You are on page 1of 23

เอกสารนี้จัดทําโดย ธีรยุทธ วิไลวัลย และ วรวรรณ พันธุมนาวิน ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (พ.ศ.

2548)

หามคัดลอก ดัดแปลง หรือเผยแพรโดยไมไดรับอนุญาตเปนลายลักษณอักษร

นิวเคลียรแมกเนติกเรโซแนนซ สเปกโตรสโคป
หลักการของ NMR
นิวเคลียรแมกเนติกเรโซแนนซสเปกโตรสโคป หรือที่เรียกโดยยอวา เอ็นเอ็มอาร (NMR) เปนเทคนิคที่เกี่ยว
ของกับการดูดกลืนคลื่นแมเหล็กไฟฟาในชวงคลื่นวิทยุ ซึ่งมีพลังงานอยูในชวงที่จะทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลง "สปน"
ซึ่งเป นสมบัติเฉพาะของนิวเคลียสแตละชนิด (ตาราง 1) เมื่ออยูภายใตสนามแม เหล็ก ไมใชนิ วเคลียสทุกชนิดที่ จะ
สามารถเกิดการดูดกลืนคลื่นวิทยุได แตจะตองเปนนิวเคลียสที่มีคา "สปน" ไมเปนศูนยเทานั้น ตัวอยางเชน 1H, 13C,
31 19
P, F เปนตน ในที่นี้ 1H เปนนิวเคลียสที่มีความสําคัญมากที่สุดเนื่องจากเปนธาตุที่พบมากในสารประกอบอินทรียทั่ว
ไป เปนที่นาเสียดายวาคารบอนซึ่งเปนธาตุองคประกอบหลักของสารอินทรียนั้นมีเพียง 13C ซึ่งพบในปริมาณนอยมาก
(1 %) เทานั้นที่ใหสัญญาณ NMR ในขณะที่ 12C ไมใหสัญญาณเนื่องจากมันมีสปนเปนศูนย

ตาราง 1 ความสัมพันธของเลขสปนควอนตัมและตัวแปรตางๆของนิวเคลียสตัวอยาง
Spin เลขมวล เลขอะตอม ตัวอยาง
1
เปนจํานวนเทาของ ½ เลขคี่ เลขคูหรือคี่ H (½), C (½), 31P (½),
13
11
B (3/2), 17O (5/2)
2
จํานวนเต็ม (1,2,3,…) เลขคู เลขคี่ H (1), 14N (1)
12 18 32
0 เลขคู เลขคู C, O, S

หลักการของ NMR คอนขางซับซอน แตพอจะอธิบายใหเห็นภาพไดดังนี้ นิวเคลียสเปนอนุภาคที่มีประจุ ใน


นิวเคลียสของธาตุบางอยางประจุนี้จะหมุน (spin) เปนวงรอบแกนนิวเคลียส (nuclear axis) เชนเดียวกับที่อิเล็กตรอน
ซึ่ ง เป น อนุ ภ าคมี ป ระจุ ซึ่ ง หมุ น รอบนิ ว เคลี ย ส การสป น ของนิ ว เคลี ย สนี้ จ ะก อ ให เกิ ด โมเมนต แ ม เหล็ ก (magnetic
moment) บริเวณแกนของการหมุน 1H มีเลขสปนควอนตัมเปน ½ และมีคาที่เปนไปไดเพียง 2 คาคือ +½ และ -½ เมื่อ
ใหสนามแมเหล็กภายนอก (external หรือ applied magnetic field, B0) แกนิวเคลียส สปนซึ่งเคยวางตัวในแบบสุมได
ทุกทิศทางจะจัดตัวใหม และจะมีนิวเคลียรแมกเนติกโมเมนตที่เปนไปไดจะมีเพียงสองแบบ (รูปที่ 1) คือ นิวเคลียสที่มีส
ปน +½ จะวางตัวในแนวขนานกับแนวของ B0 , มีทิศทางเดียวกับ B0 และเปนสถานะที่มีพลังงานต่ํา (เรียกวา α) สวน
นิวเคลียสที่ มีสปน -½ ก็จะวางตัวในแนวขนานกับแนวของ B0 แตมีทิศทางตรงขามกับ B0 และจะมีพลังงานสูงกวา
(เรียกวา β)

αβspin
spin state
state

∆E
∆E ∆E

Energy B0 = 0
~ 1.41 tesla
B0 =
βαspin
spin state
state
~ 7.04 tesla
B0 =

รูปที่ 1 การจัดวางตัวของนิวเคลียรสปนเมื่อไดรับสนามแมเหล็กภายนอก

1
เอกสารนี้จัดทําโดย ธีรยุทธ วิไลวัลย และ วรวรรณ พันธุมนาวิน ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (พ.ศ. 2548)

หามคัดลอก ดัดแปลง หรือเผยแพรโดยไมไดรับอนุญาตเปนลายลักษณอักษร

เมื่อนิวเคลียสที่ระดับพลังงานต่ําไดรับพลังงานที่เหมาะสมกลาวคือเทากับ ∆E ก็จะเปลี่ยนนิวเคลียรสปนและ
ขึ้นไปอยูที่ระดับพลังงานที่สูง เรียกวาเกิดการกลับตัว (flip) ของสปน ในทํานองเดียวกันนิวเคลียสที่ระดับพลังงานสูงก็
สามารถเปลี่ยนนิวเคลียรสปนเปนสปนตรงกันขามพรอมกับการคายพลังงานออกมาในปริมาณเทากับ ∆E ได การ
เปลี่ย นแปลงแบบนี้ เรียกวาเรโซแนนซ (resonance) ความแตกต างของระดั บ พลังงานสองระดับ นี้ เขีย นเป น ความ
สัมพันธกับความแรงสนามแมเหล็กไดตามสมการ (1)

∆E = B0 (1)

เมื่อ h คือคาคงที่ของแพลงค (Plank’s constant) และ γ คือคาคงที่ gyromagnetic ratio ซึ่งเปนคาเฉพาะตัว


ของนิวเคลียสแตละชนิด โดยโปรตอนจะมีคา 2.675 x 108 T-1.s-1 ดังนั้นจะเห็นวา ∆E จะขึ้นกับชนิดของนิวเคลียส และ
ความแรงของสนามแมเหล็กภาย (B0) (หนวยเปนเทสลา, T) โดยหากความแรงของสนามแมเหล็กเพิ่มขึ้น ∆E ก็จะมีคา
เพิ่มขึ้นดวย นอกจากนี้แมวาจะเปนนิวเคลียสชนิดเดียวกัน แตถาอยูในสิ่งแวดลอมที่แตกตางกันก็จะมีคา ∆E ที่แตก
ตางกันดวย แตไมสามารถคํานวณไดจากสมการ (1) สิ่งนี้เองที่ทําให NMR เปนเทคนิคที่มีประโยชนมากในการศึกษา
โครงสรางของสาร

แบบฝกหัด จงคํานวณพลังงาน (∆E) และความถี่ของการเกิดเรโซแนนซของโปรตอนภายใตสนามแมเหล็กขนาด 1.4


และ 9.4 T

ในสภาวะปกติ จํานวนประชากรของนิวเคลียสที่อยูในสถานะพลังงานสูง (Nβ) และพลังงานต่ํา (Nα) จะมีคา


นอยมาก และสามารถคํานวณไดตามสมการ (2) ดังนี้
Nβ/Nα = exp(∆E/kT) (2)
เมื่อ k คือคาคงที่ของโบลตซมานน
จากสมการ (2) จะเห็น วาเทคนิคเอ็นเอ็มอารจะไมคอยวองไวนักเนื่องจากความแตกตางของประชากรใน
สถานะพลังงานสูงกับต่ํามีไมมากนัก ราว 1 ใน 105 เทานั้นที่อุณหภูมิปกติ อยางไรก็ตามหาก ∆E มีคามากขึ้น (เชน
เมื่อเพิ่มความแรงของสนามแมเหล็ก Bo) ก็จะทําใหความแตกตางนี้มากขึ้น นั่นคือเครื่องสเปกโตรมิเตอรที่มีความแรง
ของสนามแมเหล็กมากจะมีความวองไวในการตรวจวัดสัญญาณเอ็นเอ็มอารมากขึ้นดวย

การวัดสัญญาณ NMR
ในการวั ด สั ญ ญาณ NMR จะต อ งนํ า ตั ว อย า งที่ ล ะลายในตั ว ทํ า ละลายที่ เหมาะสม (ซึ่ ง จะต อ งปราศจาก
นิวเคลียสชนิดเดียวกับที่กําลังจะตรวจวัดสัญญาณ NMR ตัวอยางเชนหากจะวัดสัญญาณของโปรตอนในสารตัวอยาง
ตัวทําละลายจะตองไมมีโปรตอน เชน CCl4 หรือตองเปนตัวทําละลายที่มีดิวทีเรียมแทน เชน CDCl3) อยูในหลอดแกว
ยาวๆ ไปวางไวในสนามแมเหล็กที่มีความแรงมาก ซึ่งในยุคแรกๆ จะใชแมเหล็กไฟฟา ซึ่งสามารถเพิ่มความแรงได
อยางจํากัด โดยทั่วไปจะมีกําลังอยูที่ประมาณ 1.4 เทสลา ซึ่งที่สนามแมเหล็กขนาดนี้ โปรตอนอิสระจะเรโซแนนซที่
ความถี่ 6x107 Hz หรือ 60 MHz ในปจจุบันจะนิยมใชแมเหล็กแบบซูเปอรคอนดักเตอร ซึ่งจะตองหลอเย็นที่อุณหภูมิ
ประมาณ 4 K ดวยฮีเลียมเหลวตลอดเวลาจึงจะทํางานได แมเหล็กแบบนี้จะสรางสนามแมเหล็กที่เขมกวาแบบแมเหล็ก
ไฟฟาปกติมาก และความแรงสนามแมเหล็กนี้เองที่เปนตัวบงชี้ประสิทธิภาพของเครื่อง NMR โดยมักจะเปรียบเทียบ
ดวยตัวเลขสัญญาณความถี่ของโปรตอน เชนเครื่อง 500 MHz, 200 MHz หรือ 60 MHz โดยถายิ่งตัวเลขมาก ก็แสดง

