You are on page 1of 4

5/23/2018 การบํารุงรักษาอินเวอร์เตอร์ (Basic VFD Maintenance) : e-Industrial Technology Center

การบํารุงร ักษาอินเวอร์เตอร์ (Basic VFD Maintenance)


โดย : Admin

ิ เสือช ้อย
โดย : สุชน

Webmaster (at) 9engineer.com

การบํารุงรักษาอินเวอร์เป็ นอะไรทีไม่ยากอย่างทีคิด วิธก


ี ารก็เพียงแค่เพิมเติมขันตอนง่ายๆทีสมเหตุสมผลเข ้าไป
ในตารางโปรแกรมบํารุงรักษาเชิงป้ องกันเครืองจักรเท่านัน (Preventive Maintenance) ก็จะทําอินเวอร์เตอร์สามารถใช ้
งานได ้ต่อไปอีกหลายปี โดยไม่ทําให ้เกิดปั ญหาจุกจิกตามมา
อินเวอร์เตอร์คอ ื อะไร
อินเวอร์เตอร์คอื อุปกรณ์ททํี า
หน ้าทีควบคุมความเร็ว (Speed)
แรงบิด (Torque) และทิศทางการ
หมุน (Direction) ของมอเตอร์
เหนียวนํ าไฟฟ้ ากระแสสลับ (AC
Induction motor) โดยรับแรงดัน
และความถีคงทีจากแหล่งจ่ายและ
แปลงฝั นแรงดันและความถีด ้านเอา
ท์พทุ ให ้สามารถเปลียแปลงได ้ตาม
ต ้องการเพือใช ้ควบคุมสมรรถนะของ
มอเตอร์ดงั ทีกล่าวมา ( ส่วนหลักการ
การทํางานอินเวอร์เตอร์กส ็ ามารถ
อ่านเพิมเติมได ้จากบทความเก่าเรือง
อินเวอร์เตอร์คอ ื อะไร ทีผมได ้เคย
เขียนไว ้เมือก่อนหน ้านี)

โดยพืนฐานของอินเวอร์เตอร์ ก็คล ้ายกับพืนฐานของคอมพิวเตอร์ (computer) และ แหล่งจ่ายกําลังไฟฟ้ า (power


supply) ดังนันสิงทีจะต ้องคํานึงถึงเกียวกับความปลอดภัยและข ้อควรระวัง การใช ้งานและการบํารุงรักษา ก็คล ้ายๆกับระบบ
คอมพิวเตอร์หรือแหล่งจ่ายกําลังไฟฟ้ าดังทีกล่าวมา ซึงจะต ้องได ้รับการดูและและบํารุงรักษาขันพืนฐานอย่างน ้อยสาม
ประการดังนี
· ต ้องดูแลและรักษาให ้สะอาด (keep it clean)
· ต ้องดูแลสภาพแวดล ้อมทีแห ้งและปราศจากความชืน (keep it dry)
· และต ้องตรวจสอบรอยต่อให ้แน่น (keep the connections tight)

· การดูแลร ักษาให้สะอาด
อินเวอร์เตอร์สว่ นใหญ่ออกแบบมาให ้อยูใ่ น

http://www.9engineer.com/index.php?m=article&a=print&article_id=756 1/4
5/23/2018 การบํารุงรักษาอินเวอร์เตอร์ (Basic VFD Maintenance) : e-Industrial Technology Center
มาตรฐาน NEMA 1 (side vents for cooling
airflow = มาตรฐานเกียวกับการระบายอากาศด ้าน
ข ้างสําหรับให ้อากาศไหลเข ้าออก) หรือไม่ก็ NEMA
12 (sealed, dust-tight enclosure = มาตรฐาน
เกียวกับการป้ องกันฝุ่ นละออง)
สําหรับอินเวอร์เตอร์ทออกแบบตามมาตรฐาน
ี NEMA
1 มักจะมีข ้อเสียเรืองการสะสมฝุ่ นละออง ซึงทําให ้
อากาศไหลผ่านได ้ไม่ด ี (lack of airflow) ทําให ้
ประสิทธิภาพการทํางานของแผ่นระบายความร ้อน
(heat sink) และพัดลมระบายความร ้อน
(circulating fan) ลดลง

