You are on page 1of 17

01208449 Energy Audits

บทที 2 การตรวจสอบพลังงาน
(Energy Audits Process)
Assoc. Prof. Kanit Manatura (Ph.D.)
Department of Mechanical Engineering
Faculty of Engineering at KPS
Kasetsart University Kamphaeng Saen campus
Nakhon Patom, Thailand
2nd semester 2022
01208499 Energy audits - Ch 2 Energy Audits

Contents
1. บทนํา
2. กระบวนการตรวจสอบการใช้พลังงาน
3. การตรวจสอบการใช้พลังงานเบืองต้น
4. การตรวจสอบการใช้พลังงานโดยละเอียด
5. สรุ ป

2 Kanit Manatura, Ph.D.


01208499 Energy audits - Ch 2 Energy Audits

1. บทนํา
• กระบวนการหนึงทีแสดงถึงพฤติกรรมการใช้พลังงานของโรงงานหรื ออาคาร
• จําเป็ นต้องมีการเก็บข้ อมูลและวิเคราะห์ ทีเกียวข้องกับเครื องจักร กระบวนการผลิต
ต่างๆทีใช้พลังงานทังภายในและภายนอกอาคารหรื อโรงงานอย่างสมําเสมอ
• อาจเป็ นรายเดือน รายไตรมาศ หรื อรายปี เนืองจากปัจจัยทีเกียวข้องกับการใช้
พลังงานมีการเปลียนแปลงตลอดเวลา เช่น ค่าเชือเพลิง ค่าไฟฟ้า กระบวนการผลิต
เทคโนโลยีในการประหยัด/เพิมประสิ ทธิ ภาพพลังงาน เป็ นต้น
• มาตรการอนุรักษ์พลังงาน

3 Kanit Manatura, Ph.D.


01208499 Energy audits - Ch 2 Energy Audits

Energy audit definition


• A process to evaluate where a building or
plant uses energy, and identify
opportunities to reduce consumption.
• Building
• Plant : Power plant , Industrial furnace,
Refrigeration industry

4 Kanit Manatura, Ph.D.


01208499 Energy audits - Ch 2 Energy Audits

2. กระบวนการตรวจสอบการใช้ พลังงาน
(Energy Audit Process)

• การตรวจสอบเบืองต้นและละเอียด
• ประกอบด้วย 1) การเตรี ยมตัวตรวจสอบ 2) การตรวจสอบ และ
3) ผลลัพธ์

• การเตรี ยมตัวตรวจสอบ
– รวบรวมข้อมูลเบืองต้นของอาคารหรื อโรงงานทีจะเข้าไปตรวจสอบ
เพือให้เกิดความคุน้ เคย ทําให้ผตู้ รวจสอบเห็นภาพรวมของระบบ
– ผูต้ รวจสอบควรศึกษาข้อมูลให้มากทีสุ ดเท่าทีจะทําได้ เพือ
ประหยัดเวลาในการตรวจสอบและไม่กระทบต่อบุคคลทีทํางาน
5 Kanit Manatura, Ph.D.
01208499 Energy audits - Ch 2 Energy Audits

การเตรี ยมตัวตรวจสอบ (ต่อ)


• การตรวจสอบการใช้พลังงานเบืองต้น (Preliminary
Energy Audit)
1) เตรี ยมข้อมูลการใช้พลังงานและผลการวิเคราะห์ค่าใช้จ่าย
พลังงาน
2) เตรี ยมรายละเอียดอุปกรณ์ เครื องจักรหลัก เช่น ระบบปรับอากาศ
หม้อไอนํา มอเตอร์ไฟฟ้า เครื องอัดอากาศ ระบบแสงสว่าง เป็ นต้น รายละเอียดควร
ประกอบด้วย ชนิด กําลังงาน (kW) เวลาการใช้งานเป็ นอย่างน้อย
3) เตรี ยมแบบ (As Built Drawing) ระบบไฟฟ้า เครื องกล สุขาภิบาล รู ปร่ าง
และลักษณะอาคาร หากเคยมีรายงานการตรวจการใช้พลังงานมาก่อน ก็ควร
6
ทําการศึกษาก่อนตรวจสอบด้วย Kanit Manatura, Ph.D.
01208499 Energy audits - Ch 2 Energy Audits

การเตรี ยมตัวตรวจสอบ (ต่อ)


4) เตรี ยมเครื องมือตรวจสอบการใช้พลังงานหลักและแบบบันทึกการตรวจสอบ

5) ติดต่อประสานงาน นัดหมายวันเวลากับผูเ้ กียวข้องก่อนเข้าทําการตรวจสอบ

6) ระหว่างการตรวจสอบพลังงาน ควรประชุมพนักงานทีเกียวข้อง เพือทําความเข้าใจ


ลักษณะการใช้พลังงานทังทีตรวจสอบได้และตรวจสอบไม่ได้ เช่น วิธีบาํ รุ งรักษา
แผนงานในอนาคต กิจกรรมทัศนคติ ปั ญหาและอุปสรรค ทีอาจมีเกียวข้องกับการใช้
พลังงาน

7 Kanit Manatura, Ph.D.


01208499 Energy audits - Ch 2 Energy Audits

การตรวจสอบ
1) เดินสํารวจสถานทีและสภาพการทํางาน-ใช้งานของอปกรณ์เครื องจักร ระบบการผลิต
หรื อ Walk-through Audit การเดินสํารวจปกติจะใช้เวลาประมาณ 1 วัน โดย
แบ่งเป็ นการเดินสํารวจในช่วงเวลาทํางาน เพือสํารวจสภาพการใช้งานว่ามีการใช้งาน
เต็มพิกดั หรื อไม่ และในช่วงหลังเลิกงาน เพือสํารวจสภาพการใช้งานของอุปกรณ์
เครื องจักรมีการใช้งานโดยไม่จาํ เป็ นหรื อไม่ การเดินสํารวจมีความสําคัญอย่างยิงต่อ
การตรวจสอบในรายละเอียดต่อไป

