ และมีแนวโน้ มที่ ทําให้ เกิด Thermal Shock ที่ส่วนเฉพาะต่าง ๆ
ของเครื่ องกําเนิดไฟฟ้ามีน้อยที่สดุ วิธีการรับภาระในลักษณะนี ้ จะทําให้ อายุการใช้ งาน Winding ของ
เครื่ องกําเนิดไฟฟ้านานขึ ้น

10.1.7 Load Rejection and Runaway Speed

ลัก ษณะการทํ างานของเครื่ องกํ าเนิ ด ไฟฟ้าพลังนํ า้ ภายใต้ สภาวะ Load Rejection หรื อ
Runaway ถูกกําหนดด้ วยลักษณะสมบัติของ Hydraulic Turbine, The Governor
Setting และ Flywheel Effect ของการติดตัง้ ในการออกแบบเครื่ องกํ าเนิ ดไฟฟ้า
พลังนํ ้า ให้ คงทนต่อความเร็ ว Runaway ของกังหัน ต้ องคํานึงถึงระยะเวลาทํางาน
ของเครื่ อ งที่ อัต ราความเร็ ว มากกว่ า Normal Speed และควรหลี ก เลี่ ย ง ปกติ
สภาวะ Load Rejection Governor จะส่ ง คํ า สั่ ง ให้ ปิ ดประตู ทั น ที เพื่ อ รั ก ษา
ความเร็ วของเครื่ องกําเนิดไฟฟ้าให้ ตํ่ากว่า Full Runaway Speed หรื ออยู่ที่ Rated
Speed และในกรณี Governor หรื อ Guide Vanes เกิ ด ความผิ ด พลาด Intake
Gate จะถูกสัง่ ให้ ปิดเพื่อป้องกันความเสียหายของอุปกรณ์จาก Runaway Speed

10.1.8 การควบคุมและการป้องกันแบบอัตโนมัติ

9-18
การเดินเครื่ องและบํารุงรักษา 10

การควบคุมและการป้องกันอย่างอัตโนมัติ ขณะเครื่ องทํางานควรกําหนดค่า Limit ต่าง ๆ ให้


เหมาะสมกับเครื่ องกําเนิดไฟฟ้าพลังนํ ้านัน้ ถึงแม้ ว่าค่าอัตราต่าง ๆ ของเครื่ อง เช่น กําลังงานปรากฏ
ในหน่วยของกิโลโวลท์-แอมแปร์ แรงดันในหน่วยของโวลท์, อัตราหมุนในหน่วยรอบต่อนาที, เพาเวอร์
แฟคเตอร์ และลักษณะเฉพาะ อื่น ๆ จะมีค่ามาก แต่ความเสถียรภาพตามธรรมชาติในโครงสร้ าง
และการทํ า งานของเครื่ อ งกํ า เนิ ด ไฟฟ้ า จะส่ง ผลให้ ก ารควบคุม เครื่ อ งทัง้ แบบอัต โนมัติ แ ละแบบ
ระยะไกล เป็ นไปอย่างเหมาะสม
1) ในทุกสภาวะการทํ างานอุปกรณ์ ป้องกัน ที่ เหมาะสมสามารถป้องกันหรื อเกิ ด
อันตรายน้ อยที่สดุ โดยอุปกรณ์ เหล่านี ้จะส่งสัญญาณเตือนภัย หรื อหยุดการทํางานของเครื่ องกําเนิด
ไฟฟ้าทันที เมื่อการทํ างานของเครื่ องถึงขีดจํ ากัดที่กําหนด ในการกํ าหนดขีดจํากัดการป้องกันของ
เครื่ องกําเนิดไฟฟ้าเฉพาะแบบ ขึ ้นอยู่กบั องค์ประกอบที่มีความสําคัญต่อเครื่ อง คือ อายุ, ชนิด, และ
อัตรากําหนดซึง่ บ่อยครัง้ มีการออกแบบให้ เข้ ากันได้ ตามความเหมาะสม
2) อุปกรณ์ปอ้ งกันสําหรับ Stator Winding จะทําการแยกเครื่ องออกจากระบบ, ลด
การกระตุ้น และในบางกรณีจะหยุดการทํางานของเครื่ องตามลําดับของ Hydraulic Turbine เมื่อเกิด
สภาวะต่อไปนี ้
ก. เกิด Fault ในตัว Stator
ข. เกิด Fault ในตัว Rotor
3) อุปกรณ์ปอ้ งกัน Field Winding ทําหน้ าที่แยกเครื่องกําเนิดไฟฟ้าออกจากระบบ
หรื อส่งสัญญาณเตือน เมื่อเกิดสภาวะต่อไปนี ้
ก. เปิ ดวงจรใน Field Winding
ข. ลัดวงจรใน Field Winding
4) สําหรับสภาวะอื่น ๆ ที่อุปกรณ์ ทําหน้ าที่แยกเครื่ องกําเนิดไฟฟ้าออกจากระบบ
หรื อส่งเสียงสัญญาณเตือนดังกล่าวต่อไปนี ้
ก. เกิด Overcurrent ใน Stator หรื อ Field
ข. เกิด Overtemperature ใน Stator หรื อ Field
ค. เกิด Overvoltage ใน Generator Stator
ง. เกิด Overvoltage ใน Field
จ. ค่ากระแส Stator ไม่สมดุลเกินขีดจํากัด (Negative Sequence)
ฉ. ค่ากระแสไม่สมดุลเกินขีดจํากัดใน Stator ที่ขนาดกับวงจร
ช. ไฟไหม้
ซ. สูญเสีย Cooling Water สําหรับตัวหล่อเย็นอากาศหรื อตัวหล่อเย็นนํ ้ามัน
10-18
การเดินเครื่ องและบํารุงรักษา 10