รูปแสดงตัวอย่างอินเวอร์เตอร์ทได
ี ้รับความเสียหายผุน
่ ทีพัดลม
ระบายความร ้อนทีเป่ าเข ้ามา

ฝุ่ นละอองจะเป็ นตัวดูดความซืน ดังนันหากเมือมีฝนละอองเข ุ่ ้าไปปะปนกับอุปกรณ์อเิ ลคทรอนิกส์ จะทําให ้อุปกรณ์


หรือระบบควบคุมทํางานผิดพลาด หรือไม่ทํางาน หรือทําให ้เกิดการเสียหายได ้ ดังนันช่วงการทําการบํารุงรักษาเชิง
ป้ องกัน (Preventive Maintenance) โดยใช ้ลมอัดเป่ าผ่านพัดลมระบายความร ้อนเข ้าไปถือเป็ นมาตรการทีดี แต่สงิ
หนึงทีจะต ้องไม่ลม ื ก็คอ
ื วิธน
ี ตะใช
ี ้ได ้ผลเฉพาะบางสถานทีหรือบางสิงแวดล ้อมเท่านัน เนืองจากลมอัดของบางสถาน
ประกอบการจะมีละะอองนํ าและนํ ามันปะปน ดังนันการจะใช ้ลมเป่ าเข ้าไปจะต ้องแน่ใจว่าลมทีใช ้จะต ้องเป็ นลมอัดที
แห ้ง สะอาดไม่มน ี ํ าและนํ ามันปะปน มิฉ ิ นันอาจจะทําให ้เกิดอันตรายหรือผลเสียต่อนิ เวอร์เตอร์มากกว่าผลดี นอกจากนัน
ลมอัดยังมีความเสียงต่อการเกิดไฟฟ้ าสถิตย์อก ี ด ้วย ดังนันลมอัดทีใช ้จะต ้องพิจารณาเป็ นพิเศษ ซึงต ้องมันใจว่ามา
จากแหล่งจ่ายลมพิเศษทีมีคณ ุ ภาพดี และไม่ทําเกิดไฟฟ้ าสถิต (ESD).
การใช ้ลมอัดทีไม่ทําให ้เกิดไฟฟ้ าสถิตย์หรือวิธ ี Reverse-operated ESD vacuum จะช่วยลดการเกิดปั ญหา
ี ้ทํากล่อง ESD vacuum และ
ได ้ โดยทัวไปแล ้วพลาสติกจะเป็ นอุปกรณ์หลักทีก่อให ้เกิดไฟฟ้ าสถิตย์ ดังนันวัสดุทใช
พัดลมจะต ้องมาจากวัสดุเฉพาะซึงไม่เป็ นตัวทําให ้เกิดไฟฟ้ าสถิตย์ ซึงหาซือได ้ทัวไปจากบริษัททีมีความชํานาญเกียว
กับอุปกรณ์ควบคุมไฟฟ้ าสถิต(Static-control equipment)

