You are on page 1of 39

ทอในระบบปรับอากาศ มีอยูด วยกัน 2 อยาง คือ

1. ทอที่ใชสําหรับระบบน้ําเย็นหรือน้ํารอนเคลื่อนผาน
2. ทอที่ใชสําหรับระบบน้ํายาเคลื่อนผาน
Piping System ปกติแลวทอที่ใชสําหรับระบบน้ําเย็นหรือน้ํารอนเคลื่อนผาน จะใชทอ
เหล็กกลา หรือทอเหล็กเหนียว ก็ได ทั้งทอเหล็กกลาและทอเหล็กเหนียว ยังแบง
ออกเปนทอแบบ black และ galvanized
สํ า หรั บ ท อ ที่ ใช น้ํ า ยาเคลื่ อ นผ า น ปกติ ใช ท อ ทองแดง ซึ่ ง ยั ง แบ งย อ ย
Air Conditioning 615431 ออกเปนทอทองแดงแบบออน ทอทองแดงแบบแข็ง สําหรับทอทองแดงแบบแข็ง
Mr. Thibordin Sangsawang M.Eng.
M.Eng. Thermal Technology ยังแบงออกเปนชนิดตางๆ คือ ชนิด L ชนิด M และชนิด K
Department of Mechanical Engineering
Faculty of Engineering and Industrial Technology นอกจากทอที่กลาวมาแลว ก็ยังมีทอระบายน้ําทิ้ง ซึ่งปกติใชทอ พีวีซี
Silpakorn University และทอเหล็ก

ตาราง 13.1 เปนตารางแนะนําวัสดุทําทอสําหรับงานตางๆ


การออกแบบทอน้ํา
ตาราง 13.2 คุณสมบัติทางกายภาพของทอเหล็ก
ระบบทอน้ําสามารถแบงออกไดเปน 2 ชนิด ตามลักษณะการ
ตาราง 13.3 คุณสมบัติทางกายภาพของทอทองแดง
เคลื่อนของน้ําในทอ คือ
ตาราง 13.4 ระยะหางตัวยึดทอ schedule 40 สําหรับน้ํา
1. ทอน้ําที่น้ําไหลผานไปครั้งเดียวไมไดนํายอนกลับมาใชอีก
ตาราง 13.5 ระยะหางตัวยึดทอทองแดง
(One thru type, ระบบเปด)
รูป 13.2 – 13.16 ลักษณะของวาลวตางๆ ที่มีการใชงาน
2. ท อ น้ํ า ที่ มี ก ารนํ า น้ํ า ที่ ผ า นไปแล ว เวี ย นกลั บ มาใช อี ก
ตาราง 13.6 วาลวที่เหมาะกับงานตางๆ (Recirculating type, ระบบปด)
ตาราง 13.7 loss ของวาลวตางๆ หนวยเปน ft
ตาราง 13.8 loss ของของอ และ joint ตางๆ
ตาราง 13.9 loss ของตัวลดและตัวเพิ่ม
hld
Vd2
2g
wl
Typical Open - loop Condenser Water System
H Had
ถังเก็บน้ําปลายทาง
Ha

Has
wl
ถังกักน้ํารอดูด h ls

เครื่องสูบน้ําติดตั้งเหนือระดับน้ําที่ตองดูดขึ้น
H = Has + H ad + h is + h id + V d 2/2g
เมื่อ Has = หัวความดันดูดขึ้น , m
Had = หัวความดันดานออก , m
h is =
h id =
การสูญเสียหัวความดันในทอดูด , m
การสูญเสียหัวความดันในทอสง , m Once thru แบบเป ด ภายในระบบจะต อ งมี ส ว นใดส ว นหนึ่ ง ถู ก ปล อ ยสู
Vd 2/2g = หัวความเร็วเหลือที่ปลายทาง , m
Vd = ความเร็วของการไหลที่ทางออก , m/s บรรยากาศ
g = คาอัตราเรงของโลก ใชคา 9.8 m/s