หรื อตัวหล่อเย็นทังสอง

ฌ. Overtemperature ใน Bearing
ญ. Overtemperature ใน Cooling
ฎ. ระดับนํ ้ามันสูงเกินไปหรื อตํ่าเกินไป สําหรับ Bearing
ฏ. การสัน่ สะเทือนของเครื่ อง

10.1.9 การเดินเครื่ องกําเนิดไฟฟ้าแบบสูบนํ ้ากลับ (Operation of Generator-Motor)

เครื่ องกํ าเนิดไฟฟ้าสามารถทํางานเป็ น Motor ได้ เพราะโครงสร้ างแบบเดียวกัน แต่จะมี


ปั ญ หาช่วงเริ่ ม Start เครื่ องเท่านัน้ เนื่ องจาก Motor ตัวที่ ใหญ่ มาก ๆ ตัวหมุน(Rotor)ก็ใหญ่ และมี
นํา้ หนักมาก ดังนัน้ การป้อนไฟฟ้าที่มีความถี่สูงเข้ าไปทันทีทันใด Rotor จะหมุนหรื อทํารอบได้ ไม่
สัมพันธ์กบั ความถี่ของไฟฟ้าที่ปอ้ นอาจทําให้ เกิดความเสียหายกับ Motor และระบบไฟฟ้าได้
ดังนัน้ จึงต้ องอาศัยอุปกรณ์ ช่วยฉุด Motor ให้ ได้ รอบการหมุน ตาม Rated ก่ อนแล้ วค่อย
ขนานกับระบบไฟฟ้า
ในที่นีจ้ ะกล่าวถึงอุปกรณ์ ช่วยฉุดทางไฟฟ้า คือ ใช้ เครื่ องกํ าเนิดไฟฟ้าเครื่ องหนึ่งขนานกับ
เครื่ องกําเนิดไฟฟ้าที่ทํางานเป็ น Motor ตังแต่ ้ รอบเป็ น 0 โดยกระตุ้นสนามแม่เหล็กทัง้ 2 เครื่ อง แล้ ว
เริ่ ม Start เครื่ องกํ าเนิดไฟฟ้าตัวฉุด ความถี่ ของเครื่ องกํ าเนิดไฟฟ้าตัวฉุด ความถี่ ของเครื่ องกําเนิด
ไฟฟ้าก็จะเพิ่มสูงขึ ้นเรื่ อย ๆ เวลาเดียวกัน ความเร็ วรอบของ Motor ก็จะเพิ่มสูงไปเรื่ อย ๆ โดยสัมพันธ์
กับความถี่ของเครื่ องกําเนิดไฟฟ้าตัวที่ฉดุ จนรอบได้ ตามที่ต้องการแล้ วขนานกับระบบไฟฟ้า เมื่อขนาน
กับระบบไฟฟ้าแล้ วก็ปลดเครื่ องกําเนิดที่ฉดุ ออกไป
การเดินเครื่ องแบบสูบกลับก็ทํานองเดียวกัน เพียงแต่ว่าเครื่ องกําเนิดที่ทําหน้ าที่เป็ น Pump
ปกติแล้ วกังหันนํ ้าจะอยูต่ ํ่ากว่าปกติ ดังนัน้ กังหันนํ ้าจะแช่ในนํ ้า ดังนันช่
้ วง Start ครัง้ แรกจะต้ องใช้ ลม
ที่มีแรงดันลงไปดันนํ า้ ให้ ระดับตํ่ากว่ากังหันนํา้ เพื่อลดแรงต้ านขณะเริ่ ม Start เมื่อขนานเครื่ องเข้ า
ระบบไฟฟ้าแล้ วก็ระบายลมออกให้ ระดับนํ ้ามาท่วมกังหันนันแล้ ้ วทําการสูบนํ ้าตามขันตอนต่
้ อไป

