You are on page 1of 35

http://www2.dede.go.th/bhrd/old/file_handbook.

html
ตอนที่ 2 บทที่ 2 กลศาสตรของไหลเบื้องตน ตําราฝกอบรมผูรับผิดชอบดานพลังงาน(ผชพ) ดานความรอน

บทที่ 2
กลศาสตรของไหลเบื้องตน
(Fundamental of fluid mechanics)

ความสําคัญของเนื้อหาวิชา
กลศาสตรของไหล มีความสําคัญอยางยิ่งตอชีวิตประจําวัน รวมถึงในทางอุตสาหกรรมดวย เครื่อง
อํานวยความสะดวก เครื่องจักรตางๆ และกระบวนการผลิตในอุตสาหกรรมนั้น ก็จะประกอบไปดวยของไหล
แทบทั้งสิ้น เชนเครื่องปรับอากาศ ระบบน้ํา เปนตน ดังนั้นพื้นฐานความรูในวิชานี้จึงมีความจําเปนสําหรับการ
คํ า นวณการออกแบบ ระบบเพื่ อ ใหมี ก ารนํ า ไปใชงานไดอยางมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพมากที่ สุ ด โดยเฉพาะใน
ภาคอุตสาหกรรม

วัตถุประสงค (Objective)
เพื่อใหเขาใจหลักการของของไหลเบื้องตน

บทนํา (Introduction)
เนื้อหาในบทนี้จะเปนการศึกษาหลักการเบื้องตนของกลศาสตรของไหล ความดันกับระดับของของ
ไหล กําลังของของไหลในเสนทางการไหล การไหลของของไหลที่มีความหนืด การขนสงของไหล อุปกรณที่
เกี่ยวของกับกลศาสตรของไหลและการอนุรักษพลังงาน เชน เครื่องสูบ (Pump) คอมเพรสเซอร และพัดลม ซึ่ง
จะเปนความรูพื้นฐานที่จะอธิบายถึงหลักการเบื้องตนของแตละระบบ สําหรับการนําไปประยุกตใชตอไป

2-1
ตอนที่ 2 บทที่ 2 กลศาสตรของไหลเบื้องตน ตําราฝกอบรมผูรับผิดชอบดานพลังงาน(ผชพ) ดานความรอน

2.1 หลักการเบื้องตนของกลศาสตรของไหล
ของไหล (Fluid) คือของเหลว และกาซ ในการวิเคราะหจะตางกันตรงที่กาซจะเปนของไหลที่สามารถอัด
ตัวได สวนของเหลวนั้นไมสามารถอัดตัวได ถึงแมจะอัดตัวไดบาง แตตองใชความดันสูงมาก จึงพิจารณาวา
ของเหลวเปนของไหลที่อัดตัวไมได
ของไหลอัดตัวได คือของไหลที่ความหนาแนนไมคงที่ขึ้นอยูกับตัวแปรหลายตัว เชน กาซอยูในภาชนะ
ปดสนิ ท เมื่ อ ไดรั บ ความรอน ความหนาแนนของกาซก็ จ ะเพิ่ ม ขึ้ น ตรงกั น ขามถาสู ญ เสี ย ความรอน ความ
หนาแนนก็จะลดลง ในที่นี้จะกลาวเฉพาะของไหลที่อัดตัวไมไดเทานั้น
ความหนาแนน (Density, ρ) คือ มวล (m) ของสารนั้นหารดวยปริมาตร (V)
ปริมาตรเฉพาะ (Specific volume, v) คือ ปริมาตรของสารนั้นหารดวยมวล ซึ่งจะมีคาเปนสวนกลับของ
ความหนาแนน
ความหนืด (Viscosity, μ) คือ คุณสมบัติการตานการเคลื่อนที่ของของไหล
น้ําหนักจําเพาะ (Specific weight, γ) คือ ความหนาแนน คูณกับคาอัตราเรงเนื่องจากแรงโนมถวงของ
โลก (g) หรือน้ําหนัก (mg) หารดวยปริมาตร

2.2 แรงสถิตของของไหล
ความดันของของไหล ณ จุดๆ หนึ่งจะมีคาเทากันในทุกๆทิศทาง และจะกระทําในทิศทางที่ตั้งฉากกับ
พื้นที่นั้นๆ ซึ่งก็เปนทฤษฎีของปาสคาล ในรูปที่ 2.1 เมื่อใชทฤษฎีนี้ และใหความดันของของเหลวเปน p [Pa] จะ
ไดวา

p = F[N]/A[m2] = F1/A1 = F2/A2 (2.1)

เครื่องวัดความดันนั้นโดยปกติแลวจะแสดงผลออกมา เปนคาความดันที่มาก หรือนอยกวาคาความดัน


บรรยากาศ คาความดันที่แตกตางจากบรรยากาศนี้จะเรียกวา “ความดันเกจ (Gauge Pressure)”

รูปที่ 2.1 ทฤษฎีของปาสคาล

2-2
ตอนที่ 2 บทที่ 2 กลศาสตรของไหลเบื้องตน ตําราฝกอบรมผูรับผิดชอบดานพลังงาน(ผชพ) ดานความรอน

2.2.1 ความดันกับระดับความลึกของของไหล
คาความดันในของไหล (ของเหลว) จะไมขึ้นอยูกับขนาดหรือความใหญของภาชนะที่บรรจุ โดยคา
ความแตกตางกันของความดันของจุด 2 จุดที่มีความลึกที่แตกตางกันในของไหลสามารถหาไดจากสมการ
ดังตอไปนี้

p2 - p1 = ρ g(z2 - z1) = γ(z2 - z1) (2.2)

โดยในสมการนี้ p2 - p1 คือ คาความแตกตางของความดัน ระหวางจุดที่ 1 และจุดที่ 2 ρ คือ คาความ


หนาแนนของของไหล (ของเหลว) [kg/m3], g คือ คาอัตราเรงเนื่องจากแรงโนมถวงของโลก [m/s2], (z2 - z1) คือ
คาความแตกตางกันของความลึกในของเหลว [m]
จากรูปที่ 2.2 ความดันของจุดทุกจุดบนเสน A-B ซึ่งมีความลึกเทากัน คือ h จะมีคาเทากัน ซึ่งหาคาได
จากสมการ 2.2 จะสังเกตไดวามิไดขึ้นอยูกับรูปรางของภาชนะ

รูปที่ 2.2 ความดันกับความลึกของของไหล

2.3 สมการพื้นฐานของการไหล
ในรูปที่ 2.3 แสดงการไหลของของไหล เมื่อกําหนดพื้นที่ตัดขวาง (Cross Section Area) ใหเปน A [m2]
ความเร็วเฉลี่ยในการไหลผานพื้นที่ตัดขวางเปน V [m/s] และคิดใหเปนการไหลแบบคงตัว (Steady Flow)
ตัวเลข 1 และ 2 ที่เปนตัวหอยจะหมายถึงพื้นที่ตัดขวางที่ตําแหนงที่ 1 และ ตําแหนงที่ 2

รูปที่ 2.3 การไหลในสภาวะปกติ

จากรูปคาตัวแปรตาง ๆ จะแสดงในหัวขอ 2.3.2

2-3
ตอนที่ 2 บทที่ 2 กลศาสตรของไหลเบื้องตน ตําราฝกอบรมผูรับผิดชอบดานพลังงาน(ผชพ) ดานความรอน

2.3.1 สมการของการอนุรักษมวล
มวลสารที่เกิดการไหลในระบบหนึ่งจะเทากันตลอดทุกๆ หนาตัด เมื่อใหปริมาณการไหลของมวลสาร
เปน M& [kg/s] จะเขียนสมการไดวา
.

M& = ρVA = ρ1V1A1 = ρ2V2A2 = คาคงที่


= ρQ = ρ1Q1 = ρ2Q2 = คาคงที่ (2.3)

ในสมการนี้คา ρ คือคาความหนาแนนของของไหล [kg/m3], Q เปนอัตราการไหลของปริมาตร (Volume flow


rate) หรือเรียกสั้นๆ วาอัตราการไหล (Flow rate) ของของไหล [m3/s], ถาใหคา Q เทากับ M& /ρ แลว และ ρ
เปนคาคงที่ (เปนของเหลวที่อัดตัวไมได) ในกรณีนี้จะทําให Q ก็เปนคาคงที่เชนเดียวกัน

2.3.2 สมการของการอนุรักษพลังงาน
พลังงานที่เกี่ยวของกับการไหลของของไหลตอหนวยมวลคือ คาเอนทัลปจําเพาะ [J/kg] พลังงานจลน
V2/2 [J/kg] และพลังงานศักย gz [J/kg] ในระหวางพื้นที่หนาตัดที่ 1 และ 2 เมื่อมีพลังงานจากภายนอกเขามาโดย
จะใหพลังงานนี้เปน Ein [J/kg] (ยกตัวอยางเชนพลังงานจากปม, Blower, หรือการเพิ่มความรอน) และถาให
พลังงานจากของไหลที่ออกไปสูสิ่งแวดลอมเปน Eout (เชนงานจากกังหัน, การทําความเย็น) จากกฎของการ
อนุรักษพลังงานกรณีการไหลคงตัวจะเขียนเปนสมการไดวา

(h1 + V12/2 + gz1) + (Ein - Eout) = (h2+V22/2 + gz2) (2.4)

โดยคา g เปนคาอัตราเรงเนื่องจากแรงดึงดูดของโลก gn = 9.80665 [m/s2]

สมการนี้จะเปนสมการทั่วไปของการไหล สําหรับการไหลที่คิดคาความหนืด เปนการไหลในบริเวณที่


ใกลกับผนังแข็ง เชนผิวทอ งานที่เกิดจากความเสียดทานในการไหลอันเนื่องมาจากความหนืด ฯลฯ จําเปนที่
จะตองคิดพลังงานในสวนนี้แยกออกมาอีก ซึ่งงานจํานวนนี้ก็จะกลายเปนความรอน และกลายเปนพลังงานไมมี
ประสิทธิภาพ (ไมสามารถนํามาใชงานได) การสูญเสียพลังงานที่มีประสิทธิภาพจํานวนนี้จะสูญเสียในรูปแบบ
ของความดัน โดยพลังงานที่สูญเสียไปนี้เปน Eloss ในวิชาอุณหภูมิพลศาสตรนั้น การเปลี่ยนแปลงคาเอนทัลป Δh
กับการเปลี่ยนแปลงความดัน Δp สามารถเขียนเปนสมการที่แสดงความสัมพันธกันไดดังนี้ (Δh = Δq + vΔp =
Δq + Δp/ρ) ซึ่งสามารถสรุปไดวา Δ h = Eloss + Δp/ρ จากสมการที่ 2.4 เมื่อใชคา h1 - h2 = Eloss+ (p2 – p1)/ρ
แทนลงไปและไมคิดถึงเรื่องการเปลี่ยนแปลงความหนาแนนของของไหลจะเขียนสมการไดเปน

(p1/ρ + V21/2 + gz1) + (Ein – Eout - Eloss) = (p2/ρ + V22/2 + gz2) (2.5)

2-4
ตอนที่ 2 บทที่ 2 กลศาสตรของไหลเบื้องตน ตําราฝกอบรมผูรับผิดชอบดานพลังงาน(ผชพ) ดานความรอน

สมการนี้เปนสมการของการอนุรักษพลังงานในกรณีที่ของไหลไมสามารถอัดตัวได สมการนี้ไม
เพียงแตจะใชกับของเหลวไดเทานั้น ในกรณีของแก็สมีการเปลี่ยนแปลงความดัน และอุณหภูมินอยมากจนถือได
วา ρ มีคาคงที่ สมการนี้ก็สามารถนําไปใชไดอีกดวย สมการนี้ไมมีพลังงานเขา หรือออกจากภายนอก และไมมี
Eloss จะเขียนไดใหมเปน

p +ρV2/2 + ρgz = คาคงที่ (2.6)

สมการเบอรนูรี่ (Bernoulli’s Equation) ขางบนนี้ใชในกรณีที่การไหลไมมีการสูญเสียพลังงาน ไมมีงาน


เขา-ออกจากระบบ และไมสามารถอัดตัวไดในการไหลเทอม p, ρV2/2, ρgz ในสมการนี้จะหมายถึง แรงดัน
สถิตย (Static Pressure) ความดันขับ และความดันรวม อนึ่งคา ρ ของแก็สจะมีคานอยมาก และถาคา z ของจุดที่
พิจารณา 2 จุดมีคาไมแตกตางกันมาก ทําใหเทอม ρgz ในสมการที่ (2.5) และสมการที่ (2.6) สามารถตัดทิ้งไป
ได

2.3.3 กําลังของของไหลใน (เสน) การไหล (Streamline)


จากความรูในวิชากลศาสตร ของไหลที่มีมวล m เมื่อมีแรง F ที่รวมกันเปนเวคเตอร ΣF มากระทําใน
ระยะเวลา Δt และมีการเปลี่ยนแปลงความเร็ว ΔV จะเขียนสมการไดวา
.

