You are on page 1of 2

Plate Theory Martin และ Synge เปนผูคนพบ

แนวคิดที่วากระบวนการของโครมาโทกราฟ
เหมือนกับการกลั่นลําดับสวน ทฤษฎีเพลต
of chromatography อธิบายการแยกในเทคนิคโครมาโตกราฟ
ในรูปของจานสมมุติ

การกลั่นลําดับสวน Chromatography Plate Theory

L
H

N จาน
(Plate)
การแยกสารผสมที่มี stationary phase ความยาวของคอลัมน (L)
กระบวนการแยกสารที่มีจุด กับ mobile phase การทําโครมาโทกราฟ
เดือดตาง ๆ กันออกเปนสวน ๆ โดยที่คอลัมนโครมาโทกราฟแบงออกเปนจานสมมุติ (N)
สามารถทําไดหลายวิธีจะแตกตางกันที่
โดยการกลั่นซํ้าหลาย ๆ ครั้ง stationary phase อยูในลักษณะใด จํานวนมาก แสดงใหเห็นถึงการแยกที่มากขึ้นและการแยกที่
มากขึ้นจะเกิดขึ้นเมื่อความสูงของจาน (H) มีขนาดเล็กลง
Plate จากความยาวทั้งหมด (L) ของคอลัม

SP SP L= NH N = L/ H

MP MP ประสิทธิภาพของคอลัมน

ในแตละ Plate จะมีสมดุลของสารละลาย และ Number of Theoretical plate (N)


เกิดการกระจายตัวของสารตัวอยาง สารละลายจะ 2 2
เคลื่อนที่ผานคอลัมนจาก Plate หนึ่งผานไปยังอีก N= 4tR = 16 tR
Plate เปนขั้นๆ โดยที่สารตัวอยางที่ตองการแยก Wb Wb
จะเคลื่อนที่ออกมาพรอมกับ mobile phase จึง 2
N
สังเกตเห็นสีในคอลัมนที่มีสีสันแตกตางกันในแต tR tR
จํานวน Plateที่คํานวณไดตามทฤษฎี

ละชั้น เรียกวา zone หรือ band เดียวกัน N = 5.54 W1/2 Wb


Retention time
ความกวางของ peak ที่ฐาน
W1/2 ความกวางของ peak ที่ครึ่งหนึ่งของความสูง

ประสิทธิภาพของคอลัมน Height Equivalent to a Theoretical plate


(HETP, H)
lncrease
lnitial 2
เพิ่ม N
H= L = L Wb L ความยาวของคอลัมน
จํานวน N จะมีผลตอลักษณะของ Peak ถ า N มีจํานวนมากๆ จะ N 16 tR H ความยาวของคอลัมนตอจํานวน Plate
ได Peak ที่มีลักษณะแคบและคมชัด ใน plate เกิดสมดุลหลาย
การเพิ่มความยาวคอลัมนแมจะทําใหจํานวน N เพิ่มขึ้น แต tR ก็เพิ่มขึ้นดวย สงผลให
ครั้งคอลัมนแยกสารไดดีกวา จํานวน N นอยๆ พีคมีความกวาง และทําใหเกิดปญหาเรื่องความดันของคอลัมน ในทางปฏิบัตินั้น
คอลัมนที่ดีนั้นตองมีคา HETP นอย นั่นคือ N ควรมีคามากที่สุด และ L ควรมีคา
ความยาวคอลัมนสั้นที่สุด เพื่อให H มีคาลดลง

ความสัมพันธระหวาง Rs กับคา N
Plate Theory หมายถึง อัตราการขยายตัวของแถบขณะที่ตัว
ถูกละลายเคลื่อนที่ผานคอลัมน เปนตัวชี้ถึงประสิทธิภาพการแยก Rs = N -1 k’2
หรือประสิทธิภาพคอลัมน ประสิทธิภาพของคอลัมนจะดีเมื่อพีคที่ 4 1+k’2
ไดมีความกวางนอยหรือแคบ ทําใหการแยกเกิดขึ้นไดดีดวยใน
สารผสม และประสิทธิภาพจะลดลงเมื่อความกวางของพีคมากขึ้น Resolution (Rs) การแยก คือการวัดอาณาเขตของพีค 2 พีคที่
ซอนกัน เกี่ยวของกับความกวางของ peak

อางอิง https://ptortamp.files.wordpress.com/2015/03/thorey-of-chromatography.pdf
https://www.youtube.com/watch?v=CBXB6CjWSI4
นางสาวอภิสรา นิรมล 62030018 สาขาเคมี คณะวิทยาศาสตร

You might also like