You are on page 1of 4

1.

องค์ประกอบหลักของระบบอากาศอัด
โครงการพัฒนาบุคลากรด้านพลังงานตามกฎหมาย
(ค่าว่าจ้างทีป่ รึกษาพัฒนาบุคลากรเพื่อยกระดับความสามารถ
และสร้างเครือข่ายผู้รับผิดชอบด้านพลังงาน)

การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน
ระบบอากาศอัด
ส่วนประกอบต่างๆ ของระบบอัดอากาศ
ที่มา http://www.airenergy.com.au/compressed-air-systems/
หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 1 หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 2

○ ชุดคอมเพรสเซอร์ (Compressor) มีหลากหลายตามลักษณะของการอัด เช่น


ส่วนประกอบหลักของระบบอากาศอัดได้แก่ a) แบบใช้แรงเหวี่ยง (Centrifugal Compressor)
1. เครื่องอัดอากาศเป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการเพิ่มความดันให้กับอากาศ ทําให้อากาศมีความดัน b) แบบลูกสูบ (Reciprocating Compressor)
สูงขึ้น แล้วส่งผ่านอากาศที่ถูกอัดไปยังสถานที่ ที่ใช้งาน ภายในเครื่องมีส่วนประกอบหลักๆ c) แบบ Rotary (Screw Compressor)
เช่น เครื่องกรองอากาศ ชุดคอมเพรสเซอร์ ชุดระบายความร้อนอากาศอัด และชุดกรอง d) แบบ Rotary (Vane Type)
ละอองน้ํามัน
1) เครื่องกรองอากาศ (Air Filter) ซึ่งจะมีทั้งส่วนของการกรองอากาศ ก่อน เข้าเครื่อง
อัดอากาศ และส่วนของการกรองอากาศก่อนเข้าถังเก็บอากาศ เพื่อกรองฝุ่นละออง
ก่อนการนําไปใช้งาน

a b c d
ประเภทของชุด Compressor
หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 3 หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 4
การคํานวณขนาดและการเลือกอุปกรณ์ให้เหมาะสม
SCREW
TURBO COMPRESSOR (CENTRIFUGAL) 5.5 - 7.35 CFM : 1 HP ข้อดี
ข้อดี 0.06 – 0.08 kWh/m3 - ทํางานต่อเนื่อง 24 ชม. ได้
- ไม่มีละอองน้ํามันในอากาศอัด - ประสิทธิภาพคงที่ตลอดอายุการใช้งาน
- ทํางานต่อเนื่อง 24 ชม. ได้ - คุณภาพอากาศอัดสูง
- ประสิทธิภาพคงที่ตลอดอายุการใช้งาน - ใช้กําลังไฟฟ้าช่วง Unload 30%
- ค่าบํารุงรักษาต่ํา
ข้อเสีย
ข้อเสีย - ค่าบํารุงรักษาแพง
- ต้องใช้ผู้เชี่ยวชาญในการบํารุงรักษา - ความดันใช้งานสูงสุดไม่เกิน 16 bar (Single 3.0 – 4.2 CFM : 1 HP
- ราคาสูง Stage)
0.105 – 0.144 kWh/m3
- อากาศอัดมีความร้อนสูง

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 5 หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 6

RECIPROCATING ROTARY VANE


ข้อดี ข้อดี
- ราคาถูก - ทํางานต่อเนื่อง 24 ชม. ได้
- ใช้งานง่ายบํารุงรักษาง่าย - บํารุงรักษาง่าย
- Maximum Pressure = 20 bar - ค่าบํารุงรักษาต่ํา
ข้อเสีย
- ประสิทธิภาพต่ํา ข้อเสีย
- คุณภาพอากาศอัดต่ํา - ใช้กําลังไฟฟ้าช่วง Unload 50-70%
- การสึกหรอสูง 2.9 - 4.0 CFM : 1 HP - คุณภาพอากาศอัดต่ํา 3.0 – 3.5 CFM : 1 HP
- ประสิทธิภาพลดลงเร็ว 0.11 - 0.15 kWh/m3 - เสียงดังมาก (75-85 dB) 0.125 – 0.144 kWh/m3
- ไม่มีเครื่องขนาดใหญ่

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 7 หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 8