2
เอกสารนี้จัดทําโดย ธีรยุทธ วิไลวัลย และ วรวรรณ พันธุมนาวิน ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (พ.ศ. 2548)

หามคัดลอก ดัดแปลง หรือเผยแพรโดยไมไดรับอนุญาตเปนลายลักษณอักษร

วามีประสิทธิภาพสูงกวาทั้งในแงของความไว (sensitivity) และความละเอียดของการวัด (resolution) อยางไรก็ตาม


ราคาของเครื่องและคาใชจายการดูแลรักษาก็จะสูงตามไปดวย เครื่องที่ใชกันในหองปฏิบัติการวิจัยทั่วไปปจจุบันจะ
ทํางานที่ความถี่ 200-400 MHz

(ก) (ข)
รูปที่ 2 ก) ถังใสแมเหล็กของเครื่องเอ็นเอ็มอารสเปกโตรมิเตอร ข) หลอดใสสารตัวอยาง

รูปที่ 3 แผนภาพแสดงสวนประกอบของเครื่องเอ็นเอ็มอารสเปกโตรมิเตอร

3
เอกสารนี้จัดทําโดย ธีรยุทธ วิไลวัลย และ วรวรรณ พันธุมนาวิน ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (พ.ศ. 2548)

หามคัดลอก ดัดแปลง หรือเผยแพรโดยไมไดรับอนุญาตเปนลายลักษณอักษร

สวนประกอบสําคัญอีกสวนหนึ่งนอกจากแมเหล็กก็คือตัวสง (radiofrequency generator) และตัวรับสัญญาณ


คลื่นวิทยุ (detector and amplifier) ซึ่งจะทําหนาที่สงสัญญาณคลื่นวิทยุไปยังตัวอยางและตรวจวัดสัญญาณที่ถูกดูด
กลืน หรือปลดปลอยออกมา ในยุคแรกการวัดสัญญาณ NMR จะทําในลักษณะที่เรียกวา continuous wave หรือ CW
โดยเครื่องสงสัญ ญาณคลื่น วิทยุจะตองแปรความถี่ของคลื่น วิทยุที่ สงผานเขาไปในตัวอยางไปเรื่อยๆ และตรวจวัด
สัญญาณหลังจากผานตัวอยางเปรียบเทียบกับสัญญาณที่สงเขาไปที่ความถี่เดียวกัน หากความเขมของสัญญาณลดลงก็
แสดงวามีการดูดกลืนเกิดขึ้น ลักษณะการดูดกลืนก็จะเปนพีกซึ่งจะนํามาพล็อตเทียบกับความถี่คลายกับในกรณีของ
อินฟราเรดสเปกตรัม อยางไรก็ตามการทําเชนนี้จะกินเวลามาก และไมคอยมีประสิทธิภาพนัก เครื่อง NMR สมัยใหมจะ
ใชเทคนิค ที่เรีย กวา Pulsed NMR ซึ่งจะเปนการสงสัญ ญาณคลื่น วิทยุที่ทุ ก ความถี่ในชวงที่สนใจเขาไปยังตัวอยาง
พรอมๆ กัน ซึ่งจะทําใหเกิดการฟลิปของสปนทั้งหมดอยางทันทีทันใดเรียกวาอยูในสถานะถูกกระตุน (excited state)
จากนั้นนิวเคลียสก็จะกลับเขาสูสถานะเดิม (ground state) พรอมทั้งปลดปลอยพลังงานออกมาในรูปของคลื่น วิทยุ
เฉพาะความถี่ที่เกิดการดูดกลืน ซึ่งอาจมีมากกวา 1 คาก็ได ความถี่ของคลื่นที่ปลดปลอยออกมานี้จะอยูในรูปของคลื่นที่
ซอนกันที่เรียกวาสัญญาณ FID (free induction decay) ซึ่งสามารถแยกออกเปนแตละความถี่ โดยที่แตละความถี่ก็มี
ความเข ม ของสัญ ญาณที่ แ ตกต า งกั น ได โดยกระบวนการทางคณิ ต ศาสตรที่ เรีย กว าฟู ริเยรท รานสฟอรม (Fourier
transform) ดังนั้นเครื่อง NMR สมัยใหมจึงมักเรียกวา FT NMR การทําฟูริเยรทรานสฟอรมจะตองใชการคํานวณที่ซับ
ซอน คอมพิวเตอรสําหรับเก็บขอมูลและประมวลผลจึงเปนสิ่งสําคัญอยางยิ่งสําหรับ FT NMR ในขณะที่อาจไมใชสิ่งจํา
เปนนักสําหรับ CW NMR ขอดีประการสําคัญของ FT NMR คือสามารถเก็บสัญญาณ FID รวมกันหลายๆครั้ง แลวนํา
มาทําฟูริเยรทรานสฟอรมเพียงครั้งเดียว ซึ่งจะทําใหไดสัญญาณที่ชัดเจนขึ้น โดยเฉพาะกับสารตัวอยางที่มีปริมาณนอย
หรือเมื่อบันทึก NMR สเปกตรัมของนิวเคลียสที่มีปริมาณนอยในธรรมชาติเชน 13C, 15N เปนตน

เอ็นเอ็มอารสเปกตรัมและขอมูลที่ไดจากเอ็นเอ็มอารสเปกตรัม
ขอมูลที่ได จากเครื่อง NMR ไมวาจะเปนแบบ CW หรือ FT จะมีลักษณะเหมือนกัน คืออยูในรูป ของ NMR
สเปกตรัม ซึ่งประกอบดวยความเขมของสัญญาณ (แกน y) พล็อตเทียบกับความถี่ (แกน x) โดยความเขมของสัญญาณ
จะไมมีหนวย (ใชเปนหนวยสัมพัทธ) และจะพล็อตเปนพีกในลักษณะกลับหัวกับอินฟราเรดสเปกตรัม พีกที่สูงแสดงวามี
การดูดกลืนคลื่นวิทยุที่ความถี่นั้นมาก ในการระบุความถี่นั้นไมนิยมใชหนวยความถี่โดยตรงดวยเหตุผลอยางนอย 2
ประการคือ 1) ความถี่ขึ้นอยูกับความแรงของสนามแมเหล็ก และ ความถี่ซึ่งอยูในชวงคลื่นวิทยุมักมีตัวเลขคอนขางมาก
(หลัก 107 Hz) ดังนั้นถาพล็อตสเปกตรัมในหนวยความถี่จะทําใหสเปกตรัมจากเครื่องที่มีสนามแมเหล็กที่แตกตางกันจะ
ไมสามารถนํามาเปรียบเทียบกันได และ 2) นิวเคลียสชนิดเดียวกันสวนใหญเกิดเรโซแนนซในชวงความถี่ที่แคบมาก
เมื่อเทียบกับความถี่ที่เกิดเรโซแนนซ เชน โปรตอนในสนามแมเหล็กขนาด 9.4 T จะมีชวงความแตกตางของความถี่ที่
เกิดการเรโซแนนซจากต่ําสุดไปสูงสุดไมเกิน 4000 Hz เมื่อเทียบกับคาความถี่ที่เกิดการเรโซแนนซซึ่งอยูในชวง 4x108
Hz ซึ่งคิดเปนเปอรเซ็นตแลวมีคานอยมาก การแสดงตัวเลขความถี่ตรงๆ จึงไมคอยเหมาะสมนัก วิธีแกปญหาคือการ
อางอิงถึงความถี่ในลักษณะสัมพัทธเทียบกับความถี่อางอิงคาหนึ่ง ซึ่งคํานวณไดตามสมการ (3)

δ = (ν - νref)/νref (3)

คาสัมพัทธนี้เรียกวาเคมิคัลชิฟต (chemical shift) ซึ่งสําหรับโปรตอนจะมีการกําหนดเปนมาตรฐานวาใหใช


สัญญาณของพีกเมทิลของสารชื่อเททระเมทิลไซเลน (TMS) ซึ่งมีความเขมสูง ปรากฏสัญญาณเพียงตําแหนงเดียว และ
เกิดที่ความถี่ต่ําเปนพิเศษเปนคาอางอิง ดังนั้นสัญญาณของเททระเมทิลไซเลนจึงมีคาเคมิคัลชิฟตเปนศูนย โดยวิธีนี้ไม

4
เอกสารนี้จัดทําโดย ธีรยุทธ วิไลวัลย และ วรวรรณ พันธุมนาวิน ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (พ.ศ. 2548)

หามคัดลอก ดัดแปลง หรือเผยแพรโดยไมไดรับอนุญาตเปนลายลักษณอักษร

วาจะใชสนามแมเหล็กเทาใดก็จะไดเคมิคัลชิฟตของโปรตอนเทาเดิมเสมอ เนื่องจากแมความถี่ของการดูดกลืนของ
สัญญาณโปรตอนที่สนใจจะเปลี่ยนไป แตความถี่ของสารอางอิงก็เปลี่ยนตามไปดวย เมื่อนํามาหาคาสัมพัทธโดยการ
หาร ตัวเลขที่ไดจึงมีคาคงเดิม หนวยของเคมิคัลชิฟตคือ ppm ตัวเลขเคมิคัลชิฟตของโปรตอนทั่วไปจะอยูในชวง 0-10
ppm แตอาจมีคาติดลบหรือมากกวา 10 ppm ก็ไดหากโปรตอนนั้นอยูภายใตสภาพแวดลอมที่ผิดปกติ
มีคําศัพทที่ควรจะตองทราบเกี่ยวกับการกําหนดความถี่/เคมิคัลชิฟตใน NMR สเปกตรัม กลาวคือหากคาตัว
เลขเคมิคัลชิฟตมาก แสดงวาความถี่ที่เกิดการดูดกลืนคลื่นวิทยุมีคาสูง นั่นคือ ∆E มีคามากดวย ยานนี้จะเรียกวายาน
downfield (หรือ deshield - ดูขางลาง) สวนดานตัวเลขเคมิคัลชิฟ ตนอย ก็จะกลับกัน ยานนี้จะเรียกวายาน upfield
(หรือ shield - ดูขางลาง)