รูปที่ 10-9 แสดงวงจรการเดิน Pump


11-18
การเดินเครื่ องและบํารุงรักษา 10

10.2 การบํารุ งรั กษา (Maintenance)

การบํารุ งรักษาเป็ นกิจกรรมหนึ่งที่สําคัญและต้ องกระทําอย่างต่อเนื่องสมํ่าเสมอ ซึ่งหาก


กระทํ าได้ อย่างถูก ต้ องตามวิธี ก ารแล้ ว จะหลี ก เลี่ย งงานซ่อมฉุก เฉิ น ได้ ม ากหรื ออย่า งน้ อยที่ สุด ก็
หลีกเลี่ยงมิให้ เกิดการชํารุดขัดข้ องใหญ่ ๆ ที่ต้องใช้ เวลาในการซ่อมนาน ๆ ซึง่ จะประหยัดค่าใช้ จ่ายทัง้
ปวง รวมทังเป็
้ นการสร้ างความน่าเชื่อถือ และความมัน่ คงของระบบการผลิตได้ ด้วย สาเหตุที่ต้องมีการ
บํารุ งรักษา เนื่องจากเครื่ องจักรทุกชนิดเมื่อใช้ งานย่อมเกิดการสึกหรอ เช่น การเสื่อมสภาพตามอายุ
สาเหตุจากสภาพสิ่งแวดล้ อม การสัน่ สะเทือน อุณหภูมิ ความดัน เป็ นต้ น ซึ่งทําให้ จําเป็ นต้ องมีการ
ตรวจสภาพ ทําความสะอาด เปลี่ยนชิ ้นส่วนและปรับแต่งเป็ นระยะ ๆ เสมอ เพื่อให้ อปุ กรณ์เครื่ องจักร
คงสภาพความพร้ อมใช้ งานและมีประสิทธิภาพสูงตลอดเวลาการทํางาน