Recirculating /Open and สําหรับระบบทอน้ําเปด เปนระบบซึ่งน้ําจะไหลไปรวมกันอยูที่แหลง


closed system เก็บน้ํา ซึ่งเปดสูบรรยากาศ อยางเชน คูลลิ่งทาวเวอร
สวนระบบทอน้ําปด เปนระบบซึ่งไมมีสวนไหนของระบบการสงน้ํา
เปดสูบรรยากาศ ในระบบทอน้ําที่มีการหมุนเวียนน้ําที่ผานไปแลวกลับมา
ใชอีก สามารถแบงยอยออกไดตามการจัดน้ํากลับ โดยเมื่อมีการนําน้ํา
กลับของ Units ตั้งแต 2 Units ขึ้นไป สามารถจัดน้ํากลับได จากวิธี
ใดวิธีหนึ่ง ดังนี้
1. Direct return piping (∆P พอๆ กันในแตละ unit ใชในระบบเปด)
2. Reverse return piping (∆P พอๆ กันในแตละ unit)

Chilled water system


3. Reverse return header with direct return risers
Condenser water system
Direct Return Piping
Direct return piping
Direct Return Pipe เหมาะสําหรับระบบที่มีแตละ SUPPLY

Units มี Pressure Drop ตางกัน ใชกันมากในระบบทอน้ําเปด สวน RETURN

ในระบบท อ น้ํ า ป ด มี ใ ช บ า งเหมื อ นกั น ระบบนี้ จํ า เป น ต อ งใช Balancing UNIT UNIT

Valve เพื่อปรับอัตราการไหลของน้ําใหไดตามตองการ ระบบนี้มีขอดีตรงที่วา UNIT UNIT


First Cost ต่ําแต Engineering Cost สูง และ
Balancing Time สูง UNIT UNIT

เปนระบบทอน้ําที่เครื่องใกลกับแหลงจายน้ําจะไดรับน้ํามากกวาเครื่องทีอ่ ยูไ กล UNITS PIPED VERTICALLY

เนื่องจากทอสงน้ําจะสงถึงเครื่องใกลกอน และทอสงน้ํากลับก็จะนําน้ํากลับจาก
UNIT UNIT UNIT UNIT UNIT UNIT
เครื่องใกลกอ น เชนกัน ทําใหอตั ราไหลของน้ําผานเครื่องใกลมีแนวโนมที่จะ
มากกวาเครือ่ งที่อยูไ กล SUPPLY
RETURN

เหมาะสําหรับระบบขนาดใหญ UNITS PIPED HORIZONTALLY

FIG.23 - DIRECT RETURN WATER PIPING SYSTEM

Reverse Return Piping Reverse return piping


Reverse Return Pipe เปนระบบนําน้ํากลับที่เหมาะ
สําหรับระบบที่แตละ Units มี Pressure Drop เทากันหรือ UNIT UNIT
เกือบจะเทากัน ใชเฉพาะในระบบทอน้ําปด ไมใชกับระบบทอน้ําเปด ในระบบ
Reverse Return Pipe นี้ จะสังเกตุเห็นวาความยาวของทอน้ํา UNIT UNIT

ตั้งแตเริ่มสงจนกระทั่งกลับมาที่เดิมของทุก ๆ Units จะมีคาใกลเคียงกัน UNIT UNIT

จึงไมจําเปนตองใช Balancing Valve ในการสมดุลยน้ําในแตละทอ RETURN


SUPPLY
แนะนําใหใชกับระบบ closed system เพราะในระบบ open UNITS PIPED VERTICALLY

system ใชไมคอยไดผลในเรื่องของการชวยปรับสมดุลยการไหล น้ําจะ


UNIT UNIT UNIT UNIT UNIT UNIT
ไหลผานทอทั้ง supply & return ดวยระยะทางที่เทากัน ทําให
SUPPLY
ไมตองปรับสมดุลการไหล (balance) ระบบบอย
RETURN
UNITS PIPED HORIZONTALLY

FIG.21 - REVERSE RETURN PIPING


Reverse Return Header With Direct Reverse return header w/ direct
Return Risers return pipe risers
RETURN
Reverse Return Header With Direct Return Risers เปนระบบซึ่ง SUPPLY
Reverse Return เฉพาะ Header สวน Risers กลับโดยตรง ดังนั้นอัตรา
การไหลของทุกๆ Units ชวง Direct Return Riser จะไมเทากัน ซึ่งอาจ UNIT UNIT
จําเปนจะตองใช Balancing Valve ในชวงนี้

UNIT UNIT
™ Flowในแตละunit จะไมเทากันขึ้นอยูกบั PD ระหวาง supply & return
riser
™ PD ของทอที่แยกออกจาก supply & return riser UNIT UNIT
™ PD ของunit
™ PD ของ valves และ fittings FIG.22 - REVERSE RETURN HEDDERS WITH DIRECT
RETURN RISERS