(ΣF) Δt = m (ΔV) (2.7)

ซึ่งทิศทางของการไหลเปนดังแสดงในรูปที่ 2.3 ในระหวางพื้นที่หนาตัดที่ 1 และ 2 ในขณะที่ของไหลมีมวลการ


ไหล M& [kg/s] = m/∆t ไหลอยู ของไหลจะไดรับแรงกระทําในทิศทาง x ซึ่งแรงที่กระทําในทิศทางนี้จะเปน
เปน ΣFx ซึ่งเทากับโมเมนตัมที่เปลี่ยนแปลงไป

(∑ F ) ⋅ Δt = m⋅ (V
x 2x − V1 x ) = M
& ⋅ Δt ⋅ (V − V )
2x 1x (2.8)

จะไดวา
∑F & (V − V ) = ρ⋅ Q⋅ (V − V )
=M [N] (2.9)
x 2x 1x 2x 1x

สําหรับในทิศทางของแกน y และ แกน z ก็จะคิดเหมือนกัน

2-5
ตอนที่ 2 บทที่ 2 กลศาสตรของไหลเบื้องตน ตําราฝกอบรมผูรับผิดชอบดานพลังงาน(ผชพ) ดานความรอน

2.4 การไหลของของไหลที่คิดความหนืด
2.4.1 การไหลแบบราบเรียบ หรือการไหลเปนชั้นๆ (Laminar Flow) กับ
การไหลแบบปนปวน (Turbulent Flow)
ดังที่ไดแสดงในรูปที่ 2.4 เมื่อของไหลซึ่งมีความหนืดไหลไปตามผิวของวัตถุ ความหนืดของของ
ไหลจะทําใหอนุภาคเล็กๆ ของของไหลยึดติดอยูกับผิวของวัตถุ โดยมีความเร็ว U = 0 เปนเหตุใหของไหลเมื่อยิ่ง
เขาใกลผิววัตถุมากยิ่งขึ้นจะทําใหเกิดชั้นบางๆ ที่มีการเปลี่ยนแปลงความเร็วของการไหลมากยิ่งขึ้น ในชั้นนี้
เรียกวา “ชั้นขอบเขตของความเร็ว (Velocity Boundary)” สวนการไหลที่อยูนอกขอบเขตนี้ไปเรียกวา “เสนการ
ไหลหลัก (Mainstream)” ซึ่งสามารถจะตัดทิ้งผลกระทบจากความหนืดได

รูปที่ 2.4 ชั้นขอบเขตของความเร็วที่ถูกสรางขึ้นมาเมื่อมีการไหลที่ผิวของวัตถุ

ชั้นขอบเขตของการไหลนี้จะแบงออกเปนชั้นขอบเขตการไหลแบบราบเรียบ(ไหลเปนชั้น) (Laminar
Flow) กับ ชั้นขอบเขตของการไหลแบบปนปวน (Turbulent Flow) การไหลภายในชั้นขอบเขตการไหลเปนชั้น
นั้น จะมีเสนของการไหลอยางเปนระเบียบเกิดขึ้น และเนื่องมาจากความหนืดที่มีอยูในโมเลกุลเล็กของของไหล
จะทําใหเกิดแรงเฉือน (Shear) τ [Pa] ขึ้นในการไหล โดย
dU
τ = μ⋅ (2.10)
dy

ในสมการนี้คา μ (Viscosity) [Pa*s] เปนคาความหนืดของของไหล เปนคาที่แสดงถึงการสงถาย


ปริมาณโมเมนตัมในการไหลอันเนื่องมาจากการเคลื่อนไหวของโมเลกุลของการไหล
ขณะเดียวกันการไหลภายในชั้นของขอบเขตการไหลแบบปนปวนนั้น จะไมมีสมการตายตัว การไหล
จะเปนลักษณะที่ไมมีระเบียบ (Disorder) แรงเฉือนที่เกิดในของไหลจะหาไดจาก
dU
τ = ρ ⋅ (ν + εm ) ⋅ (2.11)
dy

2-6
ตอนที่ 2 บทที่ 2 กลศาสตรของไหลเบื้องตน ตําราฝกอบรมผูรับผิดชอบดานพลังงาน(ผชพ) ดานความรอน

โดยคา ν คือคาสัมประสิทธิ์ความหนืดเชิงจลนศาสตร (Kinematic Viscosity) μ/ρ) สวนคา εm [m2/s]


เปนคาสัมประสิทธิ์เชิงจลนอลวน (หรืออาจจะเรียกวา คาสัมประสิทธิการกระจายปริมาณโมเมนตัมอลวน ระดับ
ความหนืดเชิงจลนศาสตร) ซึ่งเปนการแสดงใหเห็นถึงผลลัพธของการขนถายโมเมนตัมอันเนื่องมาจากการไหล
แบบปนปวน ซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงไปอยางมากโดยจะขึ้นอยูกับชนิดของการไหล และชนิดของของไหล ในการ
แยกการไหลวาจะเปนการไหลแบบเปนชั้น (ไหลแบบราบเรียบ) หรือเปนการไหลแบบปนปวน สามารถแยกได
โดยใชคาพารามิเตอร ที่ไมมีมิติที่เรียกวา “คาเรยโน Re (Reynolds Number)” เปนตัวกําหนดในการแยกการไหล
โดย
Re = (ความเร็วในการไหล) x (ความยาว) / คาสัมประสิทธิ์ความหนืดเชิงจลนศาสตร
= แรงขับเคลื่อนของการไหล / ความหนืดในการไหล

VL
Re = (2.12)
ν

คาเรยโนที่อยูในระหวางเปลี่ยนจากการไหลแบบเปนชั้นไปสูการไหลแบบปนปวนนั้นเรียกวา “คาเรย
โนวิกฤติ (Critical Reynolds)” และสําหรับของไหลที่ประพฤติตามสมการที่ (2.10) จะเรียกวา “ของไหลนิวโท
เนียน (Newtonian Fluid)” สวนของไหลที่ไมประพฤติตามจะเรียกวา “ของไหลที่ไมใชของไหลนิวโทเนียน
(Non-Newtonian Fluid)” (ยกตัวอยางเชน ยาง) เนื่องจากคาเรยโนเปนคาอัตราสวนระหวางแรงขับเคลื่อนของ
การไหลตอความหนืด ดังนั้นจะเห็นวาถาคาเรยโนมีคามากก็สามารถแสดงเปนเชิงสัมพันธใหเห็นวาผลกระทบ
(Effect) ของคาความหนืดจะมีคานอย

2.4.2 การไหลในทอกลม
การไหลในทอกลมที่บริเวณทางเขาทอที่แสดงในรูปที่ 2.5 นั้นจะเห็นวาตั้งแตที่บริเวณทางเขา ชั้น
ขอบเขตของความเร็วจะคอยๆพัฒนาเพิ่มขึ้นที่ละเล็กที่ละนอย จนถึงระยะทางคาหนึ่ง (Le) ชั้นของความเร็วจะ
ซอนกันทั้งบน และลาง หลังจากนั้นการกระจายความเร็วจะไมมีการเปลี่ยนแปลง เรียกวาการไหลไดพัฒนาได
อยางสมบูรณ (Fully Developed) คาเรยโน Re สําหรับการไหลภายในทอนั้นถาให V เปนคาความเร็วเฉลี่ย D
เปนเสนผานศูนยกลางภายในของพื้นที่ตัดขวางทอแลวจะได

VD ρVD [M / (πD 2 / 4 )]D


Re = = = (2.13)
ν μ μ

อนึ่งคา ρV [kg/(m2*s)] จะเปนคาการไหลของมวลสารตอพื้นที่หนาตัดในการไหล สําหรับในกรณี


ของแก็สนั้น การเพิ่มความรอนภายในทอจะทําใหแก็สขยายตัวมีความเร็ว V เพิ่มขึ้น คา ρV จะไมเปลี่ยนแปลง
ถาพื้นที่หนาตัดมีคาคงที่ ซึ่งเปนเงื่อนไขที่สะดวกในการคํานวณ นอกจากนั้นโดยปกติจะถือวา คาสัมประสิทธิ
ความหนืด μ จะไมเปลี่ยนแปลงไปกับความดันอีกดวย สวนคาความหนืดเชิงจลนศาสตร ν ซึ่งเทากับ μ/ρ ใน
กรณีของแก็สจะเปนคาที่ผกผันกับความดันซึ่งจะตองระมัดระวัง

2-7
ตอนที่ 2 บทที่ 2 กลศาสตรของไหลเบื้องตน ตําราฝกอบรมผูรับผิดชอบดานพลังงาน(ผชพ) ดานความรอน

คาเรยโนวิกฤติ Rec ของการไหลภายในทอที่ไดพัฒนาไดอยางสมบูรณแลว คือคาเรยโน ที่การไหล


เปลี่ยนจากการไหลราบเรียบไปเปนการไหลแบบปนปวนจะมีคา Rec = 2300 หรืออยูในชวงระหวาง 2000 –
4000 โดยประมาณ ทั้งนี้ขึ้นอยูกับความปนปวนในการไหล ความขรุขระภายในทอที่ไหล หรือรูปทรง และ
สภาพของทางเขา สวนคาเรยโนที่ต่ํากวา 2000 ไมวาทอจะมีความยาวมากเพียงใด การไหลก็จะไมเปลี่ยนแปลง
ไปสูการไหลแบบปนปวน จะยังคงรักษาสภาพการไหลแบบเปนชั้น หรือราบเรียบตอไป

รูปที่ 2.5 การไหลภายในทอกลม

การไหลแบบเปนชั้น/การไหลแบบราบเรียบภายในทอกลม
รูปที่ 2.5 เปนรูปที่แสดงใหเห็นวา การกระจายความเร็วที่ไดพัฒนาอยางสมบูรณแลวจะเปนรูปพาราโบ
ลา ถาให V เปนความเร็วเฉลี่ยในการไหล และให Uc เปนความเร็วที่จุดศูนยกลางของทอเราสามารถแสดง
ความสัมพันธกันไดดังนี้
M& Uc
V= = (2.14)
ρ( πD 2 / 4 ) 2
ในทอที่มีความยาวเปน L จะมีการสูญเสียพลังงานอันเนื่องมาจากการสูญเสียความดันคือ Δp/ρ [J/kg] ซึ่งจะมีคา
เทากับ

Δp 64 L V 2
= ⋅ ⋅ (2.15)
ρ Re D 2

ในที่นี้ Δp/ρ จะเรียกวา “ความดันที่สูญเสียไป”

การไหลแบบปนปวนภายในทอกลม (Re>4000)
รูปที่ 2.5 แสดงใหเห็นการกระจายความเร็วที่ไดพัฒนาไดอยางสมบูรณการกระจายความเร็วจะมี
ความสัมพันธกับเสนผานศูนยกลางของทอ ความเร็วเฉลี่ยหาไดจาก

V = 0.82 Uc (2.16)

2-8
ตอนที่ 2 บทที่ 2 กลศาสตรของไหลเบื้องตน ตําราฝกอบรมผูรับผิดชอบดานพลังงาน(ผชพ) ดานความรอน

อนึ่งสําหรับการไหลภายในทอที่ไมใชทอกลมนั้นจะใชคาเสนผานศูนยกลางเทียบเทา (เสนผานศูนยกลางสมมูล)
De ซึ่งหาไดจาก

4A (2.17)
De =
Lp

โดย A จะเปนพื้นที่หนาตัดในการไหล Lp จะเปนความยาวเสนรอบรูปของพื้นที่หนาตัดของของไหลที่สัมผัส


ผนังของทอ ในกรณีของทอกลม De = D

2.5 การขนสงของไหล
2.5.1 ความดันที่สูญเสียไปในทอตรง
การไหลในทอตรงนั้น การสูญเสียทั้งหมดจะเกิดขึ้นมาจากแรงเสียดทานระหวางชั้นของของไหลที่อยู
ชิดกับผนังของทอ หรือความหนืดโดยความดันที่สูญเสียไปเนื่องจากแรงเสียดทาน ∆p สามารถเขียนเปน
สมการไดดังนี้

Δp L V2
= f ⋅ (2.18)
ρ D 2

โดยในที่นี้คา f จะเรียกวา “คาสัมประสิทธิ์ความเสียดทานของทอ (Friction Factor)” และคา L เปนคาความยาว,


คา D เปนคาของเสนผานศูนยกลางของทอ, สวนคา V เปนคาความเร็วเฉลี่ยของการไหล จากความสัมพันธของ
คา V และ Qในสมการที่ (2.3) ซึ่ง V = Q/(πD2/4) เมื่อแทนคานี้ลงไปในสมการขางบนจะไดวา

Δp Q2
= 8 fL ⋅ (2.19)
ρ π 2 D5

จากสมการขางบนจะเห็นไดชัดเจนวา คาความดันที่สูญเสียไป Δp ของทอที่ยาว L และมีอัตราการไหล Q จะ


เปนปฏิภาคที่ผกผันกับเสนผานศูนยกลางของทอยกกําลัง 5

กรณีการไหลแบบราบเรียบ
จากสมการที่ (2.15)
64
f = (2.20)
Re
.