10.2.1 งานบํารุงรักษาในโรงไฟฟ้าพลังนํ ้าแบ่งออกได้ ดังนี ้

1) งานที่ปฏิบตั ิเป็ นประจํา (Routine Maintenance) ได้ แก่ งานตรวจสอบประจําวัน


ประจําสัปดาห์ ประจําเดือน หรื อประจําปี เป็ นต้ น ซึ่งเป็ นการทําความสะอาดและตรวจสอบสภาพ
ภายนอกทัว่ ๆ ไปของอุปกรณ์ภายในโรงไฟฟ้า เช่น
ก. ตรวจหาการรั่วซึมของนํ ้า นํ ้ามันหรื อลม
ข. ตรวจสอบการยึดของ Bolt และ Screw ต่าง ๆ
ค. ตรวจสอบอุณหภูมิและระดับของนํ ้ามัน Sump Tank, Pressure Tank,
Generator & Turbine Bearing Oil Housing เป็ นต้ น
ง. ตรวจสอบการหล่อลื่นด้ วยจาระบีวา่ เพียงพอหรื อมีการรั่วไหลหรื อไม่
จ. ตรวจสอบการกระเทาะหรื อหลุดล่อนของสีตามอุปกรณ์
ฉ. ตรวจสอบกลิน่ เสียง หรื อการสัน่ สะเทือนผิดปกติหรือไม่
ทังนี
้ ้ เพื่อให้ ทราบถึงสภาพของอุปกรณ์ และตรวจพบความเสียหายแต่เนิ่น ๆ โดย
ควรแก้ ไขในทันที เป็ นการหยุดความเสียหายซึ่งอาจจะลุกลามจนเป็ นเหตุให้ ต้อง Shutdown เครื่ อง
เพื่อทํ าการซ่อมแซมแก้ ไข ซึ่งอาจต้ องใช้ เวลาเป็ นวันหรื อสัปดาห์ เป็ นการสูญ เสียกํ าลังผลิตโดยไม่
สมควร ดังนัน้ จึงถื อว่า งาน Routine Maintenance เป็ นงานที่มีความสําคัญ มากเพราะจะช่วยเพิ่ม
ความเชื่อถือได้ ของเครื่ อง (Reliability) และความพร้ อมของเครื่ อง (Availability) ให้ สงู ขึ ้นเป็ นการเพิ่ม
ความมัน่ คงให้ แก่ระบบการผลิตกระแสไฟฟ้า
โดยการตรวจสอบทัง้ หมดอาจเป็ นการเดินตรวจสอบด้ วยตาเปล่า การใช้ อุปกรณ์
เครื่ อ งมื อ ขึน้ อยู่กับ ลัก ษณะของอุป กรณ์ แ ต่ล ะชนิ ด รวมทัง้ อาจต้ องใช้ แ บบฟอร์ ม การตรวจสอบ

12-18
การเดินเครื่ องและบํารุงรักษา 10

(Inspection Sheet) เพื่อบันทึกข้ อมูลไว้ เปรี ยบเทียบความผิดปรกติของค่าต่าง ๆ ที่วดั ได้ อีกด้ วย ดัง
ตัวอย่างแบบฟอร์ มต่าง ๆ ตามเอกสารแนบ