Drawing of Chiller Plant of


A/C System
CONDENSER

ATC-04 CH-04 COOLER


CT-01 CT-02 CT-03 CT-04 CT-05 CT-06 CDP-04 PCHP-04
CONDENSER
PCHP-03 SCHP-03
CDP-03
ATC-03 CH-03 COOLER
SCHP-02
CDP-02 PCHP-02
CONDENSER
SCHP-01
CDP-01 ATC-02 CH-02 COOLER PCHP-01

CONDENSER

ATC-01 CH-01 COOLER BY-PASS CHEMICAL FEEDER

?2 1/2"MW.
?8"EQUALIZER

COOLING TOWER HEADER RETURN?20" HEADER SUPPLY? 20" CHILLER PLANT

แบบปด ภายในระบบจะตองไมมีสวนใดสวนหนึ่งปลอยสูบ รรยากาศเลย


Chilled Water System Condenser water System

Type of chilled water flow

การแยกประเภทระบบทอน้ําดวยการควบคุมอัตราไหล(Flow
System)
1. Constant flow chilled water piping
2. Variable flow chilled water piping
– Variable Primary
– Constant Primary Variable
secondary
Flow balance Pipe sectionbalance
Constant flow head loss
A 10 ft B 10 ft C 10 ft D 10 ft E
Balance
Flow balance #1=40 ft #2=20 ft #3=20 ft #4=20 ft #5=20 ft

10 ft head 10 ft 10 ft 10 ft 10 ft
loss ( J-A ) J I H G F
ทําใหแรงดันตกครอมตั้งแตdischarge ของpump ผานแตละ terminals จนกลับมาถึง
Constant flow Variable flow suction ของpump เทากันทั้งหมด

Direct return Reverse return Direct return Reverse return

Constant flow ใชควบคูก ับ 3-way mixing valve Variable flow balance


การ balanceน้ํา ดวยการทําใหแรงดันตกครอมตั้งแต discharge ของpump ผานแตละ
terminals จนกลับมาถึง suction ของ pump เทากันทัง้ หมดทุกๆ loop ขอว
terminals
ปญหาคือตองเพิ่ม pd ที่ balancing valve ที่ AHU ใกล pump มาก ซึง่ สูญเสีย
พลังงานไปทีแ่ รงเสียดทานมากไมประหยัดพลังงานแตก็พอใชไดกับระบบทอน้ําทีม่ ี pd ตกครอมในแต
ละ loops ตางกันไมมากรวมถึง Friction Head ในระบบทัง้ หมดไมมากนัก(ทอน้ําไมไกล Drive
Pipe section head loss
นัก) A 10 ft B 10 ft C 10 ft D 10 ft E
Pump
at 20 ft 20 ft 20 ft 20 ft 20 ft
Balance
110 ft #1=40 ft #2=20 ft #3=20 ft #4=20 ft #5=20 ft DP

10 ft head 10 ft 10 ft 10 ft 10 ft
loss ( J-A ) J I H G F
ทําใหแรงดันตกครอมแตละ terminals (ตั้งแตทอแยกออกจากทอเมน) เทากันทั้งหมด
Variable Flow with 2-Way valve Variable flow with Reverse return piping
สามารถชวยประหยัดพลังงานได เนื่องจากการลดอัตราไหลและแรงเสียดทานที
สูญเสียที่ Balancing valves แตกม็ ีปญหาเรื่องของการทํางานของ 2-
way valve ตัวทีอ่ ยูใกลกับ Pumps มาก จะตองสราง pd ที่ตกครอม
ตัวมันเองมาก ถาตองการลด Flow ทําใหตัวValve เองมีปญหาและก็ไม Pipe section head loss
สามารถควบคุมน้ําไดตามตองการ ผลคือขจัดปญหาของ constant Flow
A 10 ft B 10 ft C 10 ft D 10 ft E
ขางตนดวยการใช variable volume pumping ใหสังเกตการณปรับ Pump
pd ที่ balancing valve เมื่อเทียบกับ constant flow at 0 ft 20 ft 20 ft 20 ft 20 ft
Balance
แตการ balance ก็ยังทําไดไมงายนัก ประกอบกับยังมี pd ตกครอม 130 ft #1=40 ft #2=20 ft #3=20 ft #4=20 ft #5=20 ft
control valve ตัวแรกอยูมากหากมันเริ่มปดเพื่อลดอัตราไหล แต DP 10 ft head 10 ft 10 ft 10 ft 10 ft
sensors ยังไมสงั่ หรี่รอบของ pump (เครือ่ งปลายๆยังตองการน้ํามาก loss ( J-A ) J I H G F
อยู) ในรายละเอียดตองศึกษาเรื่องที่เกีย่ วกับ variable speed pump 50 ft. loss (F-A)
ที่เกีย่ วของกับ control valves และการประหยัดพลังงาน