· จะต้องดูแลให้อน ื
ิ เวอร์เตอร์แห้งและปราศจากความชน

ความชืนถือเป็ นศัตรูและเป็ นอันตราย


อย่างยิงสําหรับอุปกรณ์ไฟฟ้ าทัวๆไป รวมถึง
อินเวอร์เตอร์ ดังนันหากต ้องการให ้อินเวอร์
เตอร์มอ ี ายุการใช ้งานนานๆท่านจะต ้องแน่ใจ
ว่าสถานทีสําหรับติดตังนันจะต ้องอยูใ่ นที
แห ้ง ปราศจากไอนํ า ความชืน และ ผุน ่
ละออง นอกจากนันหลังจากติดตังไปแล ้ว
จะต ้องติดตามผลเพือให ้มันใจว่าจะไม่เกิด
สภาพแวดดังกล่าว เนืองจากไอนํ าจาก
ความชืนจะเป็ นเหตุทําให ้เกิดการเสียหายแก่
อินเวอร์เตอร์ได ้ค่อนข ้างรุนแรง เช่นอาจ
ทําให ้เกิดการลัดวงจร หรือทําให ้เกิดการ
กัดกร่อนและผุกร่อนของแผงวงจรได ้หากมี
รูป แสดงให ้เห็นถึงการกัดกร่อนบนแผงวงจรอันเนืองจากความซืน การสะสมเป็ นเวลานาน ตามตัวอย่างดังรูป

การป้องก ันหยดนําจากการควบแน่นของไอนํา
ถึงแม ้ช่วงทีผ่านมาผู ้ผลิตอินเวอเตอร์ บางรายได ้เพิมเติมส่วนของการป้ องกันการควบแน่นไอนํ าจําหน่าย
(condensation protection) โดยใช ้ซอฟแวท์เป็ นตัวสังการป้ องกันไม่ให ้อินเวอเตอร์ทําการสตาร์ทเมืออุณหภูมล ิ ดลงตํา
กว่า 32 องศาฟาเรนไฮน์ แต่กไ ็ ม่คอ
่ ยได ้รับความนิยมมากนักในปั จจุบน ั เนืองจากสภาพโดยปกติเมือมีการใช ้งานอินเวอ
เตอร์ทกุ ๆวันตลอดเวลา ความร ้อนทีเกิดขึนจากแผ่นระบายความร ้อน (heat sink ) ก็จะเป็ นตัวช่วยป้ องกัน นอกเสียจาก
บางยูนด ิ ทีไม่ได ้มีการใช ้งานอย่างต่อเนืองและอยูใ่ นสภาพแวดล ้อมทีทําให ้เกิดการควบแน่นของไอนํ าได ้ง่าย ท่านก็ควรจะ
เลือกใช ้อินเวอเตอร์ทมี ี NEMA 12 enclosure และ VFD ทีมีฮต ี เตอร์ชว่ ยทําให ้แห ้งอยูเ่ สมอ ซึงจะสามารถช่วยไม่ให ้เกิด
ปั ญหาดังกล่าว
·

ตรวจสอบรอยต่อไห้แน่น
หัวข ้อนีดูฟังดูเหมือนเป็ นอะไรทีเป็ นพืนฐานฐาน
แต่กลับเป็ นอะไรทีหลายๆคนมักจะลืมหรือทําไม่ถก ู
ต ้อง การตรวจเช็คและขันน๊อตหรือสกรูทขั ี วต่อสาย