รูปที่ 4 แสดงตัวอยางของ NMR spectrum ของเอทานอล

ในการใชเอ็นเอ็มอารสเปกตรัมเพื่อหาขอมูลเกี่ยวกับโครงสรางของโมเลกุลใหพิจารณาประเด็นตางๆ ซึ่งจะให
ขอมูลตอไปนี้
1. จํานวนชนิดของสัญ ญาณ (number of signals) จะใหขอมูลเกี่ยวกับ จํานวนชนิ ดของโปรตอนที่ แตกตางกัน ใน
โมเลกุล
2. ตํ า แหน ง ของสั ญ ญาณ (positions of the signals) ซึ่ ง ก็ คื อ เคมิ คั ล ชิ ฟ ต จ ะให ข อ มู ล เกี่ ย วกั บ สภาพแวดล อ ม
อิเล็กตรอน (electronic environment) ของโปรตอนแตละกลุมนั้น
3. ความเข ม ของสั ญ ญาณ (intensity of the signals) ซึ่ งแสดงในรูป พื้ น ที่ ใต พี ก จะให ข อ มู ล เกี่ ย วกั บ จํา นวนของ
โปรตอนแตละชนิด

5
เอกสารนี้จัดทําโดย ธีรยุทธ วิไลวัลย และ วรวรรณ พันธุมนาวิน ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (พ.ศ. 2548)

หามคัดลอก ดัดแปลง หรือเผยแพรโดยไมไดรับอนุญาตเปนลายลักษณอักษร

4. การแยกของสัญญาณ (splitting of the signals) กลุมหนึ่งๆออกเปนหลายพีก จะใหขอมูลเกี่ยวกับจํานวนโปรตอน


อื่น ๆ ที่ตออยูกับคารบอนซึ่งตอกับคารบอนที่โปรตอนที่กําลังพิจารณาอยูนั้นตออยูดวย (จํานวน neighboring
protons)
ซึ่งจะไดมีการแยกอธิบายแตละสวนโดยละเอียดในหัวขอตอไป

จํานวนชนิดของสัญญาณที่ปรากฏ: นิวเคลียสที่อยูในสภาพแวดลอมเหมือนและตางกัน
แมวาความแตกตางของพลังงานในสองสถานะของนิวเคลียสของโปรตอนจะคํานวณไดจากสมการ (1) และ
เปนคาเฉพาะตัวของนิวเคลียสและความแรงของสนามแมเหล็ก ถาเปนเชนนั้นเทคนิค NMR ก็คงจะไมคอยมีประโยชน
เทาใดนักเนื่องจากมันคงจะบอกไดแตเพียงความแตกตางของนิวเคลียสตางชนิดกัน แตในความเปนจริงกลับพบวาแม
แตนิวเคลียสชนิดเดียวกันหากอยูในสภาพแวดลอมที่ตางกันเล็กนอย มันจะ "รูสึก" ถึงความแรงของสนามแมเหล็ก
(field strength) ที่ไมเทากัน ในระดับเบื้องตนนี้ขอเจาะจงใชคําวาสภาพแวดลอมโดยใหหมายถึงสภาพแวดลอมทางเคมี
(chemical environment) เทานั้นกอน กลุมของนิวเคลียสที่อยูในสภาพแวดลอมทางเคมีเดียวกันนี้จึงเรียกไดวาเป น
โปรตอนที่ chemically equivalent กัน และนิวเคลียสที่อยูในสภาพแวดลอมทางเคมีที่แตกตางกันเรียกวาเปน
นิวเคลียสที่ chemically non-equivalent กัน
นิวเคลียสที่อีควิวาเลนตกันจะดูดกลืนคลื่นวิทยุที่ความถี่เดียวกัน ในขณะที่นิวเคลียสที่ non-equivalent กันจะ
ดูดกลืนที่ความถี่แตกตางกันเล็กนอย แตก็จะอยูในชวงแคบๆ ที่ใกลเคียงกับความถี่ที่คํานวณไดตามสมการ (1)
ตามปกติ นิ ว เคลี ย สที่ ต อ อยู กั บ อะตอมเดี ย วกั น มั ก จะ chemically equivalent กั น (รู ป ที่ 5) ตั ว อย า งเช น
โปรตอนทั้งสามตัวบนหมูเมทิล หรือ CH2 โปรตอนในคลอโรอีเทน ดังนั้นในสารประกอบนี้จึงแสดงสัญญาณ NMR 2
กลุม ในขณะที่สารประกอบเชน 1,2-ไดคลอโรอีเทนจะแสดงสัญ ญาณ NMR เพียงกลุมเดียวเนื่องจากโปรตอนทั้ งสี่
equivalent กันหมดเพราะโมเลกุลมีสมมาตร อยางไรก็ตามพึงเขาใจวาการที่โปรตอนเหลานี้อีควิวาเลนตกันเปนผลมา
จากการเฉลี่ยเนื่องจากการหมุนอยางอิสระของพันธะเดี่ยว หากการหมุนนี้ถูกจํากัดเชนเมื่ออยูในวงแหวนหรือเมื่อมี
พันธะคูจะทําใหโปรตอนที่อยูบนคารบอนอะตอมเดียวกันอาจอยูภายใตภาวะแวดลอมที่ไมเหมือนกันก็ได ตัวอยางเชน
ในสารประกอบคลอโรอีทีน ในกรณีนี้ โปรตอนทั้งสามตัวจะไม อีควิวาเลนตกันเลยจึงเห็นสัญญาณถึง 3 ชุด (สัญญาณ
ของ ขึ้นใกลกันมากจนเกือบจะซอนทับกัน แตจะเห็นชัดเจนเมื่อขยาย) นอกจากนี้ยังมีเหตุผลอื่นอีกที่ทําใหโปรตอนที่
ตอบนอะตอมเดียวกันอาจไมอีควิวาเลนตกัน เชนการอยูใกลกับจุดศูนยกลางสเตอริโอเจนิก ซึ่งอยูนอกเหนือขอบเขต
ของเอกสารชุดนี้

H Cl Cl Cl H Cl
H H H H
H H H H H H

chloroethane 1,2-dichloroethane chloroethene


(2 equivalent H) (1 equivalent H) (3 equivalent H)

รูปที่ 5 แสดงจํานวนโปรตอนที่อีควิวาเลนตกันในโมเลกุลของคลอโรอีเทน 1,2-ไดคลอโรอีทีน


และ คลอโรอีทีน

6
เอกสารนี้จัดทําโดย ธีรยุทธ วิไลวัลย และ วรวรรณ พันธุมนาวิน ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (พ.ศ. 2548)

หามคัดลอก ดัดแปลง หรือเผยแพรโดยไมไดรับอนุญาตเปนลายลักษณอักษร

Ha
Ha
Hb
Hb

รูปที่ 6 ในกรณีที่มีการแลกเปลี่ยนตําแหนงของโปรตอนอยางรวดเร็ว เชนโดยการเปลี่ยนคอนฟอรเมชัน จะทําให


โปรตอน Ha และ Hb กลายเปนอีควิวาเลนตโปรตอนไดเนื่องจากการเฉลี่ย

ในโมเลกุลที่เปนวงแหวน หากวงแหวนนั้นมีการเปลี่ยนแปลงคอนฟอรเมชันอยางรวดเร็วก็จะทําใหเกิดการ
เฉลี่ยไดคลายคลึงกับในระบบที่เปนโซเปด เชน ไซโคลเฮกเซน (รูปที่ 6) จริงๆ แลว ณ ขณะใดขณะหนึ่ง โมเลกุลนี้จะมี
โปรตอนอยู 2 ประเภทที่แสดงดวยสัญลักษณ Ha และ Hb อยางละ 6 ตัว แตเนื่องจากโมเลกุลนี้มีการเปลี่ยนคอนฟอรเม
ชันที่อุณหภูมิปกติอยางรวดเร็วเมื่อเทียบกับเวลาที่ใชในการบันทึก NMR สเปกตรัมจึงทําใหสัญญาณของ Ha และ Hb
เฉลี่ยกันกลายเปนสัญญาณเดียว แตถาหากลดอุณหภูมิลงไปมากๆ ทําใหการเปลี่ยนคอนฟอรเมชันเกิดชาลงก็จะเห็น
สัญญาณ 2 ชุดเนื่องจาก Ha และ Hb ตามลําดับ
การระบุจํานวนโปรตอนที่ไมอีควิวาเลนตกันในสารประกอบที่เปนวงแหวน หากวงแหวนนั้นไมสามารถเปลี่ยน
แปลงคอนฟอรเมชันได ดังเชนในกรณีของวงแหวนเบนซีน ดังนั้นโปรตอนทั้ง 6 ของเบนซีนจึงอีควิวาเลนตกันและ
ปรากฏสัญญาณ NMR เพียงชุดเดียว แตคลอโรเบนซีนจะมีสัญญาณถึง 3 ชุด (รูปที่ 7) อยางไรก็ตาม จํานวนชุดของ
สัญญาณที่สามารถมองเห็นไดจริงในสเปกตรัมยอมขึ้นกับความสามารถในการแยก (resolution) ของเครื่องสเปกโตร
มิเตอรที่ใชดวย ในกรณีของเบนซีนที่ถูกแทนที่บอยครั้งจะเห็นจํานวนชุดของสัญญาณนอยกวาจํานวนชุดของโปรตอนที่
ไมอีควิวาเลนตกันทั้งนี้เนื่องจากสัญญาณของโปรตอนที่ไมอีควิวาเลนตกันอาจบังเอิญมาซอนทับที่ตําแหนงเดียวกันได

H Cl
H H H H

H H H H
H H

รูปที่ 7 แสดงจํานวนอีควิวาเลนตโปรตอนในเบนซีน (1) และคลอโรเบนซีน (3)

แบบฝกหัด จงระบุจํานวนชุดของโปรตอนที่ไมอีควิวาเลนตกันของสารประกอบตอไปนี้
1. แนพทาลีน 2. ไซลีน (ทั้งสามไอโซเมอร) 3. บิวเทน 4. เมทิลไซโคลเฮกเซน 5. 2-คลอโรไนโตรเบนซีน