Reverse return variable flow Piping จะชวยใหการ


ความเร็วที่เหมาะสมในทอ
balance ดีขึ้น
Variable volume pumping กับทอ reverse return ชวย
แกปญหาเรื่องการ balance น้ํา ,ลดปญหา pd ตกครอม control
valveมากเกินไป ทั้งชวยในการประหยัดพลังงาน
หลักการที่ไดคือ pd ใน loop ที่ผานเครื่องแตละเครื่องจะเทากันหมด (130 ft)
การปรับ Balancing valves แตละตัวเพื่อทําให pd ที่ผาน terminal
เทากัน หรือทําให pd ในแตละ loop เทากัน
แตจะเห็นวา pump head จะสูงกวาแบบ direct return pipe
รวมถึงการใชทอน้ํายาวขึ้น เปนการเพิ่มตนทุน
การเลือกใชใหเหมาะสมยังตองพิจารณาอยางอื่นประกอบอีกหลายอยาง เชนสัดสวน
ของ Variable head เทียบกับ Total Head มากพอที่จะคุมกับการ
ประหยัดพลังงานหรือไม ซึ่งตองศึกษาจากเรื่องประโยชนของVariable
speed pump
SCHEDULE 40 BS PIPE CLOSED SYSTEM ไมควรเลือก water velocity เกินกวา 15 ft/sec และ
friction loss เกินกวา 10 ft per 100 ft
หมายเหตุ
การกําหนดคาความเร็วสูงทีส่ ุดของน้ําในทอขึ้นกับจํานวนชั่วโมงในการ
operate ตอป ซึ่งนํามากําหนดดวยการพิจารณาถึงอายุการใชงาน
1. ใชน้ําเย็นประมาณ 2.4
GPM ตอ 1 ตันความเย็น ของสวนประกอบทั้งหมด
2. 1 Gallon = 3.7 liter
3. ทอที่มีขนาดเกิน 3.5 นิ้ว จะ
ผลิตตามจํานวนที่สั่ง
4. ขนาดของ chiller
ประมาณ ตันละ 3 GPM

SCHEDULE 40 BS PIPE OPEN SYSTEM ไมควรเลือก water velocity เกินกวา 15 ft/sec และ
friction loss เกินกวา 10 ft.per 100 ft
ในระบบเปดไมควรทําให total PD ใน system มากกวาความดันของ
หมายเหตุ น้ําที่จายให
เหมาะสําหรับ cooling ในระบบปด การลด PD จะตองขยายขนาดทอน้าํ ซึ่งจะทําใหตน ทุนสูง
tower โดยใชตันละ 3 ความคุมทุนอยูทกี่ ารใชคา friction ไมเกิน 10 ft/100ft
GPM การลดคา friction ในทอใหญจะสิน้ เปลืองตนทุนการติดตั้งมากกวาการ
ลด friction ในทอเล็ก
เปนการประหยัดถาจะยอมใหทอขนาดใหญๆ มีการไหลหรือความเร็วของน้ํา
มากขึ้นและขยายทอขนาดเล็กๆเพื่อให PD นอย
การใชทอน้ําขนาดเล็กๆแตยาวไมมาก จะไมทําให PD สูงเกินไป
การวัดคาความยาวของทอ
COPPER TUBING
TYPE K, L, M FOR
CLOSED AND
OPEN WATER
SYSTEM ไมควรเลือก
water velocity เกินกวา
15 ft/sec และ
friction loss เกินกวา
10 ft.per 100 ft
จะตองคํานวณหาความยาวทอ
น้ํารวมกับ equivalent
length ของ fittings
&equipments