2)ชุดกรองละอองน้ํามัน (Oil Filter) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการกรองละอองน้ํามันออก 2. นิยามประสิทธิภาพหรือสมรรถนะพลังงาน
จากอากาศอั ด ที่ ม าจากเครื่ อ งอั ด อากาศ เนื่ อ งจากในเครื่ อ งอั ด อากาศมี ก ารใช้
2.1 ปริมาตรอากาศอิสระ หมายถึง ปริมาณของอากาศที่เครื่องอัดอากาศดูดเข้าในรูปอัตราไหลซึ่ง
น้ํามันหล่อลื่นในการหล่อลื่นส่วนต่าง ๆ ขณะเครื่องอัดทํางาน
เรียกว่า Free Air Delivery (FAD) มีหน่วยเป็น ลิตร/วินาที (l/s) หรือ ลูกบาศก์เมตร/นาที
3) อุปกรณ์ระบายความร้อนหลังเครื่องอัดอากาศ (After Cooler) เป็นอุปกรณ์ระบาย (m3/min)
ความร้อนของอากาศที่อัดแล้วให้เย็นลงเพื่อให้เหมาะกับการใช้งาน 2.2 สภาวะอากาศมาตรฐาน (Standard Air)
2. ถังเก็บอากาศ (Air Receiver tank) เป็นถังที่ใช้เก็บอากาศอัดมีประโยชน์ในเรื่องของ ISO 1217 : อากาศที่ 20 oC ที่ความดัน 100.00 kPa ค่าความชื้นสัมพัทธ์ 0%RH
1) การให้เครื่องเดินและหยุดยาวออกไป เพื่อป้องกันมอเตอร์เดินและหยุดถี่เกินไปอัน JIS B 8341 : อากาศที่ 20 oC ที่ความดัน 101.30 kPa ค่าความชื้นสัมพัทธ์ 65%RH
อาจทําให้มอเตอร์ไหม้เสียหายได้ 2.3 กําลังไฟฟ้า (Pin) หมายถึง กําลังไฟฟ้าที่ป้อนให้กับเครื่องอัดอากาศ มีหน่วยเป็นกิโลวัตต์ (kW)
2) ใช้สํารองอากาศอัดไว้ให้เครื่องจักรที่ใช้อากาศอัดครั้งละมากๆ และป้องกันมิให้ความ 2.4 อัตราการไหลของอากาศอัดที่สภาวะมาตรฐาน (Qs) หมายถึง ปริมาณอากาศอัดที่ตรวจวัด และ
ดันระบบตก เมื่อมีการใช้อากาศปริมาณมากๆ ในแต่ละครั้ง ปรับเข้าสู่สภาวะมาตรฐานมีหน่วยเป็น มีหน่วยเป็น ลิตร/วินาที (l/s) หรือ ลูกบาศก์เมตร/นาที
3. เครื่องทําอากาศแห้ง (Air Dryer) เป็นอุปกรณ์ที่ทําให้อากาศอัดแห้งได้ตามที่อุปกรณ์ใช้อากาศ (m3/min)
อัดต้องการ

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 9 หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 10

6. การบันทึกค่าสมรรถนะพลังงานในขั้นตอนที่ 4
2.5 SPCs (Specific Power Consumption on Standard Suction Condition) หมายถึง ค่า
การใช้พลังงานจําเพาะของเครื่องอัดอากาศที่สภาวะมาตรฐาน เป็น มีหน่วยเป็น กิโลวัตต์- ตัวอย่างการการบันทึกค่าสมรรถนะพลังงาน
ชั่วโมง/ลูกบาศก์เมตร kWh/m3 หรือ กิโลวัตต์/(ลูกบาศก์เมตร/นาที) kW/(m3/min)

หรือ

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 11 หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 12


3. ข้อกําหนดตามกฎหมาย

ปัจจุบันไม่มีกฎหมายหรือข้อกําหนดเกี่ยวกับการสํารวจ ตรวจวัด หรือวิเคราะห์ศักยภาพ


ในมาตรการประหยัดพลังงานของระบบอัดอากาศ

UK Database
Best Average Worst

22 kW / (3.7 m3/min*60 min/h) = 0.1 kWh/m3

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 13 หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 14

Thank you
4. แนวทางการสํารวจและการเก็บข้อมูลวิเคราะห์ประสิทธิภาพ สํานักพัฒนาทรัพยากรบุคคลด้านพลังงาน (สพบ.)
อาคารอนุรักษ์พลังงานเฉลิมพระเกียรติ (บริเวณเทคโนธานี)
4.1 วัดอัตราการไหลของอากาศ (Qs) โดยใช้เครื่องมือวัด ตําบลคลองห้า อําเภอคองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12120
การวัดอัตราการไหลของอากาศจะใช้เครื่องมือวัดอัตราการไหลชนิด Venturi โทรศัพท์ 0-2577-7035-41 โทรสาร 0-2577-7047
Nozzle (ISO 9300) ที่ท่อด้านออกซึ่งสามารถวัดอัตราการไหลได้ทั้งในหน่วยของ l/s, กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน (พพ.) กระทรวงพลังงาน
m3/hr หรือ cfm 17 ถนนพระราม 1 เชิงสะพานกษัตริย์ศึก แขวงรองเมือง เขตปทุมวัน
กรุงเทพฯ 10330
โทรศัพท์ 0-2223-0021-9, 0-2223-2593-5, 0-2222-4102-9
โทรสาร 0-2226-1416 www.dede.go.th

ศูนย์วิจัยเทคโนโลยีพลังงานเพื่อสิ่งแวดล้อม (ETE)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
239 ถ.ห้วยแก้ว ต.สุเทพ อ.เมือง เชียงใหม่ 50200
แสดงการวัดอัตราการไหลของอากาศที่ท่อด้านออก โทรศัพท์ 0-5394-4904-5 โทรสาร 0-5321-7118
http://www.ete.eng.cmu.ac.th
4.2 วัดอัตราการไหลของอากาศ (Qs) โดยใช้Air Tank
16
หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 15 หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 16

You might also like