ตําแหนงของสัญญาณ: บอกสภาพแวดลอมของนิวเคลียส
ดังที่กลาวมาแลววานิวเคลียสชนิดเดียวกันไมจําเปนจะตองเกิดการเรโซแนนซหรือดูดกลืนคลื่นวิทยุที่ความถี่
เดียวกันทั้งนี้ขึ้นอยูกับสภาพแวดลอมของนิวเคลียสนั้นๆ โปรตอนในสนามแมเหล็กขนาด 9.4 T เมื่อคํานวณความถี่
ของการดูดกลืนคลื่นวิทยุจากสมการ (1) จะไดวามีคาเทากับ 4x108 Hz แตในความเปนจริงความถี่ของการดูดกลืนที่วัด
ไดจะมีคาต่ํากวานี้เนื่องจากคาที่คํานวณไดเปนของโปรตอนอิสระ แตในโมเลกุลของสารอินทรียโปรตอนจะไมไดอยูใน
สภาพอิสระ โดยจะมีอิเล็กตรอนมาลอมรอบ ทําใหโปรตอนนิวเคลียส "รูสึก" ถึงสนามแมเหล็กที่นอยกวาความเปนจริง
แตความแตกตางนี้จะไมมากนัก เชนในกรณีนี้จะอยูในชวงเพียง 4000 Hz เมื่อเทียบกับคาความถี่ของโปรตอนอิสระที่

7
เอกสารนี้จัดทําโดย ธีรยุทธ วิไลวัลย และ วรวรรณ พันธุมนาวิน ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (พ.ศ. 2548)

หามคัดลอก ดัดแปลง หรือเผยแพรโดยไมไดรับอนุญาตเปนลายลักษณอักษร

เกิดการเรโซแนนซในสนามแมเหล็กขนาดเดียวกันแตก็มากพอที่จะแยกแยะความแตกตางของโปรตอนสวนใหญที่อยู
ในสภาพแวดลอมที่แตกตางกันออกจากกันได
การที่นิวเคลียสรูสึกถึงสนามแมเหล็กนอยกวาความเปนจริงเนื่องจากการบดบังของอิเล็กตรอนนี้เรียกวาการ
ชีลด (shielding) หากบริเวณรอบนิวเคลียสที่กําลังพิจารณานั้นมีความหนาแนนของอิเล็กตรอนสูง นิวเคลียสยอมจะถูก
ชีลดมาก ทําใหมองเห็นสนามแมเหล็กนอยกวาคาจริงมาก สัญญาณเรโซแนนซจึงเกิดที่ความถี่ต่ํากวาคาที่ควรจะเปน
ในกรณีของนิวเคลียสอิสระมาก ในกรณีนึ้คาเคมิคัลชิฟตจะมีตัวเลขนอยหรือติดลบ (อยูทางดานขวามือหรือ upfield) ใน
ทางกลั บ กั น หากรอบนิ วเคลี ย สมี ค วามหนาแน น ของอิ เล็ ก ตรอนต่ํ าก็ จ ะเกิ ด สั ญ ญาณเรโซแนนซ ใกล เคี ย งกั บ ของ
นิวเคลียสอิสระมากขึ้น (อยูทางดานซายมือหรือ downfield) เรียกวาเกิดการดีชีลด (รูปที่ 8)

free nucleus deshielded shielded

B as experienced
by the nuclei

Applied B0

∆E ∆E

ν, δ ν, δ

รูปที่ 8 แสดงการเกิด shielding ของนิวเคลียสภายใตสนามแมเหล็ก

ปจจัยที่สงผลตอความหนาแนนอิเล็กตรอนที่แวดลอมโปรตอนหนึ่งๆ มีหลายอยางซึ่งจะสงผลรวมกันและผล
รวมของปจจัยตางๆ นี้จะทําใหเกิดความแตกตางของเคมิคัลชิฟตขึ้น ปจจัยดังกลาวไดแก

ผลของอิเล็กโตรเนกาติวิตี
เปนผลการเปลี่ยนแปลงคาเคมิคัลชิฟตอันเนื่องมาจากความแตกตางของอิเล็กโตรเนกาติวิตีของอะตอมที่
กําลังพิ จ ารณากับ ของอะตอมที่ เป น หมูแทนที่ เมื่อพิ จ ารณาชนิ ดของหมู แทนที่ ที่เปน เฮทเทอโรอะตอมที่ ตออยู บ น
คารบอนเดียวกันกับที่โปรตอนที่สนใจเกาะอยู จะพบวาคาเคมิคัลชิฟตของโปรตอนนั้นจะเพิ่มขึ้น (พีกปรากฏที่บริเวณ
ซึ่ง downfield มากขึ้น) เมื่ออิเล็กโตรเนกาติวิตีของธาตุที่ตออยูนั้นเพิ่มขึ้น ดังตัวอยางในตาราง 2 เนื่องจากในคารบอน
อะตอมมีหมูแทนที่ที่ดึงอิเล็กตรอนไดดีตออยูนี้ ความหนาแนนของอิเล็กตรอนรอบๆโปรตอนที่ตออยูกับคารบอนนั้นจะ
ลดลง จึ ง เกิ ด การดี ชิ ล ด ขึ้ น ปรากฏการณ ลั ก ษณะนี้ เรี ย กว า ไดอะแมกเนติ ก ชี ล ดิ ง เฉพาะที่ (local diamagnetic
shielding)

8
เอกสารนี้จัดทําโดย ธีรยุทธ วิไลวัลย และ วรวรรณ พันธุมนาวิน ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (พ.ศ. 2548)

หามคัดลอก ดัดแปลง หรือเผยแพรโดยไมไดรับอนุญาตเปนลายลักษณอักษร

ตาราง 2 คาเคมิคัลชิฟตของสารประกอบ CH3-X บางชนิด

สารประกอบ CH3X (CH3)4Si CH4 CH3I CH3Br CH3Cl CH3OH CH3F


ธาตุของหมูแทนที่ X Si H I Br Cl O F
อิเล็กโตรเนกาติวิตี ของ 1.8 2.1 2.5 2.8 3.1 3.5 4.0
X
Chemical shift (ppm) 0 0.23 2.16 2.68 3.05 3.40 4.26

จํานวนหมูแทนที่ และ ระยะหางระหวางหมูแทนที่นั้นกับคารบอนที่โปรตอนนั้นตออยูก็มีผลตอคาเคมิคัลชิฟต


เชนกัน (ตาราง 3) จะเห็นวาอิทธิพลของหมูแทนที่จะลดลงเมื่อระยะหางระหวางหมูแทนที่นั้นกับโปรตอนเพิ่มขึ้น และจะ
มีผลนอยมากตอโปรตอนที่หางออกไปมากกวา 3 คารบอน
ตาราง 3 ผลของหมูแทนที่ (substituent effect) ที่มีตอคา chemical shift
CHCl3 CH2Cl2 CH3Cl -CH2Br -CH2 CH2Br -CH2CH2CH2Br
δ 2.27 5.30 3.05 3.30 1.69 1.25
(ppm)

ผลจากการเกิดเรโซแนนซของอิเล็กตรอน
ปจจัยใดก็ตามที่สงผลใหเกิดการเปลี่ยนแปลงความหนาแนนอิเล็กตรอนที่แวดลอมโปรตอนใดๆ ยอมทําให
เกิด shielding หรือ deshielding effect ได ตัวอยางเชน NMR สเปกตรัมของไนโตรเบนซีนจะมีสัญญาณ 3 ชุดเกิดที่
ตํ าแหน ง 8.2, 7.7 และ 7.5 ppm ตามลํ าดั บ ซึ่ งเป น สัญ ญาณของออรโท พารา และเมตาโปรตอนตามลํา ดั บ หาก
พิจารณาจากอินดักทีฟเอฟเฟกตอยางเดียวดูเหมือนจะขัดแยงกับโครงสรางเนื่องจากหมูไนโตรอยูหางจากตําแหนง
พารามากที่สุด จึงนาจะมีผลกระทบนอยกวาตําแหนงเมตา แตที่จริงแลวผลของเรโซแนนซของหมูไนโตร (ซึ่งเปนหมูดึง
อิเล็กตรอน) จะมีมากที่ตําแหนงออรโทและพารา ในขณะที่ตําแหนงเมตามีผลกระทบจากอินดักทีฟเอฟเฟกตเทานั้น
สวนตําแหนงออรโทไดรับทั้งอินดักทีฟ และเรโซแนนซเอฟเฟกต ซึ่งมีทิศทางไปทางเดียวกันจึงถูกดีชีลดมากที่สุด และ
มีเคมีคัลชิฟตสูงที่สุดดวย (รูปที่ 9)

9
เอกสารนี้จัดทําโดย ธีรยุทธ วิไลวัลย และ วรวรรณ พันธุมนาวิน ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (พ.ศ. 2548)

หามคัดลอก ดัดแปลง หรือเผยแพรโดยไมไดรับอนุญาตเปนลายลักษณอักษร

รูปที่ 9 แสดงการเกิดเรโซแนนซของไนโตรเบนซีนและอิทธิพลของมันที่มีตอเคมิคัลชิฟตของอะโรมาติกโปรตอน (ดัด


แปลงจาก SDBSWeb: http://www.aist.go.jp/RIODB/SDBS/)
การแตกกิ่งกานสาขา
โปรตอนที่ตออยูกับคารบอนอะตอมที่มีการแตกกิ่งกานสาขามากจะถูก deshield มากดวย ดังนั้นหากเปรียบ
เทียบในระบบที่ใกลเคียงกัน สัญญาณของมีไทนโปรตอน (CH) จะมีคาเคมิคัลชิฟตสูงกวาสัญญาณของเมทิลีน (CH2)
และเมทิล (CH3) โปรตอนตามลําดับ แตตัวเลขจะไมแตกตางกันมากนัก ตัวอยางเชน ในแอลเคนปกติ สัญญาณเรโซ
แนนซของ CH, CH2 และ CH3 จะเกิดที่ตําแหนง 1.4, 1.3 และ 0.9 ppm ตามลําดับ