Pump Head

1. Static Head
System friction loss
2. Dynamic Head (Friction Head)
=Dynamic Head

หนวยของความเสียดทาน
1. ความยาวของทอน้ํา มีหนวยเปนฟุต
2. ความดัน,ความดันสูญเสีย,ความฝด, Head ก็มหี นวยเปนฟุตเชนกันและคน
ละความหมาย
3. การสูญเสียความดันของทอน้ําคิดตอทอน้ํายาว 100 ฟุต
4. การสูญเสียความดันของ valves, fittings เปนความยาวเทียบเทากับ
ทอน้ํา (ความฝดที่น้ําไหลผาน valves เทากับความฝดที่น้ําไหลในทอที่มี
ขนาดเทากับ valve ยาวเทาไร)เรียกวา Equivalent length
5. นําความยาวของทอน้าํ รวมกับความยาวเทียบเทาของ valves,
fittings (มีหนวยตามขอ1) นํามาคํานวณหา total friction
(มีหนวยตามขอ2)
Dynamic Head=
Pressure Drop vs. Head Pressure Drop = Equivalent length
∆P (Ft. Head)

∆P (Ft. Head)
∆P (Ft. Head)

100 Ft. Length

Pressure Drop = ความดันที่ลดลงเพราะความฝด(Ft.Head) ตอ ทอยาว 100 ฟุต


? Ft. Length
(Equivalent length)

Valves losses
Fitting losses
Diversity
Pipe friction
1. ชนิดและผิวของทอน้ํา
2. ความเร็วของน้ําที่ไหลในทอน้ํา
3. เสนผาศูนยกลางทอน้ํา
4. ความยาวของทอน้ํา
Darcy-Weisbach formula
Water Piping Diversity
ปกติการคิดคาความรอนของแตละดานของอาคาร มักคิดคาในขณะทีเ่ กิด
Peak load แตเพราะเหตุวาคาความรอนจากดวงอาทิตยที่มีตอดานอาคารแต
ละดานจะมากที่สุด ณ เวลาใดเวลาหนึ่งเทานั้น ดังนั้นทุก units ในแตละดาน
ของอาคารจึงไมจําเปนที่ตองการ water flow เต็มที่ในเวลาพรอมๆ กัน มี
เพียง units ที่อยูในดานใดดานหนึ่งเทานั้นที่ตองการ water flow เต็มที่
ดังนั้นถาแตละ units สามารถปรับปริมาณน้ําที่ตองการขณะเกิด peak
load การใชหลักการดังกลาวขางตน (Diversity) จะชวยลดปริมาณน้ํา
สง ลดขนาดทอและลดขนาดปมลงได แตการใชหลักการนี้ไดตองมีเงื่อนไข 2
อยาง คือ 1. แตละ units จะตองสามารถปรับปริมาณน้ําไดเองโดยอัตโนมัติ
2. ตองมี units ตางๆติดตั้งอยูมากกวาหนึ่งดานของอาคาร
นอกจากนี้แลว Diversity จะใชกับ units ซึ่งอยูที่ดานของอาคารชวง
สุดทายของการสงน้ําไมได

กําหนดแนวเดินทอน้ําดังรูป ใหหา Diversity factor to be applied


to the water quantity และ water quantities in header ใหปม A สงน้ําไปให units ตางๆที่อยูทางทิศเหนือและทิศตะวันตกของ
sections อาคาร แตจากหลักการผานมาจะพบวา diversity จะใชกับ units ตางๆซึ่งอยู
ทางด า นอาคารช วงสุ ด ท า ยของการส ง น้ํา ไมไ ด ดั ง นั้น ในกรณีนี้ diversity จะ
ใชไดเฉพาะกับ units ตางๆที่อยูทางทิศเหนือของอาคารเทานั้น จากรูปจะพบวา
gpm รวมของปม A มีคาเทากับ 280 gpm และ gpm สะสมของ units
ตางๆที่อยูทางทิศเหนือของอาคารมีคาเทากับ 160 gpm ดังนั้น

gpm สะสม 160


= = 0.57
gpm รวม 280
จากแผนภูมิ Diversity จะไดมีคาเทากับ 0.785
สําหรับปม B diversity จะใชไดเฉพาะกับ units ตางๆที่อยูทางทิศ
ตะวันออกของอาคารเทานั้น สวน units ที่อยูทางทิศใตของอาคาร ไมสามารถใช
diversity ได ดังนั้น