ในกรณีการไหลแบบปนปวน
โดยทั่วไปจะเปนสมการที่ไดจากการทดลอง
0.316
f = (2.21)
Re1 / 4

2-9
ตอนที่ 2 บทที่ 2 กลศาสตรของไหลเบื้องตน ตําราฝกอบรมผูรับผิดชอบดานพลังงาน(ผชพ) ดานความรอน

จากสมการขางบนจะเห็นวาคา ƒ ในกรณีของการไหลแบบปนปวนนั้นจะเปนฟงกชันที่ไมไดขึ้นกับคา Re มาก


นัก ในทางปฏิบัติจริงๆ สามารถใชเปนคาคงที่ได แตในกรณีของการไหลแบบราบเรียบนั้นคา ƒ จะแปรผกผัน
กับคา Re (หรือกลาวไดวาแปรผกผันกับคา V, D) ในสมการที่ (2.21) คา ƒ เปนคาของทอที่ผิวเรียบ สําหรับคา
ƒ ของทอที่มีผิวขรุขระและคา Re มีคามากๆ คา ƒ สามารถหาไดจากแผนภาพที่แสดงความสัมพันธกัน
ระหวางคา ƒ และคา Re ซึ่งมีชื่อวาแผนภาพ มูดดี้ (Moody Diagram)

2.5.2 องคประกอบที่ทําใหเกิดการสูญเสียความดันในการไหลภายในทอ
เมื่อเกิดการไหลภายในทอ จะเห็นวาเปนกระบวนการที่ผันกลับไมไดที่จะตองมีพลังงานจํานวนหนึ่ง
สูญเสียไป โดยความดันจะลดลง ความดันที่สูญเสีย Δp ไปนี้ สามารถเขียนเปนสมการทั่วไปไดดังนี้
Δp
= 0.5KV 2 (2.22)
ρ
โดยในที่นี้ คา K จะเปนคา “สัมประสิทธิ์ของการสูญเสียความดัน”

รูปที่ 2.6 แผนภาพที่แสดงความสัมพันธกันระหวางคา ƒ และคา Re

โดยคาสัมประสิทธิของการสูญเสียความดันที่บริเวณทางเขาทอจะขึ้นอยูกับรูปทรงและสภาพของทอ
ทางเขาโดยทั่วไปจะมีคาอยูในชวงประมาณ 0.5 สวนที่ทางออกของทอจะมีคาประมาณ 1.0 สวนทองอ 90 องศา
จะมีคาประมาณ 0.5 – 0.75 นอกจากนั้นในกรณีที่มีการสูญเสียความดัน Δp เกิดขึ้นในทอ มักจะเขียนในรูปการ
ΔEloss
สูญเสีย พลังงานที่ไมเกิดประโยชนตอหนวยของเวลา นั่นคือ เขียนเปนสมการไดดังนี้คือ
Δt

2-10
ตอนที่ 2 บทที่ 2 กลศาสตรของไหลเบื้องตน ตําราฝกอบรมผูรับผิดชอบดานพลังงาน(ผชพ) ดานความรอน

ΔE loss Δp ⋅ M
= = Δp ⋅ Q (2.23)
Δt ρ

2.5.3 การไหลในหัวฉีด (Nozzle) ออริฟซ (Orifice), และเฮดแท็งค (Head Tank) การไหลผาน


หัวฉีด (Nozzle)
การไหลในหัวฉีด (Nozzle)
ภายในภาชนะบรรจุแก็สขนาดใหญมีแก็สบรรจุอยูภายใน (มีอุณหภูมิ To, และมีความดัน po) กาซไหล
ผานหัวฉีดเล็กไปสูที่วางที่มีความดัน(ตานกลับ) pb เมื่อความดันตานกลับ pb มีคาลดลงจาก po ความเร็วของแก็ส
ที่พุงออกมาก็จะคอยๆ เพิ่มขึ้นที่สุดก็จะเขาใกลความเร็วเสียง หลังจากนั้นไมวาความดันตานกลับจะลดลงเทาไร
ก็ตาม ปริมาณการไหลก็จะไมเพิ่มขึ้นอีก ณ สภาวะนี้การไหลของกาซจะพัฒนาเขาสูสภาวะวิกฤติ (หรือเรียกวา
สภาวะช็อค) อัตราสวนความดัน po/pb ที่สภาวะหลังนี้เรียกวา อัตราสวนความดันวิกฤติ po/pc คานี้จะถูกกําหนด
โดยคาอัตราสวนความรอนจําเพาะเทานั้น ในกรณีของอากาศคานี้จะมีคาประมาณ 2

รูปที่ 2.7 การไหลผานหัวฉีด

ถาความเร็วในการไหลของกาซต่ําๆ (โดยปกติจะอยูที่ต่ํากวา 0.2-0.3 เทาของความเร็วเสียง) จะสามารถ


พิจารณาใหเปนการไหลของของไหลที่อัดตัวไมได การไหลของของไหลในอุดมคติที่อัดตัวไมได (ไมมีการ
สูญเสีย) แบบนี้สามารถใชสมการของเบอรนูรี่ (สมการที่ 2.6) ได ในกรณีนี้ถือวาเปนอัตราการไหลในทางอุดม
คติ Q สามารถหาไดจากสมการตอไปนี้

2( p o − p e )
Q = Ae (2.24)
ρ

ในสมการนี้คา Ae คือพื้นที่หนาตัดที่ทางออกของหัวฉีด
ความสัมพันธระหวางปริมาณการไหลจริง Q กับปริมาณการไหลในทางอุดมคติ Q* สามารถเขียนเปนสมการได
ดังตอไปนี้

Q = CQ* (2.25)
ในสมการนี้ คา C จะเรียกวา “คาสัมประสิทธิ์ของการไหล” (C < 1)
2-11
ตอนที่ 2 บทที่ 2 กลศาสตรของไหลเบื้องตน ตําราฝกอบรมผูรับผิดชอบดานพลังงาน(ผชพ) ดานความรอน

การไหลผานชองแคบ หรือชองออริฟซ (Orifice)


ออริฟซดังแสดงในรูปที่ 2.8 (โดยมีเสนผานศูนยกลางในชองการไหล ที่หนาตัด A1 เปน D1, และเสน
ผานศูนยกลางที่ตรงทางเขาออริฟซเปน D0, และเสนผานศูนยกลางชวงที่ของไหลถูกอัดใหการไหลเหลือเล็กลง
ที่สุดเปน D2) และมีคาสัมประสิทธิของการไหลเปน C จากสมการที่ (2.24) และ (2.25) จะเขียนเปนสมการใหม
ไดเปน

2( p1 − p 2 )
Q = CA 0 (2.26)
ρ
ในแตละเสนทางการไหลสามารถใชสมการเบอรนูรี่มาคํานวณได จากสมการที่ (2.3) กับ สมการที่
(2.6) และ จะหา Q ไดวา

⎛p − p2 ⎞ ⎛p − p2 ⎞
2⎜⎜ 1 ⎟⎟ 2⎜⎜ 1 ⎟⎟(A 2 − A0 )
⎝ ρ ⎠ ⎝ ρ ⎠
Q = A2 = A0
⎛A ⎞
2
⎛A ⎞
2
(2.27)
1 − ⎜⎜ 2 ⎟⎟ 1 − (A 0 − A1 ) ⎜⎜ 2
2
⎟⎟
⎝ A1 ⎠ ⎝ A0 ⎠
C2 (p 1 − p 2 )
= A0 2
1−m C 2 2 ρ
2

D0

รูปที่ 2.8 การไหลผานนออริฟซ

จากสมการขางตน m = A0/A1 = (D0/D1)2 และสัมประสิทธิ์การหดตัว (Coefficient of Contraction)


C2 = A2/A0 = (D2/D0)2
จากสมการขางตนเมื่อเทียบกับสมการที่ (2.26) คาสัมประสิทธิ์การไหลของออริฟซ C จะสามารถหาไดจาก
สมการดังตอไปนี้

2-12
ตอนที่ 2 บทที่ 2 กลศาสตรของไหลเบื้องตน ตําราฝกอบรมผูรับผิดชอบดานพลังงาน(ผชพ) ดานความรอน

C2
C= (2.28)
1 − m 2 C 22
เมื่อคาเรยโนมีคามากไปจนถึงคาๆ หนึ่ง คา C2 จะเปนคาคงที่ คา C จะเปนคาที่ถูกกําหนดดวยคา m กลาวคือ คา
C จะไมขึ้นกับปริมาณการไหล แตจะเปนคาคงที่
เมื่อวัดความแตกตางของความดันที่ดานหนาและดานหลังแผนออริฟซก็จะสามารถคํานวณหาปริมาณ
การไหลได แตอยางไรก็ ต ามสํ า หรั บเครื่ อ งมือ วั ด การไหลแลวจะมี ขีด จํ า กัด ของการไหลที่ ต่ํา ที่ สุ ดอยู อั น
เนื่องมาจากคา C เปนคาคงที่ นอกจากนั้นเมื่อความเร็วของการไหลของกาซโดยทั่วไป มากกวา 0.2 เทาของ
ความเร็วเสียง จะทําใหไมสามารถละทิ้งเรื่องคุณสมบัติของการหดตัวเนื่องจากการอัดได จึงจําเปนที่จะตองมี
การปรับแกคา C เนื่องมาจากคุณสมบัตินี้ดวย

การไหลของเฮดแทงค (Head Tank)


การไหลจากเฮดแทงค ในกรณีที่ไมมีการสูญเสียความดัน ปริมาณการไหลออกทางอุดมคติ Q ∗ ระหวาง
ระดับน้ําในแทงค จากรูปที่ 2.9 ที่จุด 1 กับระดับที่ทางออกที่จุด 2 สามารถใชสมการที่ (2.6) ของเบอรนูรี่ในการ
คํานวณหาไดโดย

Q = Α Ε 2 gH (2.29)

เมื่อ AE คือ น้ําที่ทางออก (a x b)


H คือ z1 – z2
จากรูปที่ 2.9 ในการไหลในสภาพความเปนจริงจะมีการสูญเสียความดันอันเนื่องมาจากความเสียดทานในการ
ไหลฯลฯ ปริมาณการไหลจริง Q จะนอยกวาปริมาณการไหลทางอุดมคติ Q ∗ อยู

รูปที่ 2.9 การไหลในเฮดแทงค

Q = CQ* (2.30)

2-13
ตอนที่ 2 บทที่ 2 กลศาสตรของไหลเบื้องตน ตําราฝกอบรมผูรับผิดชอบดานพลังงาน(ผชพ) ดานความรอน

โดยคา C ในสมการนี้จะเหมือนกันกับคาสัมประสิทธิ์การไหล C ในสมการที่ (2.25)


ที่จุด 1, 2 เมื่อไมคิดคํานึงถึงความดันที่สูญเสียไป จากสมการที่ (2.6) จะไดวา
p2 = p1 + ρgH - ρV22/2 (2.31)
จากสมการที่ (2.3) V2 = Q/A2 = (Q/AE)(AE/A2) จะไดวา
⎡⎛ C ⎞2 ⎤
p 2 = p1 − ⎢⎜ ⎟ − 1⎥ρgH (2.32)
⎣⎝ C C ⎠ ⎦
จากสมการขางบนจะเห็นไดชัดเจนวา p2 จะเปนปฏิภาคโดยตรงกับ H

2.6 อุปกรณที่เกี่ยวของกับกลศาสตรของไหล
2.6.1 ปม (Pump)
ปมที่ถูกใชเพื่อขนถายของไหล คือเครื่องมือที่ใหพลังงานอยางตอเนือ่ งแกของไหล เมื่อปมถูกใชงาน
เราตองตรวจสอบแรงขับเคลื่อน สมรรถนะ ของปมนอกจากนั้นแลวตองระมัดระวังในเรื่อง การเกิดแควิเตชั่น
(Cavitation) การกัดกรอน ฯลฯ อีกดวย
แรงขับเคลื่อนของปม
จากสมการที่ (2.5) เมื่อพิจารณาการไหลของปมโดยใหตรงบริเวณทางเขาและตรงบริเวณทางออกของ
ปมเปน ตัวเลขกํากับ 1 และ 2 ตามลําดับ จากตัวปมของไหลจะไดรับพลังงานที่มีประสิทธิภาพตอปริมาณการ
ไหลเปน (Ein – Eloss) [J/kg] โดย

⎛ p 2 V22 ⎞ ⎛ p1 V12 ⎞
E in − E loss = ⎜ + + gz 2 ⎟ − ⎜ + + gz1 ⎟ = gH t (2.33)
⎝ρ 2 ⎠ ⎝ρ 2 ⎠
ในสมการนี้ Ht [m] จะเปนผลตางของเฮดรวมทั้งหมดที่ตรงบริเวณทางเขา-ออก ของปม เรียกวา
“เฮดรวม (Total Head)” กําลังขับที่ปมตองการใชคือ P
(Ein − Eloss )M&
P=
ηp
⎡⎛ p 2 V22 ⎞ ⎛ p1 V12 ⎞⎤ M&
= ⎢⎜⎜ + + gz 2 ⎟⎟ − ⎜⎜ + + gz1 ⎟⎟⎥ (2.34)
⎣⎢⎝ ρ 2 ⎠ ⎝ρ 2 ⎠⎦⎥ η p
M&
= gH t
ηp

ในสมการนี้ ηp เปนคาประสิทธิภาพของปม = (Ein – Eloss) /Ein และ M& เปนอัตราการไหลของมวลขาออก


[kg/s], Ht เปนเฮดรวม คา ρ เปนคาความหนาแนนของของไหล [kg/m3] และ g เปนคาอัตราเรงเนื่องจากแรง
ดึงดูดของโลก [m/s2]

2-14
ตอนที่ 2 บทที่ 2 กลศาสตรของไหลเบื้องตน ตําราฝกอบรมผูรับผิดชอบดานพลังงาน(ผชพ) ดานความรอน

ลักษณะสมบัติของปม (Pump Characteristics)


ในระหวางปม A, B ที่มีความคลายคลึงทางเรขาคณิต ที่จุดที่ปมมีประสิทธิภาพสูงสุด (จุดที่ออกแบบ)
โดยกฎของความคลายคลึง (Similarity Rules) จะไดวา
3 2 2 3 5
Q2 ⎛ N 2 ⎞⎛ D2 ⎞ H2 ⎛ N2 ⎞ ⎛ D2 ⎞ P2 ⎛ N 2 ⎞ ⎛ D2 ⎞
=⎜ ⎟⎜ ⎟⎟ , = ⎜⎜ ⎟⎟ ⎜⎜ ⎟⎟ , = ⎜⎜ ⎟⎟ ⎜⎜ ⎟⎟ (2.35)
Q1 ⎜⎝ N 1 ⎟⎠⎜⎝ D1 ⎠ H 1 ⎝ N1 ⎠ ⎝ D1 ⎠ P1 ⎝ N 1 ⎠ ⎝ D1 ⎠

เมื่อ Q คือ เปนคาปริมาตรของการไหลขาออก


H คือ เฮดรวม
P คือ กําลังขับของปม
N คือ ความเร็วรอบของปม
D คือ เปนเสนผานศูนยกลางของใบพัดของปม
ตัวอักษร 1, 2 ที่หอยเปนปมตัวที่ 1 และปมตัวที่ 2 ตามลําดับ

จากกฎของความคลายคลึงกันของปมหนึ่งๆ ในสมการที่ (2.35) เมื่อกําหนดใหเสนผานศูนยกลางของ