ผลของไฮบริไดเซชันที่มีตอคา chemical shifts


โปรตอนที่ตออยูกับคารบอนที่มีไฮบริไดเซชันเปน sp3 ไมวาจะเปน RCH3, R2CH2, R3CH, หรือ โปรตอนของ
ไซโคลแอลเคน จะมีเรโซแนนซในชวง 0-2 ppm sp3 ออรบิทัลมีลักษณะของพีออรบิทัล (p-character) สูง จึงให
อิเล็กตรอนไดดีเมื่อสรางพันธะซิกมากับ 1s ออรบิทัลของไฮโดรเจน ไฮโดรเจนนี้จึงมีความหนาแนนอิเล็กตรอนโดยรอบ
สูง ทําใหเกิด shielding ไดดี
เนื่องจาก sp2 ไฮบริไดซออรบิทัลของคารบอน (ซึ่งใชสรางพันธะซิกมากับ 1s ออรบิทัลของไฮโดรเจน) นั้นมี
ลักษณะของเอสออรบิทัล (s-character) มากกวาที่ sp3 ออรบิทัลมี มันจึงดึงดูดอิเล็กตรอนใหเขามาอยูใกลนิวเคลียส
ของคารบอนไดมากกวาในกรณีของ sp3 ออรบิทัล ทําใหความหนาแนนของอิเล็กตรอนบริเวณไฮโดรเจนอะตอมมีนอย
และเกิด deshielding ที่ไฮโดรเจนอะตอม ดังนั้นไวนิลโปรตอนจึงมีคาเคมิคัลชิฟตมากกวาของโปรตอนที่ตออยูกับ sp3
คารบอน

10
เอกสารนี้จัดทําโดย ธีรยุทธ วิไลวัลย และ วรวรรณ พันธุมนาวิน ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (พ.ศ. 2548)

หามคัดลอก ดัดแปลง หรือเผยแพรโดยไมไดรับอนุญาตเปนลายลักษณอักษร

หากพิ จารณาแนวโน ม ของการเปลี่ ย นแปลงค าเคมิ คั ลชิฟ ต โดยใช ช นิ ด ของไฮบริไดเซชั น ของคารบ อนที่
โปรตอนที่สนใจตออยูดังกลาวขางตน โปรตอนที่ตออยูกับ sp-hybridized carbon ก็นาจะมีเคมิคัลชิฟตในบริเวณที่
downfield กวาเคมิคัลชิฟตของโปรตอนที่ตออยูกับ sp2-hybridized carbon เพราะ sp ไฮบริไดซออรบิทัลของคารบอน
นั้นมี s-character ถึง 50 % แตที่จริงแลวไมเปนเชนนั้น โปรตอนที่ตออยูกับ sp-hybridized carbon จะมีเคมิคัลชิฟตใน
ชวง 2-3 ppm ซึ่งเกิดจากปรากฎการณที่เรียกวาแมกเนติกแอนไอโซโทรป (magnetic anisotropy) ซึ่งจะไดกลาวถึงใน
หัวขอถัดไป

แมกเนติกแอนไอโซโทรป (magnetic aniosotropy)


เมื่อใหสนามแมเหล็กภายนอกแกระบบของสารอินทรียที่มีพาย (π) อิเล็กตรอนอยูดวย เชนระบบที่มี C=C,
C=O, หรือระบบอะโรมาติก พายอิเล็กตรอนนั้นจะเกิดอันตรกิริยากับสนามแมเหล็กที่ให เชน เมื่อนําเบนซีนไปวางใน
สนามแมเหล็ก (B0) พายอิเล็กตรอนจะถูกเหนี่ยวนําใหเคลื่อนที่เปนวงรอบนิวเคลียสโดยมีวงโคจรรอบวงแหวนเบนซีน
กระแสการวนเปนวงนี้เรียกวา ring current การที่อิเล็กตรอนเหลานี้โคจรเปนวงจะเหนี่ยวนําใหเกิดสนามแมเหล็กทุติย
ภูมิ (secondary magnetic field) ขึ้นโดยรอบวงโคจรนั้น สนามแมเหล็กทุติยภูมิหรือเรียกไดอีกอยางหนึ่งวาสนามแม
เหล็กที่เกิดจากการเหนี่ยวนํา (induced magnetic field) นี้ มีทั้งสวนที่มีทิศทางเดียวกับสนามแมเหล็กภายนอก B0
และที่มีทิศทางตรงกันขามกับ B0 ดังแสดงในรูปที่ 10 sheilding และ deshielding effect ซึ่งเกิดจากแมกเนติกแอน
ไอโซโทรปนี้เปนสิ่งที่สําคัญและสงผลกระทบตอเคมิคัลชิฟตอยางเดนชัดมาก

nucleus
induced magnetic
lines of force

circulating
electron
external
B0 magnetic field
รูปที่ 10 สนามแมเหล็กเหนี่ยวนําซึ่งเกิดจากการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนเมื่อไดรับสนามแมเหล็ก B0

+
H3C
C C _ C O _
H H

(ก) (ข) (ค)


รูปที่ 11 เมื่อเกิดสนามแมเหล็กเหนี่ยวนําขึ้น (ก) อะโรมาติกโปรตอนจะถูก deshield (ข) อะเซติลินิก โปรตอนจะถูก
sheild (ค) คารบอนิลโปรตอนจะถูก deshield

11
เอกสารนี้จัดทําโดย ธีรยุทธ วิไลวัลย และ วรวรรณ พันธุมนาวิน ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (พ.ศ. 2548)

หามคัดลอก ดัดแปลง หรือเผยแพรโดยไมไดรับอนุญาตเปนลายลักษณอักษร

หากโปรตอนใดวางตัวอยูในตําแหนงที่ไดรับอิทธิพลของสนามแมเหล็กเหนี่ยวนําซึ่งมีทิศทางเดียวกันกับ B0
และเกิดการเสริม แรงสนามแมเหล็ก ขึ้น นี้ โปรตอนนั้ น จะได รับ สนามแมเหล็ก ที่ มี ค วามแรงรวมมากขึ้น เรีย กได วา
โปรตอนนั้นถูก deshield หรือไดรับ deshielding effect สวนโปรตอนใดวางตัวอยูในตําแหนงที่ไดรับอิทธิพลของสนาม
แมเหล็กเหนี่ยวนําซึ่งมีทิศทางตรงกันขามกับ B0 สนามแมเหล็กก็จะหักลางกันไปบางสวนความแรงรวมของสนามแม
เหล็กที่โปรตอนนั้นไดรับจึงนอยลง เรียกไดวาโปรตอนนั้นถูก shielded หรือเกิด shielding effect จากตั ว อย า ง
ในรูปที่ 11 (ก) ไฮโดรเจนบนวงเบนซีนวางตัวอยูในตําแหนงที่สนามแมเหล็กเหนี่ยวนํานั้นอยูในทิศทางเดียวกับสนาม
แมเหล็กภายนอกทําใหมันถูก deshield ดังนั้นจึงพบวาอะโรมาติกโปรตอนจะมีเคมิคัลชิฟตซึ่ง downfield มาก (6-8.5
ppm)
ในกรณี ของเทอรมินัลแอลไคน (terminal alkynes) นั้น การเคลื่อนที่ของพายอิเล็กตรอนในพันธะพายสอง
พั น ธะของแอลไคน ทํ าให บ ริเวณรูป ทรงกระบอกรอบแนวแกนของพั น ธะ C-C นั้ น มี ค วามหนาแน น อิเล็ก ตรอนสู ง
อิเล็กตรอนเหลานี้เมื่ออยูในสนามแมเหล็กก็จะเหนี่ยวนําใหเกิดสนามแมเหล็กทุติยภูมิในลักษณะเดียวกับกับที่กลาวไป
แลว จากรูปที่ 11 (ข) จะเห็นวาอะเซติลินิกโปรตอน (acetylenic protons) นั้นวางตัวอยูในตําแหนงของสนามแมเหล็ก
เหนี่ยวนําซึ่งมีทิศทางหักลางกับ B0 โปรตอนเหลานี้จึงถูก shielded ทําใหมีคาเคมิคัลชิฟตในชวงซึ่ง upfield กวาที่นา
จะเปนเมื่อพิจารณาผลของไฮบริไดเซชันเพียงอยางเดียว
เมื่อโมเลกุลของสารประกอบที่มีหมูคารบอนิลไดรับแรงกระทําจากสนามแมเหล็กภายนอก พายอิเล็กตรอน
ของพันธะ C=O ก็จะเหนี่ยวนําใหเกิดสนามแมเหล็กในทํานองเดียวกันกับกรณีของสารประกอบอะโรมาติกและแอลไคน
ได (รูปที่ 11 (ค)) จึงพบวาโปรตอนซึ่งไดรับอิทธิพลของสนามแมเหล็กเหนี่ยวนําซึ่งเกิดจาก C=O จะมีคาเคมิคัลชิฟต
ซึ่ง downfield มาก ตัวอยางเชนโปรตอนของกรด คารบอกซิลิก และโปรตอนของแอลดิไฮดจะมีคาเคมิคัลชิฟตในชวงที่
downfield มากๆ เนื่องจากโปรตอนไดรับผลทั้งจากแมกเนติกแอนไอโซโทรปและผลจาก inductive effect ของหมูแทน
ที่บนคารบอนดวย
นอกจากนี้ก็ยังมีปจจัยปลีกยอยอื่นอีกที่อาจมีผลกระทบตอเคมิคัลชิฟต เชนการเกิดพันธะไฮโดรเจนเปนตน
หากมีหลายอิทธิพลรวมกัน ผลลัพธที่เกิดขึ้นมักจะใกลเคียงกับผลรวมของการเปลี่ยนแปลงเคมิคัลชิฟตเนื่องจากอิทธิ
พลทั้งหมด ซึ่งมีสูตรคํานวณเคมิคัลชิฟตของทั้งระบบที่เปนอะลิฟาติกและอะโรมาติกไดอยางแมนยําพอสมควร แตใน
ระดับนี้ยังไมจําเปนตองคํานวณได
หากพิจารณาโดยรวม จะเห็นแนวโนมทั่วไปที่เดนชัดของเคมิคัลชิฟตของโปรตอนบางกลุมซึ่งสามารถสรุปได
ดังนี้ (ดูรปู ที่ 12 ประกอบ)
- โปรตอนที่ตออยูกับ (หรือตออยูไมไกลจาก) คารบอนที่มีหมูแทนที่ที่ดึงอิเล็กตรอนไดดี จะมี chemical chift สูง
(downfield shift)
- พีกของโปรตอนที่ตอกับ O หรือ N อาจปรากฏใหเห็นหรือไมก็ได และไมไดมีเคมิคัลชิฟตอยูบริเวณใดบริเวณหนึ่ง
ตายตัว
- π-system ของ แอลคีน, แอลไคน, และอะโรมาติก จะ deshield โปรตอนของมันไดมาก ทําใหปรากฏพีกที่บริเวณ
downfield
- โปรตอนของคารบอกซิลิก และแอลดิไฮด เปนกลุมที่มีเคมิคัลชิฟตสูงกวาโปรตอนกลุมอื่นๆ

