You are on page 1of 16

โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ

ชุดที่ 2

แบบจำลองอะตอมยุคแรก
(Dalton, Thomson,Rutherford, Bohr)
และ
สเปกตรัมของไฮโดรเจน
แบบจำลองอะตอมยุคแรก
1.2.1ทฤษฎีอะตอมของดาลตัน อะตอมมีลกั ษณะทรงกลม เป็ นอนุภาคที่เล็กที่สดุ แบ่งแยกไม่ได้
ไม่สามารถทาให้สญ
ู หายได้ หรือสร้างขึน้ ใหม่ได้

1.2.2 แบบจาลองอะตอมของทอมสัน
อิเล็กตรอนมีประจุลบ กระจายอยู่ท่ วั เนือ้ อะตอม ซึ่งมีประจุบวก
1.2.3แบบจาลองอะตอมของรัทเธอร์ฟอร์ด
นิวเคลียสมีโปรตรอนรวมกัน ตรงกลาง อิเล็กตรอนวิ่งอยู่รอบๆนิวเคลียส
1.2.4 ทฤษฎีอะตอมของบอห์รและการทดลองทีเ่ กีย่ วข้อง : สเปกตรัมของไฮโดรเจน
ริดเบอร์ก(J.R. Rydberg)
ได้เสนอสมการทีใ่ ช้คานวณหาwave number
ของสเปกตรัมทุกชุดดังนี้
ตัวอย่างการคานวณ : H-spectrum h คือ ค่าคงที่ของแพลงค์
E คือ พลังงาน
E = h  คือ ความถี่ของคลื่น
 คือ ความยาวคลื่น
E = hc/ c คือ ความเร็วแสง

อนุกรมของ ค่าของ nf ค่าของ ni (เปลี่ยนตามลาดับเส้นสเปกตรัม)


(ค่าคงที่ ขึน้ กับ เส้นที่1 เส้นที่ 2 เส้นที่ 3 เส้นที่ 4 เส้นที่ 5
อนุกรม)
Lyman 1 2 3 4 5 6
Blamer 2 3 4 5 6 7
Paschen 3 4 5 6 7 8

ni = nf +เส้นที่ Blamer เส้นที่ 4 : 2+4=6 ,ni=6


1. จงระบุ ค่า nf และ ni ของเส้นสเปกตรัม เส้นที่ 3 ใน อนุกรม Lyman
2. จงเปรียบเทียบ ว่า พลังงานของเส้นเปกตรัม เส้นที่ 2 ในอนุกรม Lyman กับ เส้นที่ 1 ในอนุกรม
Balmer เส้นใดมีพลังงานมากกว่า
3. จากข้อ 1 จงหาค่าพลังงาน ความยาวคลื่น และความถี่
1.2.4 ทฤษฎีของ นีลส์ บอห์ร (BOHR) สำหรับH-atom

Niels Bohr (1885-1962, Denmark)


En = -1312
n2
En = -1312
n2
เส้นที่ 2 มา เส้นที่ 1 Δ𝐸 = 𝐸2 − 𝐸1
ℎ𝐶 1 1
= 1312 2 − 2
1312 1312 𝜆 1 2
Δ𝐸 = − 2 − − 2
2 1
1 1312 1 1
= −
1 1 𝜆 ℎ𝑐 12 22
Δ𝐸 = 1312 2 − 2
1 2
1 1312 1 1
= −
𝜆 ℎ𝐶𝑁𝐴 12 22
E = hc/
1.2. แบบจำลองอะตอมยุคแรก

1.2.4ทฤษฎีอะตอมของบอห์ร
นิวเคลียสมีโปรตรอนรวมกัน ตรงกลาง
อิเล็กตรอนวิ่งอยูร่ อบๆนิวเคลียส อยูเ่ ป็ นชัน้ ๆ
แต่ละชัน้ เรียกว่า “ ระดับพลังงาน”
เดอบรอยล์ L. de Broglie
1.3 กลศาสตร์คลื่น ไฮเซนเบิรก์ W. Heisenberg
ชเรอดิงเจอร์ E. Schrodinger

ผลงานของเดอบรอยล์และไฮเซนเบิรก์ ได้นาไปสู่แนวความคิดของการสร้างทฤษฎีใหม่ขึน้ มาสาหรับอธิบาย


เกี่ยวกับอิเล็กตรอนในอะตอมดังนี ้
อาศัยสมบัติความเป็ นคลื่นของอิเล็กตรอน จึงวิเคราะห์หาสมบัติต่างๆของอิเล็กตรอนโดยการสร้าง
สมการคลื่น (wave equation) แล้วแก้สมการเพื่อหาค่าต่างๆ ออกมา

เนื่องจากอิเล็กตรอนมีขนาดเล็กมาก สมบัติต่างๆของอิเล็กตรอนจะวัดได้ในระดั บโอกาส


หรือความน่าจะเป็ น (probability) ที่จะพบอิเล็กตรอนที่บริเวณต่างๆ รอบนิวเคลียส หรือความหนาแน่น
ของอิเล็กตรอน (electron density) ที่บริเวณต่างๆรอบนิวเคลียส

นอกจากเลขจานวนเต็ม (n, l, ml) ที่ปรากฏในสมการ ชเรอดิงเจอร์ ยังมีเลขควอนตัม ms ซึ่ง อิเล็กตรอน


แต่ละตัวมีค่า เลขควอนตัม ทัง้ 4 นี ้ แต่ละชุดไม่ซา้ กันดังนัน้ ค่า n, l, ml, ms จะเป็ นตัวกาหนดพลังงาน
ของอิเล็กตรอนตัวนัน้

You might also like