ใบพัดปมตัวที่ 1 เทากับตัวที่ 2 (D1 = D2 ) ณ จุดที่ปมมีประสิทธิภาพสูงสุดและเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงความเร็ว
รอบ จะไดวา Q จะเปลี่ยนแปลงเปนปฏิภาคโดยตรงกับ N และ H จะเปลี่ยนแปลงเปนปฏิภาคกับ N2 และ P จะ
เปลี่ยนแปลงเปนปฏิภาคกับ N3
การหาคาความเร็วจําเพาะ(Specific Speed :NS) จากสมการที่ (2.35) โดยทําการยายขางสมการชุดที่หนึ่ง
และสอง ใหอยูในรูปของ D2 / D1 แลวทําใหสมการชุดที่หนึ่งเทากับสมการชุดที่สอง แลวกําหนดใหคา H2 =
1,Q2 = 1, Q1 = Q, H1 = H, N1 = N, N2 = NS แทนลงไปจะไดสมการที่ (2.36) ซึ่งความเร็วจําเพาะ NS จะเปน
Parameter ที่สําคัญอยางหนึ่งในการเลือกแบบของปม

Q
NS = N 3
(2.36)
H 4

เมื่อ N คือ จํานวนรอบตอนาที (min-1)


Q คือ อัตราการไหล (m3/min)
H คือ เฮดรวม

Centrifugal Pump (ปมแรงเหวี่ยงหนีศูนย) : NS = 100 – 400


Diagonal Flow Pump : NS = 800 – 1000
Axial Flow Pump (ปมไหลตามแกน) : NS = มากกวา 1000 ขึ้นไป
แตอยางไรก็ตามปมแบบ Axial Flow จะเหมาะกับการสงของไหลที่มีปริมาตรมากๆ (ตองการสงของไหลจํานวน
มากๆ) แตมี เฮดรวมต่ําๆ (Low Total Head) ปมแบบนี้สามารถเพิ่มความเร็วรอบใหสูงขึ้นได รูปที่ 2.13 เปน
แผนภูมิแสดงเสนสมรรถนะของของปม 2 แบบ
2-15
ตอนที่ 2 บทที่ 2 กลศาสตรของไหลเบื้องตน ตําราฝกอบรมผูรับผิดชอบดานพลังงาน(ผชพ) ดานความรอน

รูปที่ 2.13 แผนภูมิเสนแสดงลักษณะสมบัติของปม

ปมแบบ Centrifugal Pump ในเสนแสดงประสิทธิภาพจะมีสวนโคงที่กลมใหญกวา จึงจะเห็นไดวาอัตราการไหล


เปลี่ยนไปประสิทธิภาพของปมจะเปลี่ยนแปลงไปเพียงเล็กนอย สําหรับปมแบบ Axial Flow นั้นจะเหมาะสมกับ
สถานที่ตางๆ ที่มีการเปลี่ยนแปลงเฮด (Head) แตตองการอัตราการไหลมากๆ ขอเสียของปมแบบนี้คืออัตราการ
ไหลที่ไดเพิ่มขึ้น แต Head ที่ไดจะต่ําลง

Net Positive Suction Head (NPSH)


ในชีวิตประจําวันเราพบวาของเหลวจะเดือดและกลายเปนไอถาอุณหภูมิสูงพอ แตตามความเปนจริง
แลวของเหลวอาจเดือดกลายเปนไอที่อุณหภูมิไมสูงนักก็ได ถาหากความดันบนผิวของของเหลวลดลงมากพอ
การทํ า งานของปมโดยทั่ ว ๆ ไปจะเปนการลดความดั น ในหองสู บ ลงใหต่ํ า กวาความกดดั น ของ
บรรยากาศกอนที่จะเพิ่มพลังงานใหกับของเหลว ดังนั้นถาของเหลวอยูระดับเดียวกันกับศูนยกลางของปม แรงที่
ขับดันใหของเหลวไหลเขาไปสูหองสูบก็จะมีแตความกดดันของบรรยากาศเพียงอยางเดียว หรือถาระดับของ
ของเหลวอยูสูงกวาก็จะมีแรงดันจากของเหลวมาชวยดวย ในทางตรงกันขาม ถาหากของเหลวไหลเขาไปในหอง
สูบที่เปนประโยชนอยางแทจริงก็คือความกดดันที่หนาหองสูบเฉพาะสวนที่มากกวาความดันไอของของเหลว
นั้น
NPSH ก็คือความดันสัมบูรณ (Absolute pressure) ทั้งหมด โดยบอกเปนแทงความสูงของของเหลว
หรือเฮดที่หนาหองสูบที่กอใหเกิดการไหลของของเหลวเขาไปในหองสูบของปม ลบดวยความดันไอของ
ของเหลวนั้น
หลักการของ NPSH ใชไดกับปมทุกประเภทไมวาจะเปนแบบเซนตริฟูกอล โรตารี่ หรือแบบลูกสูบชัก
คา NPSH มีความสําคัญตอการทํางานของปมมากเพราะวาถาคานี้ไมมากพอของเหลวในหองสูบจะกลายเปนไอ
ซึ่งมีผลใหประสิทธิภาพการทํางานลดลงมาก ปมจะเกิดการสั่นสะเทือนอยางรุนแรง อาจเกิดการกัดกรอนเนื้อ
โลหะของใบพัดหรือหองสูบและทําความเสียหายใหแกปมได การกัดกรอนเนื้อโลหะเนื่องจากสาเหตุดังกลาวนี้
2-16
ตอนที่ 2 บทที่ 2 กลศาสตรของไหลเบื้องตน ตําราฝกอบรมผูรับผิดชอบดานพลังงาน(ผชพ) ดานความรอน

เรียกวา คาวิเตชั่น (Cavitation)


NPSH มีอยู 2 แบบดวยกันคือ NPSH ที่ตองการ (Required NPSH: NPSHr) และ NPSH ที่มีอยู
(Available NPSH: NPSHa) สําหรับคาแรกเปนคาที่ขึ้นอยูกับการออกแบบปมซึ่งจะเปลี่ยนไปตามลักษณะอัตรา
การสูบ ความเร็ว ฯลฯ คาดังกลาวนี้บริษัทผูผลิตจะบอกมาพรอมกับรายละเอียดอยางอื่นของปม สวน NPSHa
ขึ้นอยูกับสภาพการทํางานที่ปมนั้นติดตั้งอยู กลาวคือเปนเฮดที่มีอยูจริงตามลักษณะการติดตั้ง ถาหากจะใหปม
ทํางานอยางมีประสิทธิภาพแลว NPSH ที่มีอยูจริงจะตองไมนอยกวาคาที่ตองการสําหรับปมนั้น
การคํานวณเกี่ยวกับ NPSH อาจจะพิจารณาไดโดยถือวาความดันสูงสุดที่กอใหเกิดการไหลเขาไปสู
ศูนยกลางของใบพัดมีคาไมเกินความดันจริงบนผิวของของเหลว หรือความดันของบรรยากาศเมื่อผิวของ
ของเหลวเปดสูบรรยากาศ (ประมาณ 101.325 kN/m2 หรือคิดเปนความสูงของแทงน้ํา 10.33 เมตร
ที่ระดับน้ําทะเลปานกลาง) เมื่อมีการไหลในทอดูดของปมก็จะมีการสูญเสียพลังงานในทอซึ่งจะตองนําเอามาหัก
ออกและเนื่องจากเราไมตองการใหของเหลวกลายเปนไอ ดังนั้น เพื่อความปลอดภัยจะตองนําเอาความดันไอ
ของของเหลวมาหักออกไวเสียกอน เหลือเทาใดจึงเปนความดันที่เหลืออยูที่หนาหองสูบ (NPSHa) ในกรณีที่
ระดับของของเหลวเทากับระดับศูนยกลางของใบพัด แตถาของเหลวมีระดับต่ํากวาก็จะตองนําเอาความตาง
ระดับนั้นมาหักออกอีกเหลือเทาไรจึงเปน NPSHa ในทางตรงกันขาม ถาของเหลวอยูสูงกวาศูนยกลางของใบพัด
ก็จะตองเอาความตางระดับนั้นมาบวกจึงจะไดเปน NPSHa
ในกรณีที่เปนการติดตั้งปมที่ทราบ NPSHr ความแตกตางระหวางความดันบรรยากาศกับผลรวมของการ
สูญเสียพลังงานทางทอดูด (Head losses) NPSHr และความดันไอจะเปนสิ่งบอกใหทราบวาจะสามารถติดตั้งปม
ใหอยูสูงกวาระดับของของเหลวไดมากที่สุดเทาใด เชน ถาความดันของบรรยากาศมีคาสูงกวาผลรวมดังกลาว 5
เมตร ก็จะบอกไดวาจะตั้งปมสูงกวาระดับผิวของของเหลวไดไมเกิน 5 เมตร แตถาความดันของบรรยากาศมีคา
นอยกวาผลรวมที่กลาว 3 เมตร ก็จะตองติดตั้งปมใหอยูต่ํากวาผิวของของเหลวไมนอยกวา 3 เมตร ปมจึงจะมี
NPSH ไมนอยกวาที่ตองการ เปนตน

แควิเตชั่น (Cavitation)
ในขณะที่ปมทํางานจุดใดจุดหนึ่งในปมอาจจะมีความดันลดลงมาต่ํากวาความดันของไออิ่มตัว ทําให
ของไหลกลายเปนไอขึ้นมา ในลักษณะของการเกิดฟองอากาศขึ้นอยางรวดเร็ว และฟองอากาศที่เกิดขึ้นจะถูกบีบ
อั ด ใหเล็ ก ลง และแตกกอใหเกิ ด เสี ย งดั ง และทํ า ใหเกิ ด ความเสี ย หายแกชิ้ น สวนภายในของเครื่ อ งได ซึ่ ง
ปรากฏการณนี้เรียกวา “แควิเตชั่น (Cavitation)” ความดันที่เกิดขึ้นจากการบีบอัดฟองอากาศใหแตกอาจจะสูง
กวาคาความดันบรรยากาศเปนรอยๆ เทา สรางความเสียหายใหแกชิ้นสวนที่สัมผัสกับน้ําโดยตรงไดอยางมาก
เมื่อเกิดโพรง/ชองวางขึ้น เฮดของปม (Head) ก็จะตกลงอยางรวดเร็วแมวาจะเปดวาวลก็ตามจะไมทําใหปริมาณ
การไหลเพิ่มขึ้น โดยจุดที่จะเกิดปรากฏการณนี้ขึ้นบอยๆคือสวนที่มีความดันต่ําๆ เชนสวนตรงบริเวณทางเขา
ของปม เมื่อความเร็วรอบ และปริมาณการไหลคงที่ แควิเตชั่นจะกําหนดไดจาก HSV ในสมการดังตอไปนี้ ซึ่ง
เรียกวา “เฮดทางเขาบวกสุทธิ (Net Positive Suction Head หรือเรียกชื่อยอวา NPSH)”

ρVs2
ρgH sv = p s + − pv (2.37)
2
2-17
ตอนที่ 2 บทที่ 2 กลศาสตรของไหลเบื้องตน ตําราฝกอบรมผูรับผิดชอบดานพลังงาน(ผชพ) ดานความรอน

กลาวคือ NPSH จะเปนความดันรวมของน้ําที่ตรงบริเวณทางเขาของปม (ในสมการนี้จะเปนผลรวมของเทอมที่ 1


กับเทอมที่ 2) หักออกดวยความดันไออิ่มตัว pV ปมที่มีความคลายคลึงทางเรขาคณิตเงื่อนไขการเกิด แควิเตชั่น
สามารถหาไดจากคําจํากัดความของความเร็วจําเพาะของการสูบ (Suction Specific Speed) S ดังสมการตอไปนี้

Q
S= N 34 (2.38)
H SV

เมื่อ N คือ ความเร็วรอบตอนาที [min-1]


Q คือ อัตราการไหล [m3/min]
HSV คือ เปนระดับสงจากปม
ตามลักษณะการไหลโดยทั่วๆ ไป การเกิดแควิเตชั่นจะไมขึ้นอยูกับแบบของปม สวนมากจะเกิดขึ้นที่ S
มีคาเทากับ 1200 นอกจากนั้นสําหรับปมแบบ Centrifugal กับ diagonal ที่จุดต่ํากวา 3% ของเฮด S ที่ทําใหเกิด
โพรงจะมีคาอยูระหวาง 1500-2000 สําหรับปมที่ไหลในแนวแกน S จะมีคา 1500
การปองกันการเกิด cavitation สามารถทําไดโดย
1. ถาเปนเครื่องสูบแบบ centrifugal
• อยาใหเฮดของระบบต่ํากวาเฮด ณ จุดที่ประสิทธิภาพของเครื่องสูบสูงสุดมากเกินไป
• อยาให capacity ของระบบสูงกวา capacity ณ จุดที่ประสิทธิภาพของเครื่องสูบสูงสุดมากเกินไป
• อยาสูบของเหลวที่อุณหภูมิสูงมากเกินไป
2. ถาเปนเครื่องสูบแบบ Axial
• อยาใหเฮดของระบบสูงกวาเฮด ณ จุดที่ประสิทธิภาพของเครื่องสูบสูงสุดมากเกินไป
• อยาให capacity ของระบบต่ํากวา capacity ณ จุดที่ประสิทธิภาพของเครื่องสูบสูงสุดมากเกินไป