รูปที่ 10-10 การบํารุงรักษาแบบ Routine

13-18
การเดินเครื่ องและบํารุงรักษา 10

2) งานตรวจซ่อมวาระ (Schedule Maintenance) หรื องานตรวจซ่อมตามแผนที่


กํ าหนดไว้ ล่วงหน้ า ตามปกติแผนการตรวจซ่อมของโรงไฟฟ้าพลังนํ า้ จะมีการวางแผนล่วงหน้ าว่า
ภายในปี นั น้ จะมี ง านตรวจซ่ อ มประจํ า ปี (Yearly Inspection) หรื อ งานตรวจซ่ อ มใหญ่ (Major
Overhaul) โรงไฟฟ้าใดบ้ างและหน่วยที่เท่าไรมีระยะเวลาการปฏิบตั ิงานนานเท่าไร ใช้ กําลังคนในการ
ซ่อมบํารุ งเท่าไร เพื่ อเป็ นการเฉลี่ยงานบํารุ งรักษาให้ กระจายตลอดทัง้ ปี และเหมาะสมกับจํานวน
ผู้ปฏิบตั ิงานซ่อมบํารุ งที่มีอยู่ รวมทัง้ ขึ ้นกับสภาพของเครื่ องผลิตกระแสไฟฟ้าแต่ละหน่วยในแต่ละ
โรงไฟฟ้าด้ วย ซึง่ งานตรวจซ่อมตามวาระ แบ่งออกได้ เป็ น 2 ประเภท คือ
ก. งานตรวจซ่อมประจําปี (Yearly Inspection) เป็ นงานตรวจสอบสภาพของ
เครื่ องกังหันและอุปกรณ์ ประจําปี เพื่อเป็ นข้ อมูลในการวิเคราะห์สภาพของเครื่ องกังหันและอุปกรณ์
ซึ่งเป็ นประโยชน์ ในการวางแผนการตรวจซ่อมในปี ต่อ ๆ ไปว่า ควรทําการตรวจซ่อมเมื่อไร งานส่วน
ใหญ่ ที่กระทําเป็ นการตรวจสอบ Clearance ระหว่างส่วนที่เคลื่อนที่กับส่วนที่ อยู่กับที่ว่ามีค่าอยู่ใน
เกณฑ์ที่กําหนดหรื อไม่ โดยบางครัง้ เราอาจสังเกตได้ จากค่าอุณหภูมิว่าอยู่ ในช่วงปกติหรื อไม่ และทํา
การทดสอบอุปกรณ์ ภ ายในโรงจักรว่าทํ างานได้ ตามข้ อกํ าหนดของอุปกรณ์ นัน้ ๆ หรื อไม่ เช่น Air
Compressor, Drainage Pump, Lubrication Oil Pump เป็ นต้ น ในที่ นี จ้ ะกล่ า วเน้ นเฉพาะการ
ตรวจสอบเครื่ องกังหันชิ ้นส่วนที่ทําการตรวจสอบมีดงั นี ้
1. ตรวจสภาพของ Inlet Valve
2. ตรวจสภาพของ Guide Vanes และ Clearance ต่าง ๆ
3. ตรวจสภาพทัว่ ๆ ไปของ Spiral Case, Stay Ring, Discharge
Ring และ Bottom Ring
4. ตรวจสภาพของ Draft Tube และ Air Admission Pipe
5. ตรวจสภาพของ Runner และ Clearance ต่าง ๆ
6. ตรวจสอบระบบ Cooling Water ของ Main Shaft Seal
7. ตรวจสอบระบบ Cooling Water ของ Turbine Guide Bearing
8. ทํา Purification ระบบนํ ้ามันหล่อลืน่
นอกจากนี ้ในกรณีที่เป็ นกังหันแบบ Pelton ชิ ้นส่วนที่ต้องทําการตรวจซ่อมเพิ่มมีดงั นี ้
9. ตรวจสภาพทัว่ ไปของ Casing, Bearing Cover, Pit Liner
10. ตรวจสภาพของ Needle และ Deflector Regulating Mech.
11. ตรวจสภาพของ Nozzle, Needle และ Deflector

14-18
การเดินเครื่ องและบํารุงรักษา 10

รูปที่ 10-11 การตรวจซ่อมประจําปี

15-18
การเดินเครื่ องและบํารุงรักษา 10

ข. งานตรวจซ่อมใหญ่ (Major Overhaul) เป็ นงานถอดประกอบชิ ้นส่วนหลัก


ของเครื่ องผลิตกระแสไฟฟ้า (Turbine-Generator) เพื่อตรวจสภาพและทําการซ่อมแซมแก้ ไขให้ อยู่ใน
สภาพดี โดยอาศัยข้ อมูลจากงาน Routine Maintenance และงาน Yearly Inspection มาใช้ ในการ
กําหนดระยะเวลาที่จะทํา Major Overhaul สําหรับช่วงเวลาที่เหมาะสมในการทํา Major Overhaul
ปั จจุบนั ทางบริ ษัทผู้ผลิตแนะนําว่าควรจะทําทุก 8 ปี โดยควรทํา Warranty Inspection ภายหลังการ
เดินเครื่ องมาแล้ ว 2 ปี หลังจากติดตังเครื
้ ่ องผลิตไฟฟ้าแล้ วเสร็ จ และทุก ๆ 2 ปี ต่อจากนันให้
้ ทําการ
Yearly Inspection ในการปฏิบตั ิงาน Major Overhaul ก่อนที่จะเริ่ มงานต้ องมีการทดสอบสมรรถนะ
ของอุปกรณ์ต่าง ๆ เพื่อเป็ นข้ อมูลเปรี ยบเทียบระหว่างก่อนและหลังการทํา Major Overhaul เช่น การ
ทํา Bearing Run Test, Load Test, Load Rejection Test, ทดสอบสมรรถนะของ Air Compressor,
Oil Pump, Drainage Pump, Grease Pump เป็ นต้ น การปฏิบัติงาน Overhaul จํ าเป็ นต้ องถอดยก
Rotor หรื อ Stator ขึ ้นอยูก่ บั ความยากง่ายของแต่ละโรงไฟฟ้า จากนันจึ
้ งทําการตรวจสอบ Stator coil,
Rotor Pole Coil, Bearing, ชิ ้นส่วนฉนวนไฟฟ้า รวมทังการเชื
้ ่อมต่อของต่าง ๆ ซึ่งในการซ่อมปกติไม่
สามารถเข้ าตรวจสอบได้ อีกทังการปรั ้ บ Center ของ Main Shaft และ Clearance ของ Bearing ด้ วย
เป็ นต้ น ส่วนการตรวจซ่อมในด้ าน Turbine ไม่แตกต่างไปจากการตรวจซ่อมปกติมากนัก