gpm สะสม 120


= = 0.43
0.785
gpm รวม 280
0.725
จากแผนภูมิ Diversity จะไดมีคาเทากับ 0.725

Section Max. Quantity Diversity Factor Design Quantity Section Max. Quantity Diversity Factor Design Quantity
(GPM) (GPM) (GPM) (GPM)
A-R1 280 0.785 220 B-R28 280 0.725 203
R1-R2 260 0.785 204 R28-R27 260 0.725 188
R2-R3 240 0.785 188 R27-R26 240 0.725 174
R3-R4 220 0.785 173 R26-R25 220 0.725 160
R4-R5 200 0.785 157 R25-R24 200 0.725 (145) 160
R5-R6 180 0.785 141 R24-R23 180 0.725 (130) 160
R6-R7 160 0.785 126 R23-R22 160 1 160
R7-R8 140 0.785 (110) 120# R22-R21 140 1 140
R8-R9 120 1 120 R21-R20 120 1 120
R9-R10 100 1 100 R20-R19 100 1 100
R10-R11 80 1 80 R19-R18 80 1 80
R11-R12 60 1 60 R18-R17 60 1 60
R12-R13 40 1 40 R17-R16 40 1 40
R13-R14 20 1 20 R16-R15 20 1 20
จะพบวาไดขนาดปม A มีขนาด 220 gpm และปม B มีขนาด Ex ทอน้ําดังรูป แตละ riser มีคา 20 GPM ใชทอ Schedule 40 ของอ ฑ
R/D = 1 มีชม การทํางาน 6000 ชม ตอป ไมคิด diversity จงหา
203 gpm นอกจากนั้นจะสังเกตเห็นวา เมื่อมีการใช diversity เขามา
เกี่ยวของในการคํานวรหาปริมาณน้ํานั้น ปริมาณใน section สุดทาย หรืออาจจะ 1. ความเร็วของน้ําในทอ
กอนสุดทายดวยก็ได ของดานอาคารที่มีการใช diversity ปกติแลวจะไดคานอย 2. ปริมาณน้ําที่ตองการสําหรับเลือกปม
กวาปริมาณน้ําใน section แรกของดานอาคารที่อยูถัดไป ซึ่งไมสามารถใช
3. Header pipe size และ head ของปม
diversity ได ดังนั้นจึงมีความจําเปนที่จะตองปรับปริมาณน้ําของ section ที่
กลาวมานี้ใหเทากับปริมาณน้ําใน section แรกของดานอาคารที่อยูถัดไป
Ans
1 . เลือกคาความเร็ว 7 fps
(ตารางที่ 13.11 แนะนําไมเกิน
9 fps
2. ขนาดของปม 360 GPM

Header Water Nominal friction equivalent total equiv


Section11 Quantity Length Fitting diameter loss length length total loss
GPM Ft inches ft/100fr ft ft ft
main - R1 360 27 2x elbow 5 2.4 2x13 53.0 1.27
R1 - R2 340 18 Tee 5 2 8.2 26.2 0.52
R2 - R3 320 20 Tee 5 1.8 8.2 28.2 0.51
R3 - R4 300 20 Tee 5 1.6 8.2 28.2 0.45
R4 - R5 280 20 tee red. 4 4.4 12 32.0 1.41
R5 - R6 260 8 elbow + tee 4 3.8 10+6.7 24.7 0.94
R6 - R7 240 20 tee 4 3.2 6.7 26.7 0.85
R7 - R8 220 20 tee 4 2.7 6.7 26.7 0.72
R8 - R9 200 20 tee 4 2.3 6.7 26.7 0.61
R9 - R10 180 8 elbow + tee 4 2.1 6.7+10 24.7 0.52
R10 - R11 160 20 tee red. 3 5.5 9 29.0 1.60
R11 - R12 140 20 tee 3 4.6 5 25.0 1.15
R12 - R13 120 20 tee 3 3.2 5 25.0 0.80
R13 - R14 100 20 tee 3 2.5 5 25.0 0.63
R14 - R15 80 8 elbow + tee 3 1.6 7.5+5 20.5 0.33
R15 - R16 60 20 tee+red. 2 6.8 7 27.0 1.84
R16 - R17 40 20 tee 2 3.2 3.3 23.3 0.75
R17 - R18 20 20 tee red. 1.25 6.5 5 25.0 1.63
16.51
อุปกรณประกอบของระบบทอน้ํา
การบาน ใหทําขอนี้โดยมี Diversity factor
1 Expansion tank
มีในระบบปดอยางเดียว ไวสําหรับรักษาความดันของน้ําในระบบ โดยทํา
ใหน้ําเพิ่มระดับ เมื่ออุณหภูมิของน้ําสูงขึ้น
2. Strainer
เปนอุปกรณปองการความเสียหายของอุปกรณ สวนใหญเปนตะแกรง
ควรติดตั้งกอนอุปกรณตางๆ
3. Thermometer and Pressure Gages
ติดตั้งตามที่เห็นควร
4. Air Vent.
ไวสําหรับระบายลมที่อาจเกิดขึ้นในระบบ ควรติดตั้งไวที่จุดสูงสุดของ
ระบบ