หลักการเลือกปม
หลัก การเลือ กปมแบบเซนตริ ฟูก อลใหเหมาะกั บการใชงานอาจพิ จารณาได 3 ลั กษณะดวยกั นคื อ
พิจารณาจากวัตถุประสงคการใชงาน พิจารณาจากความเร็วจําเพาะรวมกับระยะดูดยก(Suction Lift) และ
พิจารณาจากกราฟแสดงลักษณะการทํางานของปม
ก. การพิจารณาจากวัตถุประสงคใชงาน ปจจุบันบริษัทผูผลิตไดผลิตปมใหมีคุณสมบัติเหมาะสมกับงาน
ใดงานหนึ่งโดยเฉพาะมากมายหลายแบบ ดังนั้น เพียงแตทราบวาจะนําไปใชงานอะไรและทราบสภาพการ
ทํางานที่ตองการอยางกวาง ๆ ก็จะสามารถจํากัดลักษณะและแบบลงมาเหลือเพียง 2-3 อยาง เชน ตองการปมสูบ
น้ําจากบอบาดาลก็จะตองใชปมประเภท Vertical Turbine ซึ่งยังอาจแบงออกไปอีกวาถาอัตราการสูบไมสูงนัก
อาจจะใชแบบที่ปมและมอเตอรจมอยูในน้ํา (Submersible Pump) หรือปมจุม แตถาอัตราการสูบสูงก็จะตองใช
Vertical Turbine ทีมีตนกําลังอยูปากบอ ในกรณีที่ตองการปมสําหรับการระบายน้ําโดยมีการควบคุมระดับไมให
สูงกวาที่กําหนดไว ผูเลือกปมก็จะเลือกโดยมุงจุดสนใจไปที่ปมซึ่งออกแบบไวสําหรับการระบายน้ํา มีอุปกรณ
ควบคุมการทํางานโดยใชลูกลอยซึ่งจะทําหนาที่เปดสวิทชเดินเครื่องเมื่อระดับน้ําในบอสูบเพิ่มขึ้นมาถึงระดับที่
2-18
ตอนที่ 2 บทที่ 2 กลศาสตรของไหลเบื้องตน ตําราฝกอบรมผูรับผิดชอบดานพลังงาน(ผชพ) ดานความรอน

กําหนดไว เปนตน ขอมูลที่นํามาใชตัดสินใจเลือกแบบของปมจะไดจากการรวบรวมขอมูลเบื้องตนสําหรับ


ออกแบบ
ข. การพิจารณาจากความเร็วจําเพาะรวมกับระยะดูดยก ความเร็วจําเพาะซึ่งคํานวณไดจากอัตราการสูบ
ความเร็ ว การหมุ น ของใบพั ด และเฮดของปมจะเปนตั ว เลขซึ่ ง บอกชนิ ด ของปมอยางกวาง ๆ กลาวคื อ
ถา ความเร็วจําเพาะมีคาอยูระหวาง 500 ถึง 3,000 ใบพัดและปมจะเปนชนิด Radial Flow ความเร็วจําเพาะจาก
3,000 ถึง 8,000 ใบพัดและปมจะเปนแบบ Mixed Flow และคาความเร็วจําเพาะจาก 8,000 ถึง 15,000 ใบพัดจะ
เปนแบบ Axial flow เปนตน นอกจากจะสัมพันธกับชนิดของใบพัดแลว ความเร็วจําเพาะยังสัมพันธกันกับระยะ
ดูดยกสูงสุด หรือเฮดทางดานดูด (Suction Head) ต่ําสุดของปมที่จะไมทําใหเกิดคาวิเตชั่นดวย
โดยทั่วๆ ไปแลวปมที่มีความเร็วจําเพาะต่ําหรือปมประเภท Radial Flow จะใชกับงานที่มีระยะดูดยกสูง
ไดดี ก วาปมซึ่ ง มี ค วามเร็ ว จํ า เพาะสู ง การใชปมที่ มี ค วามจํ า เพาะสู ง ในงานที่ มี ร ะยะดู ด ยกสู ง จะทํ า ใหเกิ ด
คาวิเตชั่น หรือมีเสียงดังและอาจทําใหปมเสียหายได คาความเร็วจําเพาะสูงสุดที่จะใชไดสําหรับระยะดูดยก
ขนาดตาง ๆ

รูปที่ 2.14 ความเร็วจําเพาะสูงสุดสําหรับปมซึ่งมีใบพัดชั้นเดียว(single stage) ใบพัดดูดดานเดียวและสองดาน


ใชสูบน้ําใสที่อุณหภูมิและความดันปกติ

2-19
ตอนที่ 2 บทที่ 2 กลศาสตรของไหลเบื้องตน ตําราฝกอบรมผูรับผิดชอบดานพลังงาน(ผชพ) ดานความรอน

ค. การพิ จ ารณาจากกราฟแสดงลั ก ษณะการทํ า งานของปม เมื่ อ ไดเลื อ กปมโดยพิ จ ารณาจาก


วัตถุประสงคใชงาน ความเร็วจําเพาะ และลักษณะการดูดยกน้ําทางดานดูดแลวก็จะสามารถบอกไดวาควรใชปม
แบบใด แตเนื่อ งจากวาในแตละแบบหรือ โมเดลของบริ ษัท ผู ผลิ ตรายหนึ่ง ยั งมี ขนาดและชวงการทํา งานที่
เหมาะสมแตกตางกันออกไปอีก และปมของแตละบริษัทก็มีการออกแบบแตกตางกัน ดังนี้จึงจําเปนตองนําคา
อัตราการสูบและเฮดหรือกราฟเฮดของระบบ (System Head Curve) มาพิจารณารวมกับกราฟแสดงลักษณะการ
ทํางานของปมจึงจะไดเครื่องขนาดที่เหมาะสมตามความตองการใชงานอยางถูกตอง
ในกรณีที่บริษัทผลิตปมผลิตแบบหรือโมเดลเดียวกันหลายขนาด เขาก็จะเอาชวงหรือขอบเขตการ
ทํางานที่เหมาะสมของแตละขนาดมาเขียนรวมอยูในกราฟแผนเดียวกันดังแสดงในรูป รูปดังกลาวนี้เรียกวา
Composite Rating Chart ซึ่งจะแสดงใหเห็นถึงขอบเขตการทํางานที่เหมาะสมของปมขนาดตางๆ ที่เปนโมเดล
เดียวกัน
ถึงแมวา Composite Rating Chart จะใหขนาดของปมที่เหมาะสมของโมเดลใดโมเดลหนึ่งที่เลือกเอาไว
แตผูเลื อกใชจะไมทราบการทํางานที่แทจริ งของปมเครื่อ งดังกลาว กลาวคือ ไมทราบอัตราการสูบและเฮด
ตลอดจนประสิทธิภาพการทํางานที่แทจริงวาเทากับเทาไร สิ่งเหลานี้จะมีความสําคัญตอการตัดสินใจเลือกใช
มากโดยเฉพาะอยางยิ่งปมขนาดใหญ
จุดที่ปมทํางานหรืออัตราการสูบและเฮดที่จะไดจากปมจําเปนตองดูจากจุดตัดระหวางกราฟ Q-H (Q-H
Curve) และกราฟเฮดของระบบ (System Head Curve) โดยปกติแลวบริษัทผูผลิตจะไมแสดงกราฟ Q-H เพียง
อยางเดียวเพราะจะไมชวยในการตัดสินใจเลือกใชเทาไรนัก แตจะใหกราฟแสดงรายละเอียดอยางอื่นมาดวย เชน
ประสิทธิภาพการทํางาน แรงมาที่ตองการ NPSHr และกราฟ Q-H เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงรอบการหมุน หรือเมื่อ
มีการเปลี่ยนแปลงเสนผานศูนยกลางของใบพัดเปนตน กราฟเหลานี้จะรวมเสนอในแคทตาลอกที่เรียกวา Pump
Characteristics Curve หรือ Performance Curve
Performance Curve อาจแบงออกเปน 3 ลักษณะใหญๆ ดวยกันคือ
1. กราฟ H-Q รวมกับกราฟประสิทธิภาพ Efficiency Curve และแรงมาที่ตองการ (Bhp-Q Curve)

รูปที่ 2.15 แสดงกราฟ H-Q รวมกับกราฟประสิทธิภาพ Efficiency Curve และแรงมาที่ตองการ


(Bhp-Q Curve)

2-20
ตอนที่ 2 บทที่ 2 กลศาสตรของไหลเบื้องตน ตําราฝกอบรมผูรับผิดชอบดานพลังงาน(ผชพ) ดานความรอน

2. กราฟ H-Q หลายเสนของปมที่มีใบพัดขนาดใดขนาดหนึ่ง แตละเสนสําหรับรอบการหมุนคงที


ขนาดหนึ่งซึ่งรวมทั้งความเร็วมาตรฐานของมอเตอรดวย กราฟเหลานี้มักจะแสดงควบคูกับเสนประสิทธิภาพการ
ทํางานที่เทากัน (ISO – Efficiency Curve) ดังแสดงในรูป Characteristic Curve แบบนี้เหมาะสําหรับใชเลือกปม
สําหรับตนกําลังเปลี่ยนแปลงรอบได เชนเครื่องตนกําลังที่เปนเครื่องยนต เปนตน เพราะจะเปดโอกาสใหเลือกใช
ความเร็วสําหรับอัตราการสูบและเฮดขนาดใดขนาดหนึ่งใหมีประสิทธิภาพการทํางานสูงได

รูปที่ 2.16 แสดงกราฟ H-Q ของปมที่มีความเร็วรอบตางกัน

3. กราฟ H-Q หลายเสน แตละเสนไดจากใบพัดแบบเดียวกันแตมีขนาดเสนผานศูนยกลางตางกัน


ใบพัดทุกขนาดหมุนดวยอัตราเร็วเทากัน กราฟเหลานี้จะแสดงควบคูกับเสนแสดงประสิทธิภาพการทํางานและ
แรงมาที่ตองการเชนเดียวกับแบบที่แลว กราฟชุดนี้เหมาะสําหรับตนกําลังที่มีอัตราการหมุนคงที่ เชนมอเตอร
ดังนั้นถาอัตราการสูบไมตรงกับที่ตองการก็จะตองปรับเสนผานศูนยกลางของใบพัดโดยใช Affinity Low หรือ
จากการทดลองวัดจริง

2-21
ตอนที่ 2 บทที่ 2 กลศาสตรของไหลเบื้องตน ตําราฝกอบรมผูรับผิดชอบดานพลังงาน(ผชพ) ดานความรอน

รูปที่ 2.17 แสดงกราฟ H-Q ของปมที่มีเสนผานศูนยกลางใบพัดตางกัน

2.6.2 อุปกรณสงลม (Blower)


ในระหวางที่ใชอุปกรณ/เครื่องสงลม (Blower) กําลังสมรรถนะเปนสิ่งที่จําเปนตองตรวจสอบ
นอกจากนั้น การเกิดการสูญเสียของความเร็วก็ยังเปนสิ่งที่ตองระมัดระวังเชนกัน และควรมีมาตรการปองกันใน
เรื่องของเสียงดังรบกวนอีกดวย

แรงขับเคลื่อนของอุปกรณสงลม
แรงขับเคลื่อนในแนวแกนของอุปกรณสงลม (Blower) หรือเครื่องอัดอากาศ (Compressor) สามารถหา
ไดเชนเดียวกับกับสมการที่ (2.34) ที่เปนสมการของปม คือ

P = Ein M&
= (Ein – Eloss) M& /ηc (2.39)

ในสมการนี้ ηc คือคาประสิทธิภาพของ อุปกรณสงลม, เครื่องอัดอากาศ คา (Ein – Eloss) [J/kg] คือคาพลังงาน


จากการไหลของแก็ส ซึ่งมีหนวยเปนพลังงานที่มีประสิทธิภาพที่ไดรับมาจากภายนอกตอหนวยของมวลสารที่
ไหล เมื่อแก็สที่มีความดัน p1 ถูกอัดใหเปนความดัน p2 ซึ่งเปนการเปลี่ยนแปลงแบบเอนโทรปคงที่ (กระบวนการ
ที่ผันกลับไดแบบแอเดียแบติค) พลังงานที่จําเปนตองใชในกระบวนการนี้ (งานทางอุดมคติ) ซึ่งก็จะเหมือนกัน
กับสมการที่ (2.33) ซึ่งจะไดสมการดังตอไปนี้

Ein – Eloss = gHad (2.40)

ในสมการนี้คา Had จะเรียกวาคา “Adiabatic head” ซึ่งก็จะเหมือนกันกับคาเฮดรวม (Total Head) ของปม ของ
2-22
ตอนที่ 2 บทที่ 2 กลศาสตรของไหลเบื้องตน ตําราฝกอบรมผูรับผิดชอบดานพลังงาน(ผชพ) ดานความรอน

ไหลเมื่อไดรับพลังงานจากภายนอกสามารถแสดงในรูปของพลังงานศักยไดโดยใชสมการที่ (2.34) และสามารถ


เขียนใหมไดเปน

P = gHad M& /ηc (2.41)

อัตราสวนความดันรวม (pt2)ในดานที่ขับลมออกมาจากอุปกรณสงลม กับความดันรวม (pt1)ในดานที่ดูดลมเขา


ไปในอุปกรณ ในกรณีของอุปกรณสงลมที่คามีอัตราสวนนี้นอยๆ (เชนในกรณีของพัดลม) เมื่อพิจารณาใหเปน
ของไหลที่อัดตัวไมได กําลังขับเคลื่อนของพัดลมสามารถหาไดเชนเดียวกันกับในสมการที่ (2.34) เมื่อไม
คํานึงถึงพลังงานศักย จะไดสมการใหมวา

P = M& (pt2 – pt1)/(ρηc)


= (pt2 – pt1) Q/ηc (2.42)

ลักษณะสมบัติของอุปกรณสงลม (Blower Characteristics)


ในการเลือกอุปกรณสงลมนั้นนอกจากสภาพรูปแบบซึ่งเปนสิ่งสําคัญที่ตองพิจารณาแลว คาความเร็ว
จําเพาะก็เปนคาที่สําคัญที่ตองคํานึงถึงดวยเชนเดียวกับปม

Q
NS = N 3/ 4
(2.36)
H ad

ในสมการนี้คา N คือความเร็วรอบตอนาที [min-1], Q คืออัตราการไหล [m3/min], Had เปนAdiabatic Head ของ


อุปกรณสงลม [m] ซึ่งก็เหมือนกันกับปม ชนิดของอุปกรณสงลมมีคา NS ที่เปนพื้นฐานดังตอไปนี้
พัดลมแบบ Centrifugal : NS = 300 – 1000
Blower แบบ Centrifugal : NS = 150 – 400
พัดลม, Blower แบบ Axial : NS = 1000 – 2500