12
เอกสารนี้จัดทําโดย ธีรยุทธ วิไลวัลย และ วรวรรณ พันธุมนาวิน ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (พ.ศ. 2548)

หามคัดลอก ดัดแปลง หรือเผยแพรโดยไมไดรับอนุญาตเปนลายลักษณอักษร

O H X H X H
H
H H

10 9 8 7 6 5 4 3 2 1 0

รูปที่ 12 แสดงแผนภาพเคมิคัลชิฟตของโปรตอนเอ็นเอ็มอาร

พื้นที่ใตพีก: บอกจํานวนโปรตอนในแตละกลุม
พื้นที่ใตพีกของสัญญาณเอ็นเอ็มอารจะเปนสัดสวนโดยตรงกับจํานวนโปรตอนที่ทําใหเกิดสัญญาณนั้น เครื่องอิ
เล็กทรอนิกอินทิเกรเตอร (electronic integrator) จะอินทิเกรตเพื่อหาพื้นที่ใตพีกของแตละพีกหรือกลุมพีกแลวแสดงผล
เปนรูปขั้นบันได (stepped curve) เหนือพีกนั้นๆ และอาจแสดงคาเปนตัวเลขดวย ความสูงของขั้นบันไดนี้จะเปนสัด
สวนกับพื้นที่ใตพีก ถาเครื่องสเปกโตรมิเตอรไมไดใหคามาเปนตัวเลขใหใชคาความสูงของพีกซึ่งวัดดวยไมบรรทัดหรือ
ใชการนับจํานวนชองของกระดาษกราฟเพื่อใชในการคํานวณอัตราสวนของพีกเทียบกับพีกอื่นๆ เมื่ อ คํ าน ว ณ
อัตราสวนระหวางพื้นที่ใตพีกของสัญญาณแตละพีกได ก็จะทราบอัตราสวนของโปรตอนแตละชนิด ตัวอยางเชน เมื่อ
พิจารณาโปรตอนเอ็นเอ็มอารสเปกตรัมของเมซิทิลีน (1,3,5-ไตรเมทิลเบนซีน) (รูปที่ 13) จะเห็นวาอัตราสวนระหวาง
พื้นที่ใตพีกของเมทิลโปรตอนตอพื้นที่ใตพีกของอะโรมาติกโปรตอนในสารประกอบนี้มีคาประมาณ 3:1 ซึ่งจะสอดคลอง
กับอัตราสวนของจํานวนโปรตอนแตละชนิดในสารประกอบนี้ (9:3)

รูปที่ 13 โปรตอนเอ็นเอ็มอารสเปกตรัมของเมซิทิลีน

ดังนั้นเมื่อทราบจํานวนโปรตอนทั้งหมดที่มีในโมเลกุล (จากสูตรเคมี) และทราบอัตราสวนคาอินทิเกรชันของ


พีกของโปรตอนชนิดตางๆ ก็จะทราบไดวาโปรตอนแตละชนิดมีจํานวนเทาใด ลองพิจารณาสเปกตรัมของพาราเทอร
เชียรีบิวทิลเบนซีน (รูปที่ 14) เพื่อดูตัวอยางของความสัมพันธดังกลาว

13
เอกสารนี้จัดทําโดย ธีรยุทธ วิไลวัลย และ วรวรรณ พันธุมนาวิน ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (พ.ศ. 2548)

หามคัดลอก ดัดแปลง หรือเผยแพรโดยไมไดรับอนุญาตเปนลายลักษณอักษร

รูปที่ 14 โปรตอนเอ็นเอ็มอารสเปกตรัมของพาราเทอรเชียรีบิวทิลเบนซีน

หรือเมื่อนับเปนจํานวนชองของกระดาษกราฟจะได = 8.8 ชอง : 2.9 ชอง : 3.8 ชอง


จํานวนชองที่นับไดรวม = 8.8 + 2.9 + 3.8 = 15.5 ชอง
สูตรโมเลกุลคือ C11H16 ดังนั้นจึงเทียบไดวา 15.5 ชอง = 16 โปรตอน
1 ชอง = 1.03 โปรตอน
ดังนั้นสามารถหาจํานวนโปรตอนของพีกแตละกลุมไดดังนี้
a = 1.03 × 8.8 = 9.1 โปรตอน; b = 1.03 × 2.9 = 3.0 โปรตอน; c = 12.03 × 3.8 = 3.9 โปรตอน
หรืออาจใชอัตราสวนความสูงของ stepped curve ของพีก a : b : c (0.5 cm : 0.4 cm : 1.2 cm) แ ท น ก า ร ใช
จํานวนชองในการคํานวณไดเชนกัน

ความสูงของพีกไมสามารถใชแทนคาพื้นที่ใตพีกได พีก 2 พีกอาจมีพื้นที่ใตพีกเทากันไดแมวาจะมีความ


สูงตางกันเนื่องจากแตละพีกมีความแคบกวางตางกัน หรือกลาวไดวา พีกที่มีรูปรางสูงแตแคบอาจมีพื้นที่ใตพีกนอยกวา
พีกที่มีรูปรางอวนเตี้ยได

การแยกของพีก (peak splitting): บอกจํานวนโปรตอนที่อยูรอบขาง


แมวาจะทราบจํานวนชนิดของโปรตอนที่อยูในสภาพแวดลอมที่แตกตางหรือเหมือนกัน, คา chemical shift,
และคาอินทิเกรชันแลว เราก็ยังบอกโครงสรางที่ถูกตองของสารที่สนใจไมไดเนื่องจากยังไมมีขอมูลที่จะบงชี้ถึงลําดับการ
ตอกัน (connectivity) ของอะตอมที่เกี่ยวของ โปรตอนเอ็นเอ็มอารสเปกตรัมจะใหขอมูลสําคัญที่จะบอกลําดับการตอกัน
ของอะตอมโดยอาศัยการเชื่อมโยงกับจํานวนโปรตอนที่อยูขางเคียงได ขอมูลนี้จะไดมาจากรูปรางของสัญญาณ ซึ่งอาจ
มีพีกเดียวหรือแยกเปนหลายๆ พีกที่เรียกวา peak splitting การเกิด peak splitting นั้นเปนผลมาจากปรากฏการณที่
เรียกวา สปน-สปนคัปปลิง ซึ่งจะเกิดเมื่อมีนิวเคลียสที่ไมอีควิวาเลนตกันมาอยูใกลกัน โดยคําวาใกลนั้นโดยทั่วไปจะ
หมายถึงระยะหางกันไมเกิน 2-3 พันธะ แตก็อาจพบการคัปปลิงเกิดขึ้นในระยะที่ยาวกวานั้นเชน 4 พันธะไดในกรณี
พิเศษ โดยทั่วไปพบวาโปรตอนจะเกิดการ coupling เฉพาะกับโปรตอนที่ตออยูบนคารบอนอะตอมเดียวกัน (geminal
coupling) หรืออะตอมที่อยูติดกัน (vicinal coupling) นิวเคลียสที่เกิดการคัปปลิงไมจําเปนวาจะตองเปนนิวเคลียสชนิด

14
เอกสารนี้จัดทําโดย ธีรยุทธ วิไลวัลย และ วรวรรณ พันธุมนาวิน ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (พ.ศ. 2548)

หามคัดลอก ดัดแปลง หรือเผยแพรโดยไมไดรับอนุญาตเปนลายลักษณอักษร

เดียวกัน ขอใหเปนเพียงนิวเคลียสที่ใหสัญญาณเอ็นเอ็มอารก็พอแลว โชคดีที่คารบอนสวนมาก (99 %) เปนคารบอน


12 เราจึงไมเห็นการคัปปลิงระหวางโปรตอนกับคารบอน (แตมีการคัปปลิงระหวางโปรตอนกับคารบอน 13 ซึ่งมองเห็น
ไดหากขยายสเปกตรัมมากๆ) มิฉะนั้นรูปแบบการคัปปลิงของสัญญาณโปรตอนเอ็นเอ็มอารแมในโมเลกุลงายๆ ก็คงจะ
ซับซอนกวานี้มาก ทฤษฎีของการคัปปลิงคอนขางซับซอนและจะไมอธิบายโดยละเอียดในที่นี้ แตจะอธิบายการใช
ประโยชนจากลักษณะการคัปปลิงเลยขางเคียงเลย

ตาราง 4 ความสัมพันธระหวางจํานวน neighbouring proton และ mutiplicity ของสัญญาณ NMR

n ความเขมสัมพัทธ (relative intensity) multiplicity


0 1 singlet
1 1 1
doublet
2 triplet
1 2 1
3 quartet
4 1 3 3 1 quintet
5 1 4 6 4 1 sextet
6 1 5 10 10 5 1
septet

1 6 15 20 15 6 1

การ coupling นี้จะทําใหเกิดการแยก (split) ของพีกของโปรตอนออกเปน พีกเล็กๆ จํานวนและอัตราสวน


ความเขมของพีกที่เกิดจากการ coupling อยางงาย (first order coupling) มักเปนไปตามกฎ n+1 ซึ่งแสดงไดโดยรูป
สามเหลี่ยมของปาสคาล (Pascal triangle) (ตาราง 4) เมื่อ n คือ จํานวนโปรตอน (ซึ่งทุก n โปรตอนนี้ equivalent กัน
เอง) บนอะตอมขางเคียง เราเรียกโปรตอนขางเคียงนี้วา neighboring protons หากมีโปรตอนขางเคียงนี้มากกวาหนึ่ง
ชนิด แตละชนิดก็จะ couple กับ โปรตอนที่เราสนใจและให splitting ตามกฎ n+1 นี้ (กฎนี้ใชไดเฉพาะกับนิวเคลียสที่มี
คา I = ½ เทานั้น) จํานวนพีกที่เกิดจาก spin-spin splitting นี้เรียกวามัลติพลิซิตี้ (multiplicity) หากพีกไม split เลย
(เห็นเปน 1 พีก) เราจะอธิบายลักษณะพีกนั้นวาเปน singlet peak (s) หาก split เปน 2 (ความเขม 1:1), 3 (ความเขม
1:2:1), 4 (ความเข ม 1:3:3:1), 5 (ความเขม 1:4:6:4:1), 6, และ 7 พี ก ก็ จะเรียกเป น doublet (d), triplet (t), quartet
(q), quintet, sextet, และ septet peak ตามลําดับ หาก split เปน พีกยอยๆ มากมาย เราเรียกเป น multiplet (m) ใน
กรณี ที่ มี ป จ จั ย อื่ น ส งผลต อ การ split ของพี ก ลั ก ษณะของพี ก ที่ ไ ด จ ะซั บ ซ อ นมากขึ้ น เรี ย กว า เป น second order
coupling และจํานวนของของพีกที่เกิดการ split จะไมเทากับ n+1 ซึ่งจะยังไมกลาวถึงในที่นี้