5. เครือ่ งทําน้าํ ออน


ปกติตดิ ตั้งไวในทอน้ําปอน cooling tower เพื่อปรับคุณภาพน้ํากอนเขาระบบ รุปแบบระบบทอ

6. Cooling Tower
เปนอุปกรณทลี่ ดอุณหภูมิของน้ําในระบบ โดยใชหลักการ heat exchanger
ระหวางน้ําและอากาศ เปนระบบเปดสูบรรยากาศ ปริมาณน้ําทีห่ ายไปที่
cooling tower มีดังนี้
5.1 น้ําผอนทิ้ง (bleeding off หรือ blow-down) 0.3 – 0.4%
5.2 น้ําระเหยเพื่อลดอุณหภูมิ ประมาณ 1%
5.3 น้ําทีไปกับแรงลมพัดประมาณ 0.1 – 0.3%
แนวการเดินทอ

มี Three Way มี Plug cock สําหรับ


Mixing Valve ปรับอัตราการไหลดวยมือ
สําหรับปรับอุณหภูมิน้ํา
แบบอัตโนมัติ มี Plug
Cock สําหรับปรับอัตรา
การไหลแบบอัตโนมัติ

การเดินทอน้ํายา
น้ํายาสวนใหญเปน R-12, R-22, R-500 มีวิธีดังนี้

1. Pressure Drop นอยที่สดุ


2. น้ํายามีการเปลี่ยนสถานะระหวางการทํางาน
3. ใหมีการสะสมของน้ํายาในคอมเพรสเซอรนอยทีส่ ดุ และตองไมมีน้ํายาใน
สภาพของเหลวเขาสูคอมเพรสเซอร
การออกแบบทอน้ํายา
ทอเล็กราคาจะถูกกวาทอที่มีขนาดใหญ ดังนั้น จึงควรออกแบบทอที่มีขนาด
เล็กทีส่ ดุ เทาทีจ่ ะเปนไปได โดยไมเกิด Pressure drop ดาน suction และ
discharge มากเกินไป หรืออาจการสถาวะน้ํายาทวมใน expansion
valve ได suction discharge
Pressure Drop Gas
Gas
(psi) R-12 R-22 R-500

ดาน suction (2°F) 1.8 2.9 2.2


Liquid
Liquid
ในทอน้ํายา (1 – 2°F) 1.8 -3.8 2.9 - 6 2.2 - 4.6
หมายเหตุ air แบบแยกสวนขนาด 1 ตัน จะมีความดันภายในระบบประมาณ 70 – 75 psi แตถา
ขนาด 9000 Btu/hr จะมีความดันสูงกวาเล็กนอย ประมาณ 80 – 85 psi และมีประมาณน้ํายา
ทั้งระบบประมาณ 1 kg

การหาขนาดทอน้ํายา ระบบทอน้ํายาใช R-22 ขนาดตันความเย็น 50 ตัน ความยาวสมมูลของทอ 60 ft


saturated suction temp. = 45°F, condensing temp.
1. วัดความยาวทอในแนวตรง (ft) 110°F ทอทองแดงชนิด L จงหา

2. บวกความยาวทอตรงไปอีก 50% จะได equiv. length โดยประมาณ 1. ขนาดทอดานดูด เมื่อ pressure drop = 2°F change in
เบื้องตน saturation temp.
2. Pressure drop ทีแ่ ทจริงในหนวย °F ของขนาดทอในขอ 1
3. หาคาตันความเย็น และขนาดทอในขอ 2 หาขนาดทอจากแผนภูมิ 13.5 –
13.13 ใหคํานึงถึงคาแกตางๆ ดวย
4. หาคาขนาด equiv. length ของของอและขอตอตางๆ นําไปรวมกับ
ความยาวในขอ 1 จะได equiv. length ที่แทจริง
5. อาจตองใชคาแกเชนเดียวกับขอ 3
6. หาขนาดที่แทจริงจากแผนภูมิ
1. หาคาตันความเย็นที่แทจริง หาขนาดทอที่ 48.25 ตัน พบวา ทอขนาด 2.125 เหมาะสมที่สุด ………..Ans

1.01 + 0.92
คาแกสําหรับตันความเย็น = 0.965
2
ดังนั้น ตันความเย็นที่แทจริง = 0.965x50 = 48.25 ตัน 40/105 คือ sat. suc. Temp. = SST 40°F
sat. disc. Temp. = SDT 105°F = Cond. Temp. = CT 105°F

Pressure drop ทีแ่ ทจริงของทอ.