ขอที่ควรระมัดระวังในการเปรียบเทียบคุณลักษณะและการเลือกชนิดของพัดลม
1. ประสิทธิภาพในขณะเดินเครื่องโดยทั่วไปแลวพัดลมแบบ Axial Flow จะดีกวาพัดลมแบบ
Centrifugal นอกจากนั้นกําลังขับจะสูง การเดินเครื่องในระยะเวลานานๆ พัดลมแบบ Axial Flow จะดีกวา แต
ทวาพัดลมแบบ Axial นั้นเมื่อใชงานที่สภาวะตางจากที่จุดออกแบบซึ่งเปนจุดที่ดีที่สุดแลว (จุดที่ใหปริมาณการ
สงลมที่กําหนด) ประสิทธิภาพจะลดลงอยางรวดเร็ว ดังนั้นเมื่อตองการนําไปใชในกรณีที่มีการเปลี่ยนแปลง
ปริมาณลมมากๆ ในกรณีแบบนี้ควรจะใชพัดลมแบบ Centrifugal หรือควรใชพัดลมแบบ Axial Flow ที่สามารถ
ติดใบพัดไดหลายใบจะดีกวา
2. ในกรณีที่ตองการสงลม ที่ใชปริมาณการสงลมเปนชวงกวางๆ ถาตองการพัดลมที่ไมมีปญหา มี
เสถียรภาพในการเดินเครื่องสูงแลวควรจะเลือกพัดลมแบบ Centrifugal แบบที่มีใบพัดโคงไปขางหลัง, หรือควร
เลือกพัดลมแบบ Radial จะดีกวาที่จะเลือกพัดลมแบบ Axial Flow หรือพัดลมหลายใบพัด (พัดลมแบบ
Centrifugal ที่มีใบพัดโคงไปขางหนา) ซึ่งไมเหมาะสม
2-23
ตอนที่ 2 บทที่ 2 กลศาสตรของไหลเบื้องตน ตําราฝกอบรมผูรับผิดชอบดานพลังงาน(ผชพ) ดานความรอน

3. กําลังขับในแนวแกนของพัดลมหลายใบพัดนั้น เมื่อปริมาณลมที่สงเพิ่มมากขึ้น กําลังที่ใชขับก็จะ


เพิ่มมากขึ้นไปดวย พัดลมแบบ Axial Flow นั้นที่จุด A Point of Cutoff คากําลังขับในแนวแกนจะมีคาสูงมากกวา
แบบอื่นๆ จึงจําเปนอยางยิ่งที่จะตองพิจารณาถึงเครื่องตนกําลัง (Prime Mover) ที่จะนํามาใชขับดวย
4. สําหรับพัดลมแบบหลายใบนั้นพัดลมแบบ Centrifugal จะมีขนาดเล็กที่สุด แตพัดลมแบบ Axial
Flow จะใหความเร็วสูงมีน้ําหนักเบา จึงเหมาะสมมากกับบริเวณที่มีพื้นที่จํากัด หรือมีขอจํากัดทางดานน้ําหนัก
แตอยางไรก็ตามพัดลมแบบ Axial Flow ซึ่งมีความเร็วรอบสูงจะมีเสียงดังรบกวนมากกวาพัดลมแบบ
Centrifugal

ขอควรระมัดระวังในการเดินเครื่อง
อุปกรณสงลมนั้นโดยปกติแลวจะสงปริมาณลมออกมาตามกําหนด (ตามที่ออกแบบไว) ซึ่งเปนจุดที่
ใกลเคียงกับจุดที่มีประสิทธิภาพสูงสุด การเดินเครื่องโดยไมสงลมตามที่กําหนดของเครื่อง ก็อาจจะเปนสาเหตุที่
ทําใหเกิด Surging, การสูญเสียการทรงตัวในการหมุนฯลฯ เกิดขึ้น ซึ่งเปนอุปสรรคในการสงลม Surging
เหมือนกันกับในกรณีของปม เมื่อความเร็วรอบคงที่และมีการปดวาลวลงเล็กนอยจะทําใหความดันของ
กระแสของไหลเพิ่มสูงขึ้น ซึ่งในแผนภูมิของความดัน เสนของความดันก็จะขึ้นไปในชวงขวาบน การไหลก็จะ
สูญเสียความมีเสถียรภาพไปอยางรวดเร็ว ปริมาณลมและความดันก็จะกอใหเกิดแรงกระตุนขึ้น ทั้งตัวอุปกรณสง
ลมตลอดจนระบบทอทั้งหมดก็จะเกิดการสั่นขึ้น ซึ่งเรียกวา “Surging”
มาตรการในการปองกัน
(1) พยายามหลีกเลี่ยงสิ่งที่จะทําใหเสนความดันขึ้นไปทางขวามือในแผนภูมิเสนความดัน
(2) ใชอุปกรณ By Pass เขาชวย
(3) เดินเครื่องโดยใช วาลว 2 ตัว (ใหใชวาลวปรับปริมาณลมกับ Stop Valve ที่สวนดูด หรือสวนที่พน
(ปลอยลมออก))
(4) การปรับปริมาณลมใหเหมาะสมทําไดโดยการเปลี่ยนแปลงความเร็วรอบ
(5) ปดวาลวที่สวนดูดลมเขา
การสูญเสียการทรงตัวในการหมุน
การสูญเสียการทรงตัวในการหมุนจะพิจารณาในอุปกรณสงลมตามแนวแกน, เครื่องอัดอากาศใน
แนวแกน การเดินเครื่องโดยไมใชตามปริมาณลมที่ไดกําหนดไวในเครื่อง ก็จะมีใบพัดบางใบสูญเสียการทรงตัว
เนื่องจากการหมุน และจะเปนสาเหตุใหใบพัดอื่นๆ สูญเสียการทรงตัวในการหมุนตามไปดวย จะทําใหความดัน
เปลี่ยนแปลงไปอยางรวดเร็วและสรางความเสียหายใหแกใบพัด
มาตรการในการปองกัน
(1) ออกแบบไมใหเกิดการสูญเสียการทรงตัวในการหมุนขึ้นโดยการเลือกชนิดของอุปกรณที่จะ
นํามาใช
(2) ใชอุปกรณ By Pass เขาชวย

2-24
ตอนที่ 2 บทที่ 2 กลศาสตรของไหลเบื้องตน ตําราฝกอบรมผูรับผิดชอบดานพลังงาน(ผชพ) ดานความรอน

การควบคุมปริมาณของอุปกรณสงลม
อุปกรณในการสงลม มีหนาที่ในการสงลม, ระบายอากาศ, และปลอยอากาศออกสูบรรยากาศ ซึ่งจะมี
วัตถุประสงคแตกตางจากอุปกรณอัดอากาศ (Compressor) การควบคุมปริมาณลมที่ใชในชวงการใชงานที่กวางนี้
เปนสิ่งที่จําเปน
ในหมอตมไอน้ําหรือในเตาเผาในอุตสาหกรรมนั้น ระบบในการสงลมเขาไปสามารถเขียนใหดูเปน
ระบบที่งายๆ ดังในรูปที่ 2.18 ถาใหความดันภายในหองสงลมเปน pb, และความดันที่สูญเสียของทอทางออกที่
พน (ปลอย) อากาศเปน Δp ดังนั้นความดันที่ตรงทางเขาของทอทางเขาของระบบนี้จะมีคาเปน (pb + Δp) ถาให
ปริมาณลมที่ถูกดูดเขาเปน Q, จากสมการที่ (2.19) จะเห็นวา Δp ∝ Q2 ในรูปที่ 2.19 เสนโคง R ที่แสดง (pb +
Δp) ซึ่งเรียกวา “เสนโคงความตานทานของระบบทอ” ที่จุดตัดที่ (1) ซึ่งเกิดจากการตัดกันของเสนโคงความ
ตานทานกับเสนโคงสมรรถนะของความดัน และเนื่องจาก p2 จะตองเทากันกับ pb + Δp ณ. จุดนี้ในขณะที่
เดินเครื่อง ปริมาณการไหลของลมจะถูกกําหนดโดย จุดตัดนี้ซึ่งเรียกวา “จุดเดินเครื่อง” ซึ่งก็เปนจุดที่จะแสดง
สมรรถนะของอุปกรณสงลม, เครื่องอัดอากาศไมวาจะเปน พัดลม (Fan), โบรเวอร (Blower), คอมเพรสเซอร
(Compressor) จากสมการที่ (2.35), (2.37) ซึ่งแสดงไวใหเห็นไดอยางชัดเจน โดยในแนวแกนตั้งจะแทน ความ
ดัน (ของอากาศ) ที่ขณะไหล (ปลอย) ออกดวย Adiabatic Bed หรือแทนดวยงานจําเพาะ

ระบบทอ
อุปกรณสงลม
หองสงอากาศ
ทอดูดเขา

รูปที่ 2.18 ระบบสงอากาศเขา รูปที่ 2.19 การควบคุมปริมาณลมอันเนื่องมาจาก


ความตานทานของระบบทอที่ปลอยอากาศออก

วิธีการควบคุมปริมาณลม ณ ที่จุดเดินเครื่องของอุปกรณสงอากาศสามารถหาไดดวยวิธีการดังตอไปนี้
1. การควบคุมปริมาณลมโดยอาศัยความตานทานของ (ระบบ) ทอพนลมออก (ทอปลอยลม)
เมื่อหรี่ (ปด) แดมเปอรทอพนลมของอุปกรณสงลม ความตานทานอันเนื่องมาจากระบบของทอพนลม
ที่แสดงในรูปที่ 2.19 คา R จะเพิ่มขึ้นเปน R' จุดที่ใชในการเดินเครื่องจะเคลื่อนยายจากจุดที่ (1) ไปยังจุดที่ (2)
เมื่อใหความดัน pb ในกระแส Downstream คงที่ จะทําใหสามารถลดปริมาณลมจาก Q ไปเปน Q' ได
วิธีการนี้จะสามารถควบคุมปริมาณลมที่สงออกมาจากอุปกรณสงลมที่ใชมอเตอรที่มีความเร็วคงที่ใน
การขับเคลื่อนไดอยางงาย ความตานทานทั้งหมดที่เพิ่มขึ้นก็จะถูกเปลี่ยนเปน ความดันสูญเสีย (การสูญเสีย
2-25
ตอนที่ 2 บทที่ 2 กลศาสตรของไหลเบื้องตน ตําราฝกอบรมผูรับผิดชอบดานพลังงาน(ผชพ) ดานความรอน

พลังงานที่มีประสิทธิภาพ) ในกรณีที่ตองการใชปริมาณลมมากๆ จะมีการสูญเสียพลังงานเกิดขึ้นมาก ดังนั้นจึง


ควรใชอุปกรณสงลมแบบเล็กจะดีกวา
นอกจากนั้นเมื่อหรี่ (ปด) หรือลดปริมาณลมลงมากเกินไป เสนโคงความดันจะเขาสูยานดานขวาบน ซึ่ง
เปนยานที่ไมมีเสถียรภาพ (มีการเกิด Surging, การสูญเสียการทรงตัวในการหมุน) และการทํางานของเครื่องจะ
ไมเขาสูจุดเดินเครื่อง ซึ่งเปนสิ่งที่ควรจะตองระมัดระวัง เมื่อเดินเครื่องที่ความเร็วรอบคงที่ และพอปด (หรี่)
ปริมาณลมที่สงออกมาจากอุปกรณสงลมตามแนวแกนจะลดลง ซึ่งไมเพียงแตจะไมชวยในดานการประหยัด
พลังงานแลว แรงขับเคลื่อนในแนวแกนที่จําเปนตองใชยังจะเพิ่มขึ้นอีกดวย จึงตองระวังในเรื่อง การที่เครื่องมี
ภาระมากเกินไป (Over Load) อีกดวย
2. การควบคุมปริมาณลมโดยความตานทานของ (ระบบ) ทอทีด่ ูดลมเขา
เมื่อทําใหความตานทานตอการไหลเพิ่มมากขึ้น ปริมาณลมก็จะลดลง ซึ่งก็จะเหมือนกันกับในขอ 1.
แตวิธีการนี้จะดีกวาวิธีกอนมาก เมื่อปด (หรี่) แดมปเปอรที่ทางเขาหรือทางดูดอากาศ แรงดันที่ใชสําหรับการดูด
ของอุปกรณสงลมก็จะลดลง เมื่ออัตราสวนของแรงอัดคงที่ แรงดันที่ใชสงอากาศจะลดลงเปนปฏิภาคโดยตรง
กับแรงดันที่ใชดูดอากาศเขามา ดังแสดงในรูปที่ 2.20 เสนโคงความดัน ก็จะลดลงจาก K1 ไปสู K2 จุดเดินเครื่องก็
จะเคลื่อนยายจากจุดที่ (1) ไปยังจุดที่ (2)

รูปที่ 2.20 การควบคุมปริมาณลมโดยความตานทานของ(ระบบ) ทอที่ดดู ลมเขา

วิธีการนี้จะดีกวาวิธีกอนมาก เมื่อปด (หรี่) แดมปเปอรที่ทางเขาหรือทางดูดอากาศ แรงดันที่ใชสําหรับ