8 Kanit Manatura, Ph.D.


01208499 Energy audits - Ch 2 Energy Audits

การตรวจสอบ (ต่อ)
2) การตรวจวัดการใช้พลังงานชัวขณะของเครื องจักรและอุปกรณ์หลัก
สามารถสํารวจได้ตามสถานทีต่อไปนี
1) ระบบสาธารณู ปโภคหลัก (Main Utility System) มักประกอบด้วย ห้องหม้อ
แปลงไฟฟ้า ห้องส่งจ่ายไฟฟ้า ห้องควบคุมหม้อไอนํา ห้องควบคุมเตา
อุตสาหกรรม ห้องเครื องทํานําเย็น ห้องเครื องอัดอากาศ ห้องควบคุมอัตโนมัติ
2) บริ เวณทีตังของอุปกรณ์และเครื องจักร เช่น บริ เวณการใช้งานของระบบแสง
สว่าง
3) พืนทีปรับอากาศ ห้องส่งลมเย็น (AHU)
4) บริ เวณกระบวนการผลิต และเครื องจักร
5) บริ เวณภายนอกอาคารหรื อโรงงาน
9 Kanit Manatura, Ph.D.
01208499 Energy audits - Ch 2 Energy Audits

ผลการตรวจสอบ
1) ความเข้าใจภาพรวมของการใช้พลังงาน
กระบวนการผลิตต่างๆ ทีอาจเกียวข้อง และ
ประเมินปริ มาณการใช้พลังงานของระบบ
2) ผลจากการตรวจสอบมักนําไปสู่ การจัดทํา
มาตรการปรับปรุ งการใช้งานทีไม่ตอ้ งลงทุนมาก

 10 Kanit Manatura, Ph.D.


01208499 Energy audits - Ch 2 Energy Audits

การตรวจสอบการใช้พลังงานโดยละเอียด
(Detailed Energy Audit)
• อุปกรณ์ เครื องจักรและกระบวนการผลิตในปัจจุบนั ทีซับซ้อน มีการ
ใช้ภาระ(โหลด) หลากหลาย ไม่คงที
• การตรวจสอบการใช้พลังงานโดยละเอียดจึงมีความจําเป็ นเพือเติม
เต็มการตรวจสอบเบืองต้นเพือให้ได้ขอ้ มูลการใช้พลังงานทีพอพียง
และถูกต้องมากทีสุดเท่าทีจะทําได้
• ระบบจ่ายไฟฟ้า
– ใช้เครื องวัดทางไฟฟ้า เช่น พาวเวอร์มิเตอร์ แอมมิเตอร์ โวลท์มิเตอร์
– ตรวจวัดและบันทึกค่าทางไฟฟ้าของภาระโดยรวม เวลาทีมีความต้องการ
 11
พลังงานไฟฟ้าสู งสุ ด Kanit Manatura, Ph.D.
01208499 Energy audits - Ch 2 Energy Audits

– ตรวจสอบสมดุลแรงดัน กระแสไฟฟ้าแต่ละเฟสในช่วงเวลาต่างๆ หากพบว่า


แรงดันเกิน (Over voltage) บ่อยๆหลอดไฟอาจจะเสี ยหายเร็วกว่าปกติ หรื อ
แรงดันตก(Under voltage) บ่อยๆมอเตอร์ อาจเสื อมสภาพเร็วกว่าปกติ
• เครื องส่ งลมเย็น (Air Handling Unit, AHU)
– เครื องวัดทางไฟฟ้า เช่น พาวเวอร์ มิเตอร์ เครื องวัดความเร็ วรอบ เครื องวัดความ
ดัน เครื องวัดความเร็ วลม เกจวัดความดันนํา
– มอเตอร์โดยตรวจวัดความเร็วรอบมอเตอร์
– ความดันตกคร่ อมแผงกรองอากาศ
– สมดุลของลม (Balance Air) โดยตรวจวัดความเร็ วลมทีหัวจ่ายลมทุกจุด
– อัตราการไหลของนํา และความดันตกคร่ อม เพือตรวจสอบสมดุลของนํา โดย
ต้องเปิ ดเครื องส่ งลมเย็นและปัมนําทุกเครื อง
 12 Kanit Manatura, Ph.D.
01208499 Energy audits - Ch 2 Energy Audits

ผลการตรวจสอบ
1) ทราบลักษณะการใช้พลังงานและค่าทางไฟฟ้าทีช่วงเวลาต่างๆ ƞ

2) ทราบสมดุลมวลและสมดุลพลังงาน (Sankey Diagram)

 13 Kanit Manatura, Ph.D.


01208499 Energy audits - Ch 2 Energy Audits

คําถามท้ายบท
1. อธิ บายถึงความสําคัญของกระบวนการตรวจสอบพลังงาน

2. กระบวนการตรวจสอบพลังงานมีขนตอนอย่
ั างไร อธิบาย
3. คุณสมบัติทีดีของผูต
้ รวจสอบพลังงาน ควรมีอะไรบ้าง
อธิบาย

 14 Kanit Manatura, Ph.D.


01208499 Energy audits - Ch 2 Energy Audits

 15 Kanit Manatura, Ph.D.


01208499 Energy audits - Ch 2 Energy Audits

Related documents

• http://www2.dede.go.th/bhrd/old/file_handbook.html
 16 Kanit Manatura, Ph.D.
01208499 Energy audits - Ch 2 Energy Audits

Thank you for your attention.

 17 Kanit Manatura, Ph.D.

You might also like