http://www.9engineer.com/index.php?m=article&a=print&article_id=756 2/4
5/23/2018 การบํารุงรักษาอินเวอร์เตอร์ (Basic VFD Maintenance) : e-Industrial Technology Center
ให ้แน่นอยูเ่ สมอเป็ นอะไรทีต ้องทําอยูเ่ สมอถึงแม ้ว่า
อินเวอร์เตอร์ จะติดตังอยูใ่ นห ้องหรือสภาพแวดล ้อม
ทีสะอาดก็ตาม เนืองจากการสันสะเทือนและวัฏจักร
ความร ้อนทีเกิดขึนในขณะใช ้ ้งานอาจเป็ นเหตุทําให ้
ขัวต่อเกิดการหลวมและตํากว่าเกณท์มาตรฐาน
รอยต่อทีไม่ดห ี รือขันไม่แน่น (Bad connections) จะ
่ ารเกิดการอาร์ค (Arcing) ซึงหากเกิดที
นํ าไปสูก
ด ้านอินพุตของอินเวอร์เตอร์กจ ็ ะทําให ้เกิดแรงดันเกิน
(over voltage faults) ซึงจะทําให ้ฟิ วส์ขาดและ
อุปกรณ์ป้องกันเสียหายได ้ หรือหากเกิดทีเอาท์พต ุ ก็
จะทําให ้เกิดกระแสเกิน (over-current faults) และ
ภาพแสดงตัวอย่าง ผลการเกิดการอาร์ค เนืองจากหน ้าสัมพัส อาจทําให ้ ้เกิดการเสียหายของวงจรกําลังได ้ ดังดัว
ด ้านอินพุทหลวม ซึงทําให ้อุปกรณ์เสียหายได ้ อย่างดังรูป
ในส่วนของวงจรควบคุมก็เช่นเดียวกัน สาย
คอนโทรลทีหลวมจะทําให ้เกิดผิดพลาดของการ
ทํางาน เช่นหากเกิดการหลวมของสายคอนโทรลที
ทําหน ้าทีส่งสัญญาญควบคุมการสตาร์ทหรือการหยุด
(Start/Stop) ก็จะทําให ้ไม่สามารถหยุดอินเวอเตอร์
ได ้อย่างแม่นยํา หรือหากเกิดการหลวมทีสาย
คอนโทรลทีทําหน ้าทีควบคุมความเร็ว( speed
reference ) ก็จะทําให ้ความเร็วเปลียนแปลงตลอด
เวลาและไม่คงที ซึงอาจจะส่งผลเสียหายต่อกระบวน
การผลิดทีต ้องการความเร็วคงทีสมําเสมอ หรืออาจ
ทําให ้เครืองจักรเิกด ิ การเสียหายเร็วขึน หรืออาจ
ภาพตัวอย่าง ผลของการเกิดการอาร์ค เนืองจากหน ้าสัมผัสทาง ทําให ้บุคคลได ้รับอันตรายได ้การบาดเจ็บจากการ
ด ้านเอาท์พต
ุ หลวม ทํางานผิดพลาดได ้

ตรวจสอบสว ่ นอืนๆ (Additional Steps)


นอกเหนือจากทีกล่าวมาซึงเป็ นหัวใจสําคัญในการดูแลรักษาอินเวอร์เตอร์แล ้ว ก็ยงั มีสว่ นอืนๆทีเป็ นรายละเอียดปลีกย่อย
อีกดังนี
· ตรวจสอบสภาพทางกล : ให ้พิจารณา
ตรวจสอบส่วนประกอบอืนๆทีอยูใ่ นอินเวอร์
เตอร์ เช่นพัดลมระบายความร ้อน ให ้ทําการ
เช็คดูสภาพพัดลมและฟั งเสียงผิดปกติของ
ลูกปื นมอเตอร์ แกนของพัดลมว่ามีการ
หลวมคอนหรือไม่ รวมถึงส่วนจับยึดและสกรู
ว่ามีการคลายตัวหรือไม่
· ตรวจสอบต ัวเก็บประจุ : ให ้ทําการตรวจ
สอบตัวเก็บประจุทใช ี ้กับกรองดันทีดีซบ ี ส

ว่า ว่ามีลก ั ษณะบวมโป่ งพอง หรือมีสารละ
ลายใดๆ รัวซึมออกมาหรือไม่ ซึงทังสอง
กรณีนจะสั ี งเกตได ้ร่องรอยความเครียดทาง
ไฟฟ้ าทีเกิดขึน (เก็บประจุ ซึงหน ้าที
ตัวอย่างพัดลมระยายความร ้อนในตัวอินเวอร์เตอร์ทขาดการ
ี อย่ างหนึ งของตั ว เก็บประจุ คอ
ื ทําหน ้าทีเป็ น
ดูแลรักษา ตั วกรองกระแสที ออกมาจากวงจรเรกติ ไฟเอ
อร์ให ้เรียบ แรงดันกระแสสลับทีผิดปกติท ี
เกิดบนบัสของแรงดันกระแสตรงเป็ นตัวบอก
ว่าตัวเก็บประจุมป ี ั ญหาเกิดขึน)