การดูดของอุปกรณสงลมก็จะลดลง เมื่ออัตราสวนของแรงอัดคงที่ แรงดันที่ใชพนอากาศจะลดลงเปนปฏิภาค
โดยตรงกับแรงดันที่ใชดูดอากาศเขามา ดังแสดงในรูปที่ 2.20 เสนโคงความดัน ก็จะลดลงจาก K1 ไปสู K2 จุด
เดินเครื่องก็จะเคลื่อนยายจากจุดที่ (1) ไปยังจุดที่ (2)
นอกจากนั้นการลดลงของความดันที่ใชในการดูดลมเขา จะทําใหความหนาแนนของกาซที่ถูกดูดเขามา
ลดลงดวย ซึ่งจะทําใหปริมาณการไหลของมวลลดลงอยางมาก ซึ่งอาจจะชวยลดกําลังที่ตองใชในการขับเคลื่อน
ไดก็จริง แตจะมีอากาศจํานวนหนึ่งถูกดูดเขาไปทาง ซีล (Seal) บริเวณขอตอของแกน ซึ่งจะเปนขอเสีย
จุดเดินเครื่องที่ทําใหเกิด Surging นั้นจะถูกกําหนดโดยปริมาตรการที่ถูกดูดเขามา ในเรื่องของการไหล
ของมวลสารแลววิธีการนี้จะดีกวาขอ 1. ขอบเขตที่จะทําใหเกิด Surging จะเคลื่อนยายเขาไปสูที่บริเวณที่มี
ปริมาณการไหลที่นอยลง จึงสามารถเดินเครื่องไดในขอบเขตที่กวางกวา

2-26
ตอนที่ 2 บทที่ 2 กลศาสตรของไหลเบื้องตน ตําราฝกอบรมผูรับผิดชอบดานพลังงาน(ผชพ) ดานความรอน

3. การควบคุมโดย Inlet Guide Vane (IGV)


ในกรณีที่สามารถนํา IGV ที่สามารถเปลี่ยนแปลงไดมาใช โดยการหรี่ชองการไหลทางดูดลมเขาจะ
สามารถควบคุมปริมาณลมภายใหมีประสิทธิภาพที่ดีได ที่ตรงบริเวณกอนทางเขาของใบพัด โดยกลไกของ Link
ที่ทําการปดเปด กาซที่เขาเขาสูใบพัดจะมิทิศทางการหมุนไปในทิศทางเดียวกันกับการหมุนของใบพัด งานทาง
อุดมคติของใบพัด (Adiabatic Head) ก็จะลดลงทําใหสามารถควบคุมปริมาณลมได วิธีการควบคุมความเร็วรอบ
ที่จะกลาวถึงตอไปนี้ จะเปนทางเลือกอีกวิธีหนึ่งที่จะชวยลดกําลังขับในแนวแกนลงเมื่อเดินเครื่องในสภาวะไม
Full Load จะเกิด Surging ดังแสดงในรูปที่ 2.21 นั้น เมื่อหรี่วาวลตัวดูดอากาศขาเขาลง ก็จะทําใหปริมาณอากาศ
ลดลงไปดวย การปดวาวลลงจะสามารถชวยทําใหเดินเครื่องในชวงปริมาณลมที่กวางๆ ได วิธีการควบคุมโดยใช
IGV นั้นนิยมใชกันมากกับอุปกรณสงลมแบบ Centrifugal

รูปที่ 2.21 การควบคุมปริมาณลมโดยใช Inlet Guide Vane ในการควบคุม

4. การควบคุมความเร็วรอบ
สมรรถนะของอุปกรณสงลมสามารถควบคุมไดโดยการควบคุมความเร็วรอบของเครื่อง และก็เปนอีก
วิธีที่ใชในการควบคุมปริมาณลม โดยวิธีการควบคุมแบบนี้จะสามารถลดกําลังขับเคลื่อนในแนวแกนเมื่อเครื่อง
ทํางานที่ไมเต็มภาระทั้งหมด (ไมไดทํางานที่ Full Load) และยังสามารถใชกับปริมาณลมในชวงกวางๆไดอีก
ดวย เปนวิธีการควบคุมที่สามารถประหยัดพลังงานไดเปนอยางดี และนิยมใชกันมาก
ดังในรูปที่ 2.22 อุปกรณสงลมที่มีอัตราสวนแรงอัดนอยๆ (เชนพัดลม Fan) ความตานทานในระบบทอ
ก็จะแสดงไดเปนเสนโคงที่สอง (โดยในรูปที่ 2.18 ก็จะใหคา pb ที่เกือบๆ จะเทากับคา p0) สําหรับพัดลมแลวก็จะ
เหมือนกันกับปมซึ่งสามารถใชสมการของความคลายคลึงที่ 2.34 ได ในชวงที่ประสิทธิภาพคงที่ ปริมาณลมจะ
เปนปฏิภาคโดยตรงกับความเร็วรอบ กําลังขับเคลื่อนในแนวแกนก็จะเปนปฏิภาค กําลัง 3 กับความเร็วรอบ
ระบบการควบคุมปริมาณลมจากอุปกรณสงลมที่ใชกับหมอตมไอน้ํา หรือเตาอุนที่ตองการใชความรอน
นั้น ในทางปฏิบัติจริงๆ แลวจะใชวิธีการควบคุมหลายๆ แบบมารวมกันควบคุม กลาวคือ ที่ความเร็วรอบต่ําที่สุด
ของตัวขับเคลื่อน (มอเตอร) ก็จะใชการควบคุมปริมาณลมโดยใชการควบคุมความเร็วรอบ วิธีการอื่นๆ
นอกจากนั้นจะใชวิธีควบคุมโดยใช Inlet Guide Vane

2-27
ตอนที่ 2 บทที่ 2 กลศาสตรของไหลเบื้องตน ตําราฝกอบรมผูรับผิดชอบดานพลังงาน(ผชพ) ดานความรอน

รูปที่ 2.22 การควบคุมปริมาณลมโดยการควบคุมที่ความเร็วรอบของเครื่อง


5. การควบคุมโดยการเปลี่ยนระยะ Pitch ของใบพัดของอุปกรณสงลมในแนวแกน (Axial Flow)
การควบคุมโดยการเปลี่ยนระยะ Pitch ที่สามารถเปลี่ยนแปลงไดของใบพัดแบบนี้เปนลักษณะเฉพาะที่
มีอยูในอุปกรณสงลมในแนวแกน (Axial Flow) การควบคุมสามารถทําไดโดยการเปลี่ยนมุมของใบพัดที่หมุน
ดวยวิธีการนี้สามารถที่จะควบคุมปริมาณลมที่จะใชงานไดในชวงที่กวางกวาวิธีการอื่นที่กลาวมา และกําลังขับ
ในแนวแกนที่จําเปนตองใชก็จะนอยลง (ในกรณีที่เสนโคงความตานทานของระบบทอเปนเสนที่สอง) ในกรณีที่
เสนโคงความตานทานของระบบทอเปนเสนที่สองนั้น ในอุปกรณสงลมแบบแรงเหวี่ยง (Centrifugal) ที่ควบคุม
ดวย IGVเมื่อปริมาณลมลดลงประสิทธิภาพของอุปกรณสงลมก็จะต่ําลงแรงขับเคลื่อนในแนวแกนที่จําเปนก็จะ
ลดลงแตไมมากนัก ในอุปกรณสงลมในแนวแกนที่มีการควบคุมโดยการใชวิธีปรับระยะ Pitch มาควบคุมนั้น
เมื่อเครื่องทํางานที่ปริมาณลมไมเต็มภาระ (ปริมาณลมไมใชที่ Full Load) ประสิทธิภาพจะลดลงเล็กนอย กําลัง
ขับในแนวแกนก็จะเปนปฏิภาคโดยตรงกับกําลัง 3 ของปริมาณลมซึ่งก็จะใกลกับสิ่งที่ลดลง ในกรณีที่ตองการ
ปริมาณลมมากๆ และตองการประสิทธิภาพในทางดานการประหยัดพลังงานที่สูงขึ้น เชนใน หมอตมไอน้ําขนาด
ใหญ อุปกรณสงลมที่ใชสําหรับการระบายอากาศ จะนิยมใชการควบคุมแบบนี้
6. การควบคุมจํานวน (เครื่อง/อุปกรณ)
โดยทั่วไปแลวเมื่อตองการใหปริมาณลมเพิ่มขึ้นก็จะใชอุปกรณสงลมมาเดินเครื่องแบบขนานกัน รูปที่
2.23 แสดงเสนโคงสมรรถนะรวมของอุปกรณสงลม 2 ตัวที่มีสมรรถนะเทากัน โดยใหทั้ง 2 ตัวมาทํางานใน
แบบขนาน (Parallel) กันและแบบอนุกรมกัน (Series) เสนโคงแสดงสมรรถนะของการเดินเครื่องที่ขนานกัน 2
ตัวนั้น ที่แรงดันในการพนลมที่เทากัน ปริมาณลมจะเปน 2 เทาของการพนลมจากเครื่องเดียว ในกรณีที่เดิน
เครื่องแบบอนุกรมกันนั้นที่ปริมาณลมจะเทากัน แตแรงดันในการพนจะมีคาเปน 2 เทาของการเดินเครื่องแบบ
เครื่องเดียว เมื่อเสนโคงของของความตานทานของระบบทอเปนเสนโคงที่สอง และผานออกมาจากจุดกําเนิด
(Origin Point) ในกรณีของการเดินเครื่องเดียวโดยมีปริมาณลมเปน Q1 แตการเดินเครื่องแบบขนานกันก็จะไมทํา
ใหปริมาณลมกลายเปน 2Q1 แตจะกลายเปนแค QII เทานั้น ถาความตานทานในระบบทอมีคามากเสนโคงความ
ตานทานจะเปลี่ยนจาก R ไปเปน R'ซึ่งจะทําใหปริมาณลมที่จะเพิ่มขึ้นคอยๆลดลง (Q'1 → Q'2) ในกรณีที่เสน
โคงความตานทาน Rc เลื่อนไปทางซาย ควรจะเดินเครื่องแบบอนุกรมจะดีกวาเพราะวาจะทําใหปริมาณลมที่จะ
เพิ่มขึ้น สามารถเพิ่มไดมากกวา (Q'1→ Q'II ) ในกรณีที่ตองการเพิ่มปริมาณลม ตามที่ไดกลาวมาแลววา ความ
2-28
ตอนที่ 2 บทที่ 2 กลศาสตรของไหลเบื้องตน ตําราฝกอบรมผูรับผิดชอบดานพลังงาน(ผชพ) ดานความรอน

ตานทานของระบบทอจะเปนปฏิภาคผกผันกับกําลัง 5 ของเสนผานศูนยกลางของทอ ดังนั้นควรใชทอที่มีเสน


ผานศูนยกลางที่ใหญขึ้นเพื่อลดความตานทาน (ปริมาณลมจะเปลี่ยนเปน Q'1 → Q1 → QII) หรือใชทอ 2 ทอ
ตอเชื่อมออกมาจากอุปกรณสงลมแตละตัว
การเดินเครื่องเพียงตัวเดียว การเดินเครื่องแบบขนานหรือแบบอนุกรมนั้น จุดเดินเครื่อง, ความดัน,
กําลังขับในแนวแกน ตลอดจนประสิทธิภาพจะแตกตางกันออกไป การเพิ่มกําลังขับในแนวแกนก็จะทําใหเครื่อง
ทํางานที่สภาวะ Over Load ไดซึ่งควรระวัง

รูปที่ 2.23 การเดินเครื่องแบบขนานและแบบอนุกรม

2.7 สรุป
ของไหลเบื้องตน คือการศึกษากลศาสตรของไหล (Fluid Mechanics) ซึ่งของไหลคือสารจําพวก
ของเหลว และกาซ ซึ่งจะมีหัวขอ และเนื้อหาโดยสรุปดังนี้
หลักการเบื้องตนของกลศาสตรของไหล จะพูดถึงคุณสมบัติพื้นฐานที่สําคัญของของไหล ประกอบไป
ดวย ความหนาแนน (Density, ρ) ปริมาตรจําเพาะ (Specific volume, v) ความหนืด (Viscosity, μ) น้ําหนัก
จําเพาะ (Specific weight, γ)
แรงสถิตยของของไหล เปนการอธิบายถึงความดันของของไหล รวมถึงสมการที่ใชในการคํานวณ ทั้ง
ของเหลว และกาซ
สมการพื้นฐานของการไหล จะกลาวถึงสมการของการอนุรักษมวล กลาวคือมวลของของไหลไมสูญ
หายไปไหนเพราะฉะนั้นมวลของไหลเขาเทากับมวลของไหลออก สมการของการอนุรักษพลังงาน คือการที่
พลังงานไมสูญหายไปไหนแตจะเปลี่ยนรูปของพลังงานออกไป ซึ่งสามารถเขียนใหอยูในรูปของสมการเบอรนูรี่
(Bernoulli’s Equation) และกําลังของของไหลใน (เสน) การไหล (Steamline) คือโมเมนตัม หรือแรงที่เกิดจาก
การเคลื่อนที่ของของไหลกระทํากับวัตถุ
การไหลของของไหลที่คิดความหนืด จะเปนการพิจารณาถึงลักษณะการไหลของของไหลที่ไดรับผลมา
2-29
ตอนที่ 2 บทที่ 2 กลศาสตรของไหลเบื้องตน ตําราฝกอบรมผูรับผิดชอบดานพลังงาน(ผชพ) ดานความรอน

จากความหนืดของของไหล กระทํากับผนังวัตถุ โดยแบงออกเปน การไหลแบบราบเรียบ หรือการไหลเปนชั้นๆ