รูปที่ 10-12 การตรวจซ่อมใหญ่

16-18
การเดินเครื่ องและบํารุงรักษา 10

3) งานตรวจซ่อมฉุกเฉิน (Emergency Maintenance) เป็ นงานซ่อมแซมเครื่ องผลิต


กระแสไฟฟ้ า ซึ่งจํ า เป็ น ต้ อ ง Shutdown เนื่ อ งจากมี เหตุขัด ข้ อ งหรื อสิ่งผิ ด ปกติเกิ ด ขึน้ โดยไม่มี ก าร
วางแผนไว้ ล่วงหน้ า เป็ นการสูญเสียเวลาของเครื่ องโดยเปล่าประโยชน์ บางครัง้ สร้ างความเสียหาย
ให้ แก่ทรัพย์สนิ ขององค์กรอย่างมากมาย และขาดความเชื่อมัน่ ในระบบการผลิตกระแสไฟฟ้า

10.2.2 การจัดการด้ านพัสดุ-อะไหล่


เนื่องจากในการบํารุ งรักษา จะต้ องเกี่ยวข้ องกับชิ ้นส่วนอะไหล่และวัสดุอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้
จึงต้ องมีการจัดเก็บสํารองชิ ้นส่วนอะไหล่และวัสดุเพื่อกรณี ฉุกเฉิน หรื อกล่าวอีกนัยหนึ่ง คือ เพื่อลด
เวลาหยุดเครื่ องให้ สนลง ั ้ (Shorten Down time) แต่จากการที่ต้องสํารองชิ ้นส่วนอะไหล่และวัสดุ ทําให้
ต้ องมีคา่ ใช้ จ่ายทังต้
้ นทุน ค่าดอกเบี ้ย ค่าสถานที่ ตลอดจนเจ้ าหน้ าที่ที่ต้องควบคุมดูแล เป็ นต้ น ดังนัน้
การจัดการจึงต้ องมีความพอดี คือประหยัดที่สดุ แต่ในขณะเดียวกันก็ต้องไม่ส่งผลเสียหายแก่ระบบ
การผลิต การควบคุมพัสดุคงคลัง (Inventory Control) โดยเลือกเวลาที่จะสัง่ ซื ้อ และจํานวนที่จะสัง่ ซื ้อ
แต่ละครั ง้ ควรพิ จารณาความต้ องการต่าง ๆ ในภายหน้ า ความไม่แน่ น อนในการคาดคะเนราคา
ตลอดจนค่าใช้ จ่ายในการสัง่ ซื ้อด้ วย เนื่องจากการสัง่ ซื ้อในปริ มาณที่น้อยแต่ซื ้อบ่อย ๆ จะเป็ นการเพิ่ม
งานเตรี ยมใบสัง่ และงานรับของ การเก็บพัสดุคงคลังไว้ น้อยไปอาจต้ องเสี่ยงกับการที่ของขาดมือทําให้
งานต้ องล่าช้ า และถ้ าเก็บไว้ มากไปแม้ งานจะดําเนินไปอย่างคล่องตัวแต่คา่ ลงทุนก็ต้องสูง แผนสํารอง
ชิน้ ส่วนอะไหล่จึงกลายเป็ นส่วนสําคัญ ยิ่งในงานซ่อมบํารุ งหากไม่มีชิน้ ส่วนอะไหล่สํารองในยามที่
ต้ องการจะเป็ นผลเสียหายแก่ กฟผ. หากมีชิน้ ส่วนอะไหล่เก็บไว้ มากเกินไป ก็จะต้ องแบกภาระเงิน
ลงทุนที่ไม่หมุนเวียน และค่าใช้ จา่ ยในการเก็บรักษา
การกําหนดว่าชิน้ ส่วนใดควรเก็บคงคลังไว้ และชิ ้นส่วนใดไม่จําเป็ นต้ องเก็บคงคลัง ซึ่ง
จุดประสงค์ของการเก็บคงคลังก็เพื่อลดการเสียเวลาในการหยุดเครื่ องจักรรอชิ ้นส่วนอะไหล่ ปกติแล้ ว
จะพิจารณาเก็บคงคลังเฉพาะชิ ้นส่วนอะไหล่ของเครื่ องจักรที่สําคัญ ๆ และวิกฤต ชิ ้นส่วนซึ่งต้ องใช้
เวลาในการจัดหาและชิ ้นส่วนที่ต้องใช้ เปลี่ยนอย่างแน่นอน การไม่เก็บคงคลังทําได้ ในบางกรณีและกับ
เครื่ องจักรบางชนิดเท่านัน้ คือ เมื่อเครื่ องจักรชํารุ ดจะติดต่อให้ ผ้ ผู ลิตหรื อตัวแทนจําหน่ายนําชิ ้นส่วน
มาเปลี่ยนและในบางกรณีก็ให้ ซ่อมแซมให้ ด้วยเลย การซ่อมแซมชิ ้นส่วนที่ชํารุ ดให้ กลับมีสภาพใช้ ได้
อีกส่วนหนึ่ง อาจรวมถึงการจัดทําเองเพื่อเก็บไว้ สํารองใช้ และการซ่อมแซมชิ ้นส่วนเดิมที่ถอดออกมา
เพื่อเก็บสํารองไว้ เพื่อให้ มนั่ ใจว่าชิ ้นส่วนไม่ขาดแคลน แต่อาจต้ องเสี่ยงกับของเหลือใช้ หรื อของล้ าสมัย
จํานวนมากเช่นกัน หากเราสามารถสัง่ ซื ้อหรื อดัดแปลงเครื่ องจักรอุปกรณ์ ให้ เป็ นมาตรฐานเดียวกัน
และวางแผนการใช้ ให้ สามารถเปลี่ยนชิ ้นส่วนกันหรื อสามารถทําหน้ าที่แทนกันได้ ก็จะทําให้ คา่ ใช้ จ่าย
ในการจัดหาชิ ้นส่วนอะไหล่ลดลง