15
เอกสารนี้จัดทําโดย ธีรยุทธ วิไลวัลย และ วรวรรณ พันธุมนาวิน ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (พ.ศ. 2548)

หามคัดลอก ดัดแปลง หรือเผยแพรโดยไมไดรับอนุญาตเปนลายลักษณอักษร

รูปที่ 15 1H NMR สเปกตรัมของเอทิลอะซิเตต


(ดัดแปลงจาก SDBSWeb: http://www.aist.go.jp/RIODB/SDBS/)

ลองพิจารณาตัวอยาง 1H NMR สเปกตรัมของเอทิลอะซิเตต ดังแสดงในรูปที่ 15 จะเห็นวาโมเลกุลนี้มีโปรตอน


อยู 3 กลุมที่ไมอีควิวาเลนตกัน ไดแก CH3 ของหมูอะซิเตต (สีน้ําเงิน) CH3 ของหมูเอทิล (สีแดง) และ CH2 ของหมูเอ
ทิล (สีเขียว) จึงมีสัญญาณทั้งหมด 3 กลุม และสัญญาณแตละกลุมจะมีรูปรางที่ไมเหมือนกัน กลาวคือสัญญาณเนื่องจาก
CH3 ของหมูอะซิเตต (สีน้ําเงิน) จะมีลักษณะเปน singlet เนื่องจากโปรตอนทั้งสามของหมูเมทิลนี้อีควิวาเลนตกัน และ
ไมมีโปรตอนอื่นอยูขางเคียงในระยะ 2-3 พันธะ จึงไมเกิดสปน-สปนคัปปลิง สวน CH3 ของหมูเอทิล (สีแดง) แมจะเปน
หมูเมทิลเหมือนกันแตกลับแสดงสัญญาณเปน triplet เนื่องจากเกิดการคัปปลิงกับหมู CH2 ที่อยูขางเคียง ซึ่งมีจํานวน
โปรตอน 2 ตัว จํานวนสัญญาณที่มองเห็นคือ 2+1 = 3 ในอัตราสวน 1:2:1 ตามหลักการของสามเหลี่ยมปาสคาล สวน
สัญญาณของ CH2 เองจะปรากฎเปนลักษณะ quartet ในอัตราสวนความเขม 1:3:3:1 เนื่องจากเกิดการคัปปลิงกับหมูเม
ทิลที่อยูติดกัน เปนตน
ในทางปฏิบัติเราอาจไมทราบสูตรโครงสรางของโมเลกุลมากอน จึงอาจไมสามารถบอกโครงสรางไดจาก NMR
สเปกตรัมทันที แตจากสเปกตรัมนาจะสามารถบอกการเชื่อมตอของคารบอนที่มีโปรตอนอยูดวยได ตัวอยางเชนใน
กรณีขางตนก็จะบอกไดวาสารนี้มีหมู CH3 ที่ไมไดอยูใกลคารบอนที่มีโปรตอนอยูดวยตัวอื่น (จํานวนโปรตอนทราบได
จากพื้นที่ใตพีก) และมีหมู CH3 ที่อยูติดกับหมู CH2 โดยที่ทั้งสองหมูไมไดอยูใกลคารบอนที่มีโปรตอนตออยูตัวอื่นอีก
อยางไรก็ตาม การพิจารณาจากรูปแบบการ split ของสัญญาณแตเพียงอยางเดียวไมสามารถบอกการเชื่อมตออยาง
สมบูรณได กลาวคือเราไมทราบวาหมู CH3 และ CH3CH2 มีการเชื่อมตอกันอยางไรในโมเลกุล ดังนั้นสารอื่นที่มีหมู

16
เอกสารนี้จัดทําโดย ธีรยุทธ วิไลวัลย และ วรวรรณ พันธุมนาวิน ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (พ.ศ. 2548)

หามคัดลอก ดัดแปลง หรือเผยแพรโดยไมไดรับอนุญาตเปนลายลักษณอักษร

CH3 และ CH3CH2 ในโมเลกุลก็จะแสดงสัญญาณลักษณะคลายกัน เชนในสเปกตรัมของเมทิลโพรพิโอเนต (รูปที่ 16) ก็


จะแสดงสัญญาณ 3 ชุดที่เปน s, t และ q เหมือนกับเอทิลอะซิเตต แตจะเห็นวาเคมิคัลชิฟตของสัญญาณแตละชุดมีคา
แตกตางกัน จึงสามารถนํามาใชประกอบการพิจารณาโครงสรางของโมเลกุลได

รูปที่ 16 1H NMR สเปกตรัมของเมทิลโพรพิโอเนต


(ดัดแปลงจาก SDBSWeb: http://www.aist.go.jp/RIODB/SDBS/)

แบบฝกหัด อธิบายวาเคมิคัลชิฟตใชบอกความแตกตางระหวาง 1H NMR สเปกตรัมของเอทิลอะซิเตต และเมทิลโพรพิ


โอเนตไดอยางไร
รูปแบบการคัปปลิงที่พบบอยและควรจะรูจักไวเปนดังแสดงในรูปที่ 17
CH3
CH2 CH3 CH CH3 H CH2 CH2

H H H or H

รูปที่ 17 รูปแบบการคัปปลิงที่พบบอย

17
เอกสารนี้จัดทําโดย ธีรยุทธ วิไลวัลย และ วรวรรณ พันธุมนาวิน ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (พ.ศ. 2548)

หามคัดลอก ดัดแปลง หรือเผยแพรโดยไมไดรับอนุญาตเปนลายลักษณอักษร

H or H

H H X
H H H H
H
H H H
Y

H H or H
H H or H H or H

X X
H H H Y

H Y H H
H H

รูปที่ 17 รูปแบบการคัปปลิงที่พบบอย (ตอ)

ลักษณะของพีกที่แสดงในรูปเปนเพียงการประมาณเทานั้น ในความเปนจริงลําดับและตําแหนงที่แนนอนของ
พีกจะผันแปรไดมากขึ้นกับสภาพแวดลอมของโปรตอนที่เกี่ยวของ นอกจากนี้ในตัวอยางที่ซับซอนขึ้นอาจพบเห็นการ
ซอนทับกันของพีกไดคอนขางบอย จึงอาจไมสามารถวิเคราะหลักษณะการ split ของพีกไดอยางชัดเจน ตัวอยางเชนใน
1
H NMR สเปกตรัมของโพรพิลเบนซีนและไอโซโพรพิลเบนซีนที่แสดงในรูปที่ 18 จะเห็นการแยกพีกชัดเจนในบริเวณ
อะลิฟาติก แตพีกบริเวณอะโรมาติกซึ่งควรจะมี 3 กลุมกลับรวมเปนกอนเดียวกันเนื่องจากกําลังแยกของเครื่องสเปก
โตรมิเตอรไมเพียงพอที่จะบอกความแตกตางของพีกที่เกิดเรโซแนนซที่ความถี่ใกลเคียงกันได

18
เอกสารนี้จัดทําโดย ธีรยุทธ วิไลวัลย และ วรวรรณ พันธุมนาวิน ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (พ.ศ. 2548)

หามคัดลอก ดัดแปลง หรือเผยแพรโดยไมไดรับอนุญาตเปนลายลักษณอักษร

รูปที่ 18 1H NMR สเปกตรัมของโพรพิลเบนซีน (บน) และไอโซโพรพิลเบนซีน (ลาง)


(ดัดแปลงจาก SDBSWeb: http://www.aist.go.jp/RIODB/SDBS/)

19
เอกสารนี้จัดทําโดย ธีรยุทธ วิไลวัลย และ วรวรรณ พันธุมนาวิน ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (พ.ศ. 2548)

หามคัดลอก ดัดแปลง หรือเผยแพรโดยไมไดรับอนุญาตเปนลายลักษณอักษร

ระยะระหวางพีกที่แยกออกจากกันเนื่องจากการเกิด coupling จะเปนตัวบงชี้ระดับความมาก-นอยของการ


เกิ ด สป น -สป น คั ป ปลิ ง ระหว า งโปรตอน 2 ชุ ด ใดๆ ระยะห า งนี้ จ ะเป น ค า คงที่ ซึ่ ง เรี ย กว า ค า คงที่ ข องการคู ค วบ
(coupling constant ) (J) ซึ่งมีหนวยเปน Hertz (Hz) คาคงที่ของการคูควบนี้จะไมขึ้นอยูกับความแรงของสนามแม
เหล็ก โดยทั่วไปคา coupling constant ระหวาง โปรตอน-โปรตอน จะมีคาระหวาง 0-20 Hz และมักจะเห็นไดชัด (>2
Hz) ในชวงระยะประมาณ 2-3 พันธะเทานั้น
โดยทั่ ว ไปลั ก ษณะการคั ป ปลิ งที่ ต รวจพบบ อ ยๆ ได แ ก vicinal coupling ซึ่ ง เป น การ couple ของ vicinal
protons ผานพันธะ 3 พันธะ (three bond coupling) นอกจากนั้นยังมี geminal coupling (Jgem) ซึ่งเปนการ coupling
ของ geminal protons ผานพันธะ 2 พันธะ (จึงเรียกเปน two bond coupling ได) โดยจะพบเมื่อโปรตอนบนคารบอน
อะตอมเดียวกันไมอีควิวาเลนตกัน มักพบเมื่อมีสเตอริโอเจนิกเซ็นเตอรตออยูใกลๆ ลักษณะสําคัญของการ coupling ก็
คือ หากโปรตอน a couple กับโปรตอน b แลว คา Ja-b จะมีคาเทากับ Jb-a เสมอ จึงเปนขอมูลบงชี้วาโปรตอนคูใดคัป
ปลิงซึ่งกันและกันในกรณีที่มีการคัปปลิงมากกวา 1 คู นอกจากนี้ยังเปนวิธีตรวจสอบอีกวิธีหนึ่งวาเราแปลผลสเปกตรัม
ถูกหรือไม สําหรับโปรตอนซึ่ง equivalent กันจะไมเกิดการคัปปลิงซึ่งกันและกัน คา J จึงเปนศูนย นอกจากนี้โปรตอน
ที่ตออยูกับเฮทเทอโรอะตอมดังเชน OH และ NH โดยทั่วไปจะไมแสดงการคัปปลิง แมจะอยูในระยะหาง 2-3 พันธะก็
ตาม ดังนั้นพีกเหลานี้จะมีลักษณะเปน singlet และพีกที่อยูใกลเคียงก็จะไมเกิดการสปลิตดวย OH หรือ NH โปรตอน
(รูปที่ 19)