(Laminar Flow) กับ การไหลแบบปนปวน (Turbulent Flow) ทั้งบนแผนเรียบ และในทอกลม
การขนสงของไหล จะกลาวถึงคาความดันที่สูญเสียเนื่องจากการไหลของของไหล ไหลผานผนังของ
วัตถุ ความหนืดของของไหลจะทําใหของไหลถูกยึดเหนี่ยวกับผนังซึ่งตานการเคลื่อนที่ของของไหล ซึ่งจะ
พิจารณาในกรณีทอตรง ทั้งในแบบการไหลราบเรียบ และปนปวน รวมถึงองคประกอบที่ทําใหเกิดการสูญเสีย
ความดันในการไหลภายในทอ และการคํานวณหาอัตราการไหลผานอุปกรณจําพวกหัวฉีด (Nozzle) ออริฟซ
(Orifice) และเฮดแท็งค (Head Tank)
อุปกรณที่เกี่ยวของกับกลศาสตรของไหล คืออุปกรณที่ใหงานกับของไหล ทําใหของไหลสามารถ
เคลื่อนที่หรือเพิ่มแรงดันได ประกอบไปดวย ปม (Pump) ใชกับของเหลว และอุปกรณสงลม (Blower) ใชกับ
กาซ โดยจะอธิบายถึงหลักการในการหา แรงขับเคลื่อนของอุปกรณ ลักษณะสมบัติของอุปกรณ และสําหรับปม
ซึ่งใชของเหลวจะเพิ่มเรื่อง แควิเตชั่น (Cavitation) เขามาดวยคือการหาความดันไอของของเหลว ซึ่งในการใช
งานปมตองหลีกเลี่ยงไมใหเกิดฟองกาซจากความดันไอของของเหลว บริเวณที่ปมทํางาน เพราะจะทําใหใบพัด
ของปมเสียหายได

2.8 กรณีศึกษา (Case studies)


ตัวอยางที่ 2.1 ทอ(ใหญ) ที่มีขนาดเสนผานศูนยกลางขนาด 400 มม. และ ทอ(เล็ก)ขนาด 200 มม. ไดนํามา
เชื่อมตอกันโดยอาศัยทอลดขนาด ภายในมีน้ํามันที่มีความถวงจําเพาะ (Specific Gravity) เทากับ 0.85 และมี
อัตราการไหลเปน 0.314 m3/s ไหลอยูภายใน ถาความดันที่ทางเขาของทอลดขนาดเปน 0.3 [MPa] จงหาแรงที่มา
กระทํากับทอลดขนาด โดยไมคิดความดันที่สูญเสียไปในในทอลดขนาด
วิธีทํา : แรงที่มากระทํากับทอลดขนาดอันเนื่องมาจากการไหลของของไหล สามารถแสดงใหดูไดดังในรูปที่
2.24 F1, F2 จะเปนแรงอันเนื่องมาจากแรงดันสถิตย การกําหนดแนวแกนไดแสดงในรูป

รูปที่ 2.24 แรงไดรับมาจากการไหลของของไหลในทอลดขนาด

F1 = p1A1 = 0.3×106×π(0.4)2 = 37 700 = 37.7 [kN]

จากสมการที่ (2.3) V1 = Q/A1 = 0.314/(π×(0.4)2/4) = 2.5 [m/s]

2-30
ตอนที่ 2 บทที่ 2 กลศาสตรของไหลเบื้องตน ตําราฝกอบรมผูรับผิดชอบดานพลังงาน(ผชพ) ดานความรอน

V2 = V1A1/A2 = 2.5×(2/1)2 = 10 [m/s]

จากสมการของเบอรนูรี่ดังสมการที่ (2.6) จะหาคาความดันที่ตําแหนงที่ 2 ไดเปน

p2 = p1 + ρV12/2 - ρV22/2

= 300 × 103 + 0.85 × 1000 × (2.5)2/2 - 0.85 × 1000 × 102/2

= 300 × 103 + 2.7 × 103 - 42.5 × 103 = 260.2 × 103 = 260.2 [kPa]

เมื่อให F2 เปนแรงที่มากระทําในทิศทางไปทางซายมือ ซึ่งเมื่อกําหนดใหทิศทางของแรงที่ไปทางทิศนั้นเปนลบ


จะไดวา

F2 = -p2A2 = -2.602× 105 × π × (0.2)2/4 = -8.2 × 103 = -8.2 [kN]

ดังนั้นผลลัพธของแรงอันเนื่องมาจากการไหลของน้ํามันที่มากระทําในทิศทางในแนวแกน x หาไดจาก
โมเมนตัมที่เปลี่ยนไปหรือ ใชสมการที่ (2.7) ซึ่งจะไดวา

F1 + Fx + F2 = M& (V2x - V1x) = ρQ(V2x-V1x) ซึ่งเขียนใหมไดวา

Fx = -F1 - F2 + ρQ(V2x - V1x)

= -37.7 × 103 + 8.2 × 103 + 0.85 × 1000 × 0.314 × (10 – 2.5)

= (-37.7 + 8.2 + 2.0) × 103 = -27.5 [kN]

จะเห็นไดวาคา Fx มีคาเปนลบแรงจากทอที่กระทําตอน้ํามันมีคาเทากับ 27.5 [kN] มากระทําไปในทิศ


ซายมือ ในขณะที่ทางดานแกน y จะไมมีการเปลี่ยนแปลงโมเมนตัมจึงทําใหคา Fy = 0 จึงสรุปไดวาแรงอัน
เนื่องมาจากการไหลของน้ํามันที่มากระทํากับทอ(ลดขนาด) จะมีคาเทากับ 27.5 [kN] โดยมีทิศทางไปทางดาน
ขวามือในแนวนอน

ตัวอยางที่ 2.2 ที่กนอางเก็บน้ําขนาดใหญ มีทอเหล็กเสนผานศูนยกลางภายใน 12 cm. ตอออกมาในแนวราบ


ปลอยน้ําออกมาสูบรรยากาศในอัตรานาทีละ 0.9 m3 ถาระดับความลึกของน้ําในสระเปน 14 m. และกําหนดให
คาสัมประสิทธิ์ความฝดของทอ f มีคาเปน 0.028 และไมคิดถึงการสูญเสียอื่นๆ จงหาความยาวของทอที่สามารถ
สงน้ําไปได
วิธีทํา : กําหนดใหพื้นผิวน้ําเปนระนาบที่ 1 และ ที่ทอทางออกเปนระนาบที่ 2 เมื่อใชสมการที่ (2.5) จะไดวา
p1 p2
+ V12 + g n z1 = + V22 + g n z 2 + E loss
ρ ρ
เนื่องจากโจทย (เนื่องจากความเร็วของน้ําในสระที่ลดลงจะชามากเมื่อเทียบกับความเร็วของน้ําที่ไหลในทอ) V1
= 0, p1 = p2 = patm (เพราะเปดสูบรรยากาศ), H = z1 – z2 = 14 m. คา Eloss หาจาก สมการที่ (2.18) ∆p/ρ จะได

2-31
ตอนที่ 2 บทที่ 2 กลศาสตรของไหลเบื้องตน ตําราฝกอบรมผูรับผิดชอบดานพลังงาน(ผชพ) ดานความรอน

L 1 2 1
วา f× × V2 = g n H − V22
D 2 2
L 1 2g n H
จะไดวา = ( − 1)
D f V22
Q
V2 สามารถหาไดจากสมการที่ (2.3) V = แลวแทนคานี้ลงไปในสมการขางบนจะไดวา
(πD 2 / 4)
π 2 D5 gn H D 4 0.12
L = − = π 2 × (0.12) 2 × 9.807 × −
8 f ×Q 2
f 0 .9 2 0.028
8 × 0.028 × ( )
60
= 669.0 - 4.3 = 665 m.

ตัวอยางที่ 2.3 ปมมีประสิทธิภาพ 70 % ใชสงน้ําไปตามทอที่มีความยาว 305 เมตร ทอนี้มีเสนผาศูนยกลางภายใน


305 มม. สงน้ําดวยอัตราการไหล 0.183 ม3/นาที ถาเปลี่ยนทอที่มีสัมประสิทธิ์ของความเสียดทานจาก 0.02 ไป
เปนทอที่มีสัมประสิทธิ์ความเสียดทานเปน 0.03 จงหากําลังขับของปมที่เปลี่ยนไปในชวงหนึ่งป [kW · h]
วิธีทํา : กําลังของปมที่ตองการใชคือกําลังสงน้ําที่จะตองเอาชนะความตานทานความเสียดทานในการไหล
V2
นอกจากนั้นยังจําเปนที่ตองใชกับพลังงานจลนของน้ํา และพลังงานศักยอีกดวย
2
ที่ตรงบริเวณทางที่ทอทางเขาและทางออกของน้ํา เมื่อใชสมการที่ (2.5) และจากความหมายของโจทยจะ
ไดวา V1 = V2 = V, (z1 = z2)
p1 − p 2 Δp
Eloss = = [J / kg]
ρ ρ
Δp
ให เปนพลังงานที่จําเปนตอน้ํา 1 kg, M [kg/s] เปนปริมาณการไหล ในการไหลจําเปนตองเพิ่มพลังงาน
ρ
Δp
ใหแกของไหลเทากับ · M [J/s = W] ใหประสิทธิภาพการถายเทพลังงานจากปมไปยังของไหลเปน ηp ,
ρ
กําลังขับของปมที่ตองการเอาชนะความเสียดทานในการสงน้ํา P จะเปน
Δp 1
P = · M& · [W]
ρ ηp

ความดันสูญเสียที่สูญเสียไปเนื่องมาจากความเสียดทานภายในทอสง ดังสมการที่ (2.18)

Δp f ⋅L V2
= ⋅
ρ D 2
จากสมการอนุรักษมวล สมการที่ (2.3)
Q
M& = ρQ, V =
(πD 2 / 4)
ดังนั้นความแตกตางของกําลังขับของปม Δp ที่ใชในทอทั้งสองแบบ

2-32
ตอนที่ 2 บทที่ 2 กลศาสตรของไหลเบื้องตน ตําราฝกอบรมผูรับผิดชอบดานพลังงาน(ผชพ) ดานความรอน

Δp − Δp ' Q L ρ 16Q 2
ΔP = ⋅Q = ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ( f − f ') [W]
ηp η p D 2 π 2D4
(8 ρQ 3 L)( f − f ' )
=
π 2 ⋅η p D 5

8 × 1000 × (0.183) 3 × 305(0.03 − 0.02)


=
π 2 × 0.07 × 0.305 5

= 8.20 × 103 [W] = 8.20 [kW]


เมื่อคํานวณในระยะเวลา 1 ป = 365 × 24 = 8760 ชั่วโมง ดังนั้นพลังงานที่แตกตางจะมีคาเทากับ
= 8.20 × 8760 = 7.18 × 104 [kW · h]

2.9 กิจกรรม (Activity)


2.1 จงหาสมการความเร็วของน้ําที่ไหลในทอดังแสดงในรูปที่ 2.25 ถาความเร็วในการไหลของน้ําในทอ
เทากันตลอด

รูปที่ 2.25 แบบฝกหัดที่ 2.1

2.2 ปมมีประสิทธิภาพ 70 % ใชสงน้ําไปตามทอที่มีความยาว 305 m. ทอนี้มีเสนผานศูนยกลางภายใน 305


mm. สงน้ําดวยอัตราการไหล 0.183 m3/min. ถาเปลี่ยนทอที่มีสัมประสิทธิ์ของความเสียดทานจาก 0.02 ไปเปน
ทอที่มีสัมประสิทธิ์ความเสียดทานเปน 0.03 จงหากําลังขับของปมที่เปลี่ยนไปในชวงหนึ่งป [kW.h]

เฉลยแบบฝกหัด
2.1
วิธีทํา : ใหน้ํามีความหนาแนนเปน ρ แทนลงในสมการที่ (2.6) จะไดวา

ρV 2
p3 + = p2
2
2-33
ตอนที่ 2 บทที่ 2 กลศาสตรของไหลเบื้องตน ตําราฝกอบรมผูรับผิดชอบดานพลังงาน(ผชพ) ดานความรอน

จากสมการที่ (2.2) จะไดวา

p2 = patm + ρgnH
p3 = patm + ρgnh4-3

(p2 − p3 )
∴V = 2 = 2g(H − h )
ρ
2.2
วิธีทํา : กําลังของปมที่ตองการใชคือกําลังสงน้ําที่จะตองเอาชนะความตานทานในการไหล นอกจากนั้นยังจําเปน
ที่ตองใชกับพลังงานจลนของน้ํา และพลังงานศักยอีกดวย ที่บริเวณทอทางเขาและทางออกของน้ํา เมื่อใชสมการ
ที่ (2.5) และจากโจทยจะไดวา V1 = V2 = V, (z1 = z2)
( p1 − p 2 ) Δp
Eloss = = [J/kg]
ρ ρ

Δp
ให เปนพลังงานที่จําเปนตอน้ํา 1 kg, M& [kg/s] เปนมวลการไหล ในการไหลจําเปนตองเพิ่มพลังงานใหแก
ρ
Δp
ของไหลเทากับ ( ) . M& [J/s = W] ใหประสิทธิภาพการถายเทพลังงานจากปมไปยังของไหลเปน ηp, กําลังขับ
ρ
ของปมที่ตองการเอาชนะความเสียดทานในการสงน้ํา P จะเปน

Δp ⋅ M
P = [W]
ρ ⋅η p

ความดันสูญเสียที่สูญเสียไปเนื่องมาจากความเสียดทานภายในทอสง ดังสมการที่ (2.18)

Δp L V2
= f⋅ ⋅
ρ D 2

จากสมการอนุรักษมวล สมการที่ (2.3)


Q
M& = ρQ, V =
(πD 2 / 4)

ดังนั้นความแตกตางของกําลังขับของปม Δp ที่ใชในทอทั้งสองแบบ
Δp − Δp ' Q L ρ 16Q 2
ΔP = ⋅Q = ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ( f − f ') [W]
ηp η p D 2 π 2D4
(8 ρQ 3 L)( f − f ' )
=
π 2 ⋅η p D 5

2-34
ตอนที่ 2 บทที่ 2 กลศาสตรของไหลเบื้องตน ตําราฝกอบรมผูรับผิดชอบดานพลังงาน(ผชพ) ดานความรอน

8 × 1000 × (0.183) 3 × 305(0.03 − 0.02)


=
π 2 × 0.07 × 0.3055

= 8.20 × 103 [W] = 8.20 [kW]


เมื่อคํานวณในระยะเวลา 1 ป = 365 × 24 = 8760 ชั่วโมง ดังนั้นพลังงานที่แตกตางจะมีคาเทากับ
8.20 × 8760 = 7.18 × 104 [kW. h]

2-35

You might also like