62
× 2 = 2.40 F .....Ans.
52
• Pipe support หมายถึงการแขวนหรือยึดทอจากสวนบนหรือสวนลาง
ของทอก็ตาม
• การยึดทอที่วิกฤติคือในสถานที่ๆคอนขางอันตรายเชน โรงนิวเคลียร โรงงาน
เคมี เปนตน
• การยึดทีไ่ มใชวิกฤติอาจใชการวิธีงายๆธรรมดาเชน split ring,
clamps, brackets, clips, pipe rolls เชนในระบบ
plumbing heating ซึ่งมีความเคนและความเครียดจากความรอนและ
Pipe Hanger & Supporting
การสั่นของเครื่องจักรกลไมมากนัก
Standard component supports
• มีหลายชนิด มีผูผลิตขาย
Chaiwat Pijassapan Pipe Support service
SVC นอกจากจะควบคุมการสัน่ สะเทือนและการหดขยายตัวแลวยังตองพิจารณาถึงการรับ
น้ําหนักทั้งหมดทั้งยังตองวางตําแหนงใหเหมาะสมดวย
• นอกจากน้ําหนักทอแลวยังรวมถึงตัวกลางของเหลวในทอดวย และยังรวมถึง
น้ําหนักที่เกิดขึน้ จากบรรยากาศเชน หิมะ น้ําแข็ง ฝน แรงลม รวมถึง
แผนดินไหว

• สวนหนึง่ ของpipe supports เชน Sway braces, sway


struts , snubbers ใชเพื่อตานหรือหนวงการสั่นไหวลักษณะตางๆ
• จะตองรับแรงที่เกิดขึน้ จากการหดขยายตัวจากาความรอน ทั้งสภาวะการใช
งานปรกติและไมปรกติดวย บางครั้งการออกแบบใหสามารถเกิดการเคลื่อน การยึดทอน้ํา
ตัวจากความรอนไดอยางอิสระ ในลักษณะดังกลาวอาจทําใหเกิดการถายแรง
จากจุดหนึ่งไปที่จุดหนึง่ ได หรือจากจุดยึดไปทีท่ อ ได เชนทอ 3 นิ้วมีผนังหนา
½ นิ้ว ถึงยึดไมใหเคลื่อนไหวได จะเกิดแรงกระทําถึง50 ตัน ถาอุณหภูมิ 1. การหิ้วแขวน (Hanger)
เปลี่ยนไป 50 F การเคลื่อนตัวจากความรอน ตองยอมใหเคลื่อนตัวไดและใช 2. การรองรับ (Supporting)
วัสดุยึดเชน guides, rollers, springs
• ความลาดเอียง ในการถายเทน้าํ มีความจําเปนและวิกฤติมากในระบบ 3. การยึดทอในแนวดิ่ง (Pipe)
steam line iในพืน้ ทีท่ ี่มีการทรุดตัวไดอนั เนือ่ งจากมีนา้ํ หนนักกระทํากับ 4. การยึดกับโครงสราง
ทอเชน valves , main equipments จําเปนตองวางตําแหนงจุด
ยึดทอใหใกลกับน้าํ หนักเหลานัน้ ดวย
• แรงบิดจะตองกําจัดออกไปเพื่อมิใหทอ รับความเคน
• โดยทั่วไปจะออกแบบใหความความปลอดภัยเปน 3 เทา (Safety factor)
Hanger Type Hanger Types
• ที่ใชกันมากในระบบอาคาร
1. Clevis Hanger (Adjustable Clevis Hanger)

2. Adjustable Ring (Adjustable Band Hanger)

3. Trapeze Hanger

Clevis Hangers adjustable band Hager


Pipe Clamp

Riser Clamp 1

Three bolts Pipe Clamp


Trapeze Hanger
Pipe Riser
Pipe Penetration 1

Pipe Penetration 2 Pipe Penetration 3


Pipe Penetration 4 Pipe Penetration 5
Pipe Insulation

You might also like