รูปที่ 19 1H NMR สเปกตรัมของ 1-บิวทานอล

20
เอกสารนี้จัดทําโดย ธีรยุทธ วิไลวัลย และ วรวรรณ พันธุมนาวิน ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (พ.ศ. 2548)

หามคัดลอก ดัดแปลง หรือเผยแพรโดยไมไดรับอนุญาตเปนลายลักษณอักษร

คาคงที่ของการคูควบสามารถวัดไดจากการทดลอง นอกจากนี้ยังสามารถคํานวณไดหากทราบโครงสรางของ
โมเลกุลที่แนนอน แตในระดับนี้จะขอละทฤษฎีไวกอน แตจะกลาวถึงประโยชนอีกประการหนึ่งคาคงที่ของการคูควบคือ
ใชทํานายคอนฟอรเมชัน และฟ กกิวเรชันของโมเลกุล รวมทั้งระบุตําแหนงของสัญ ญาณวาตรงกับโปรตอนตัวใดใน
โมเลกุล ตัวอยางเชน โปรตอนที่อยูในลักษณะซิส ซึ่งกันและกัน จะมีคาคงที่ของการคูควบต่ํา (10-12 Hz) กวาโปรตอน
ที่อยูในลักษณะทรานส (>15 Hz) และโปรตอนที่พันธะ C-H ที่อยูติดกันทํามุมฉากซึ่งกันและกันวงแหวนไซโคลเฮกเซน
จะมีคาคงที่ของการคูควบต่ํากวาเมื่อพันธะ C-H ทั้งสองทํามุม 0o และ 180o ตามลําดับ
จากขอมูลทั้งสี่ประการที่โปรตอนเอ็นเอ็มอารสเปกตรัมใหแกเราไดแกจํานวนชุดของโปรตอนที่ อีควิวาเลนต
กันจํานวนโปรตอนในแตละชุด ประกอบกับ chemical shift และลักษณะการสปลิตของสัญญาณซึ่งเปนตัวบอกสิ่งแวดลอม
ของโปรตอนแตละชุดจะทําใหสามารถโยงไปถึงโครงสรางของสารตัวอยางได บอยครั้งเพียงทราบสูตรโมเลกุลของสาร
และโปรตอนเอ็นเอ็มอารสเปกตรัมก็สามารถบอกสูตรโครงสรางได ดังนั้นอาจกลาวไดไมผิดวาโปรตอนเอ็นเอ็มอารเปน
เทคนิคที่มีความสําคัญที่สุดในการวิเคราะหโครงสรางของสารอินทรียและผูเรียนวิชาเคมีอินทรียพึงหัดแปลผลจากเอ็น
เอ็มอารสเปกตรัมใหคลองแคลวจากโจทยตัวอยางตอไป
13
C NMR สเปกตรัม
นอกเหนือจากโปรตอนแลวยังมีนิวเคลียสอื่นอีกที่สามารถใหสัญญาณ NMR ได แตในบรรดานิวเคลียสเหลานี้
มี C ที่มีการใชงานกันอยางกวางขวางที่สุดรองลงมาจาก 1H เนื่องจากมันเปนธาตุที่เปนองคประกอบพื้นฐานของสาร
13

อิ น ทรี ย ทุ ก ชนิ ด 13C มี นิ ว เคลี ย ร ส ป น เป น 1/2 เช น เดี ย วกั บ โปรตอน หลั ก การของ 13C NMR ก็ เหมื อ นๆ กั บ ของ
โปรตอนนั่นเอง แตอาจมีรายละเอียดปลีกยอยที่แตกตางออกไปดังนี้
- 13C NMR เปนเทคนิคที่มีความไว (sensitivity) ต่ํากวา 1H NMR มากเนื่องจาก 13C เปนไอโซโทปที่มีปริมาณนอย
มากในธรรมชาติ ดังนั้นในการบันทึกคารบอนสเปกตรัมจะตองใชสารตัวอยางปริมาณมากกวาโปรตอนหลายเทา และใช
เวลานานกวามาก
- ความถี่ที่เกิดการเรโซแนนซ เนื่องจาก คา γ ของ 13C มีคาต่ําเพียงประมาณ 1/4 ของโปรตอน ดังนั้นเมื่อคํานวณจาก
สมการ (1) จะเห็นวา ∆E ของ 13C จะมีคานอยกวาของ 1H ที่ความแรงของสนามแมเหล็กเทากัน เชน บนเครื่อง NMR
ที่มีความแรงสนามแมเหล็ก 9.6 T โปรตอนในสภาพอิสระจะเรโซแนนซที่ 400 MHz ในขณะที่ 13C จะเกิดการเรโซ
แนนซที่ความถี่ 100 MHz
- ชวงความถี่ที่เกิดการเรโซแนนซของ 13C มีคามากกวาของโปรตอน เมื่อเทียบเปนสเกลเคมิคัลชิฟตจะอยูในชวงจาก
0-200 ppm (ใชเททระเมทิลไซเลนเปนมาตรฐานเชนเดียวกับโปรตอน)
- แมวา 13C จะสามารถเกิดการคัปปลิงกับ 13C ขางเคียงได แตโอกาสที่จะเกิดก็มีเพียง 1/104 เทานั้น เราจึงไมสามารถ
สังเกตเห็นได แตที่จะพบไดคือการคัปปลิงระหวาง 13C กับโปรตอนที่อยูขางเคียง แตเนื่องจากคาคงที่ของการคูควบใน
กรณีนี้มักจะสูงมากจนเกิดการซอนทับของกลุมพีกไดงาย การบันทึกคารบอนสเปกตรัมจึงนิยมกระทําในรูปแบบที่มีการ
กํา จัดการคัป ปลิ งระหวางคารบ อน-โปรตอนออกไปแลว ซึ่ งทํ าได ห ลายวิธี เช น การใส ค ลื่น วิท ยุ ในช วงเดี ยวกั บ ที่
โปรตอนเกิ ด การเรโซแนนซ เข า ไปในขณะที่ กํ า ลั ง บั น ทึ ก สั ญ ญาณ การกระทํ า เช น นี้ เรี ย กว า การทํ า ดี คั ป ปลิ ง
(decoupling) ก็จะไดคารบอนสเปกตรัมที่ทุกพีกจะมีลักษณะเปน singlet หมดไมมีการสปลิตเนื่องจากโปรตอนหรือ
คารบอนที่มาตออยู แมการกระทําเชนนี้จะเปนการทําลายขอมูลที่มีคาบางสวนไปแตก็ชดเชยมาดวยคุณภาพสเปกตรัม
ที่ดีขึ้น ขอมูลสวนที่หายไปสามารถใชเทคนิคชั้นสูงอื่นๆ เพื่อนํากลับคืนมาได
- เนื่องจากการวัดคารบอนสเปกตรัมมักกระทําพรอมกับดีคัปปลิง ซึ่งจะทําใหเกิดผลขางเคียงคือความเขมหรือพื้นที่ใต
พีกของสัญญาณคารบอนจะไมไดเปนสัดสวนโดยตรงกับปริมาณของนิวเคลียสที่มีอยูอีกตอไป เราจึงไมสามารถอินที
เกรตหาจํานวนคารบอนที่ไมอีควิวาเลนตกันไดในทํานองเดียวกับโปรตอน

21
เอกสารนี้จัดทําโดย ธีรยุทธ วิไลวัลย และ วรวรรณ พันธุมนาวิน ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (พ.ศ. 2548)

หามคัดลอก ดัดแปลง หรือเผยแพรโดยไมไดรับอนุญาตเปนลายลักษณอักษร

- จากที่กลาวมาทั้งหมดจะเห็นไดวาขอมูลเพียง 2 ประการที่จะไดจากคารบอนสเปกตรัมคือจํานวนสัญญาณ ซึ่งจะบอก


ถึงจํานวนคารบอนที่ไมอีควิวาเลนตกัน และตําแหนงหรือเคมิคัลชิฟตของสัญญาณ ซึ่งจะเปนตัวบงบอกสภาพแวดลอม
ของคารบอนนั้นๆ โดยสามารถใชหลักเกณฑเกี่ยวกับการชีลด-ดีชีลดของนิวเคลียสเชนเดียวกับที่ไดอธิบายไปแลวใน
เรื่องของโปรตอน คาเคมิคัลชิฟตของสัญญาณคารบอนชนิดตางๆ เปนดังแสดงในรูปที่ 20
-CH3
-CH2-
-CH-

C-X
C-N
C-O
Alkyne
Nitrile
Aromatic
C=C
C=O

220 200 180 160 140 120 100 80 60 40 20 0


δC (ppm)
รูปที่ 20 คาเคมิคัลชิฟตของสัญญาณคารบอน-13
13
ตัวอยาง C สเปกตรัมของเอทิลอะซิเตต 1-บิวทานอล และเอทิลเบนซีนเปนดังแสดงในรูปที่ 21 -23

รูปที่ 21 13C NMR สเปกตรัมของ 1-บิวทานอล

22
เอกสารนี้จัดทําโดย ธีรยุทธ วิไลวัลย และ วรวรรณ พันธุมนาวิน ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (พ.ศ. 2548)

หามคัดลอก ดัดแปลง หรือเผยแพรโดยไมไดรับอนุญาตเปนลายลักษณอักษร

รูปที่ 22 13C NMR สเปกตรัมของเอทิลอะซิเตต

รูปที่ 23 13C NMR สเปกตรัมของเอทิลเบนซีน

23

You might also like