17-18
การเดินเครื่ องและบํารุงรักษา 10

ซึ่งทัง้ หมดนี พ้ อสรุ ป ได้ ว่า เครื่ อ งจัก รอุป กรณ์ ที่ ได้ รับ การบํ า รุ งรั ก ษาอย่ า งเหมาะสม
นอกจากจะช่วยให้ หน่วยงานสามารถประหยัดค่าใช้ จา่ ยด้ านการผลิตและบํารุงรักษาลงได้ แล้ ว ยังช่วย
ให้ ระบบผลิตมีความเชื่อถือได้ (Reliability) เครื่ องจักรอุปกรณ์อยูใ่ นสภาพที่พร้ อมใช้ งานได้ ตลอดเวลา
(Availability) จํ า นวนการหยุด เครื่ อ งแบบฉุก เฉิ น (Forced Outage) และการหยุ ด เครื่ อ งเพื่ อ การ
บํารุ งรักษา (Maintenance Outage) ลดลง อัตราการชํารุ ดเสียหายของชิ ้นส่วนอุปกรณ์ การสูญเสีย
โอกาสในการใช้ ชิ ้นส่วนให้ เกิดประโยชน์สงู สุดลดลง (เนื่องจากบางครัง้ มีการเปลี่ยนชิ ้นส่วนก่อนเวลาที่
จะชํารุดเสียหาย) และการสูญเสียโอกาสในการเดินเครื่ องลดลง ค่าใช้ จ่ายด้ านแรงงานและค่าชิ ้นส่วน
อะไหล่ลดลง ซึง่ ในภาพรวมแล้ วย่อมส่งผลให้ ต้นทุนการผลิตด้ านบํารุ งรักษาลดลง หรื อในทางกลับกัน
หน่วยงานมีกําไรเพิ่มขึ ้นนัน่ เอง

18-18

You might also like