· ให ้ใช ้มิเตอร์วดั ตรวจสอบระัดบ ี ส


ั แรงดันทีดีซบ ั : หากผลของระดับแรงดันดีซ ี ทีดีซบี ส
ั (DC bus ) มีการกระเพือ ื ม
หรือไม่คงทีก็สามารถบอกถึงการเสือมสภาพของแคปปาซ ิเตอร์ (DC bus capacitors) เนืองจากแคปปาซิเตอร์ใน
วงจรดีซบ ี ส
ั จะทําหน ้าทีกรองแรงดันจากวงจรเรกติไฟเออร์ให ้เรียบ ดังนันถ ้าหากแรงดันทีวัดได ้ไม่คงที ไม่สมําเสมอ
หรือไม่เรียบก็สามารถบ่งบอกได ้ว่าแคปปาซิเตอร์ใช ้งานอยูกํ่ าลังจะเป็ นปั ญหาหรือเสือมสภาพ

· ส่วนการเก็บรักษาอะไหล่ตา่ งๆ จะต ้องเก็บให ้


อยูใ่ นสภาพแวดล ้อมทีสะอาดและแห ้ง สําหรับ
ยูนต ิ ทีเตรียมไว ้เพือเป็ นอะไหล่ ก็ควรแทรก
http://www.9engineer.com/index.php?m=article&a=print&article_id=756 3/4
5/23/2018 การบํารุงรักษาอินเวอร์เตอร์ (Basic VFD Maintenance) : e-Industrial Technology Center
รายการบํารุงรักษาเชิงป้ องกัน (PM) เข ้าไปใน
ตารางซ่อมบํารุงด ้วย เพือทําการทดสอบทุกๆ
6 เดือน โดยป้ อนแรงดันไฟฟ้ าตามพิกด ั เพือ
รักษาสภาพแคปปาซิเตอร์ไม่ให ้เสือมสภาพ
และมีประสิทธิภาพสูงสุดเมือนํ าไปใช ้งาน มิ
ฉะนันความสามารถในการชาร์จประจุจะลดลง
(แคปปาซิเตอร์ จะมีคล ้ายกับแบตเตอรี ซึง
ควรใช ้งานให ้เร็วทีสุดหลังจากทําการสังซือมา
มิฉนันจะสูญเสียอายุการใชงาน)
· การติดตามดูอณ ุ หภูมข ิ องแผ่นระบายความ
ร ้อน : โดยทัวไปอินเวอร์เตอร์เกือบทังหมดจะมี
เซ็นเซอร์วดั อุณหภูมจ ิ ากแผ่นระบายความร ้อน
และส่งข ้อมูลทีวัดได ้มาแสดงทีหน ้าจอแสดง
ภาพแสดงตัวอย่างแคปปาซิเตอร์ทเสี
ี ยแล ้ว
ผล หรือไม่กส ็ ามารถอ่านได ้จาก
พารามิเตอร์ ดังนันเมืออินเวอร์เตอร์ใช ้งานควร
มีการติดตามดูอณ ุ หภูมท ิ ก
ุ ๆสัปดาห์หรือทุกๆ
เดือนเพือดูประสิทธิภาพของการระบายความ
ร ้อน

สงวนลิขสิทธิ © ห ้ามลอกเลียนแบบไม่วา่ ส่วนหนึงส่วนใดของบทความฉบับนี ไม่วา่ ในรูปแบบใดๆ นอกจากจะได ้รับอนุญาตเป็ นลายลักณ์อก


ั ษร

เนือหาโดย: 9engineer.com (http://www.9engineer.com/)

http://www.9engineer.com/index.php?m=article&a=print&article_id=756 4/4

You might also like