You are on page 1of 15

98 บทที่ 3 ระบบพิกัดเชิงขั้ว

บทที่ 3
ระบบพิกัดเชิงขั้ว
นอกเหนือจากระบบพิกัดฉากที่ใชระบุตําแหนงของจุดในระนาบสองมิติ เรายังสามารถอาศัย
ระบบพิกัดเชิงขั้วในการระบุตําแหนงบนระนาบสองมิติไดเ ชนกัน ระบบพิกัดเชิงขั้วไมไดเปนเพียงอีก
ทางเลือกหนึ่งในการระบุตําแหนงของระนาบสองมิติ แตมีความเหมาะสมกับลักษณะเสนโคงบางรูปแบบ
กลาวคือ เสนโคงบางเสนมีรูปแบบสมการที่ยุงยากในระบบพิกัดฉาก แตกลับมีรูปแบบงายๆ ในระบบพิกัด
เชิงขั้ว ในบทนี้ เราจะไดศึกษาระบบพิกัดดังกลาว รวมถึงการรางกราฟในระบบพิกัดเชิงขั้วในรายละเอียด
การหาความชันของเสนโคง การหาความยาวเสนโคง และการหาพื้นที่ของบริเวณในระนาบสองมิติโดย
อาศัยระบบพิกัดเชิงขั้ว

3.1 ระบบพิกัดเชิงขั้วและเสนโคงในระบบพิกัดเชิงขั้ว

ระบบพิกัดระบุตําแหนงของจุดในระนาบสองมิติดวยคูลําดับของจํานวนซึ่งเรียกวาพิกัด โดยปกติ
เราจะใชระบบพิกัดฉากในการระบุตําแหนง ซึ่งระบบดังกลาวประกอบดวยแกนสองแกนที่ตั้งฉากกัน แตใน
ที่นี้เราจะศึกษาระบบพิกัดที่เรียกวา ระบบพิกัดเชิงขั้ว(polar coordinate system) ซึ่งมีความสะดวกใน
การใชงายในหลายๆ กรณี

P (r, θ)
r

θ แกนเชิงขั้ว
O x
รูป 3.1.1 ระบบพิกัดเชิงขั้ว

เราเลือกจุด O ในระนาบซึ่งเรียกวาขั้ว(pole) หรือจุดกําเนิด(origin) และลากรังสีจากจุด O


เรียกรังสีดังกลาววา แกนเชิงขั้ว(polar axis) ซึ่งมักจะลากในแนวราบไปทางขวามือและสมนัยกับแกน x
ดานบวกในระบบพิกัดฉาก

กําหนด P เปนจุดใดๆ ในระนาบ ให r เปนระยะจากจุด O ถึงจุด P และให θ เปนมุมระหวาง


แกนเชิงขั้วกับสวนของเสนตรง OP ดังรูป 3.1.1 โดยมุม θ มีคาบวกเมื่อวัดในทิศทวนเข็มนาฬิกา และมี
คาลบเมื่อวัดในทิศตามเข็มนาฬิกา จุด P จึงแทนไดดวยคูลําดับ (r, θ) และเรียก r กับ θ วาพิกัดเชิงขั้ว
(polar coordinates) ของจุด P ในกรณีที่จุด P คือจุด O เราจะพบวา r = 0 และตกลงให (0, θ)
แทนขั้วสําหรับทุกคาใดๆ ของ θ
3.1 ระบบพิกัดเชิงขั้วและเสนโคงในระบบพิกัดเชิงขั้ว 99

(r, θ)
r
θ+π
θ
O x

(−r, θ)

รูป 3.1.2 พิกัดเชิงขั้วเมื่อ r < 0

เราสามารถขยายความหมายของพิกัดเชิงขั้ว (r, θ) เมื่อ r < 0 ไดโดยตกลงวาจุด (−r, θ)


เปนจุดที่ไดจากการสะทอนจุด (r, θ) ผานจุด O ดังรูป 3.1.2 กลาวคือเสนตรงที่เชื่อมจุดทั้งสองผานจุด
O และจุดทั้งสองอยูหางจากจุด O เทาๆ กัน แตอยูกันคนละดานของจุด O สังเกตวาจุด (−r , θ) แทน
จุดเดียวกับ (r, θ + π)

P′

5π π
4 O 4
3π x

4

รูป 3.1.3 จุดหนึ่งจุดมีพิกัดเชิงขั้วไดหลายพิกัด

ในระบบพิกัดฉากนั้น จุดทุกจุดจะมีพิกัดเพียงพิกัดเดียวเทานั้น แตในระบบพิกัดเชิงขั้ว จุดหนึ่ง


จุดมีพิกัดไดหลายพิกัด ยกตัวอยางเชนจุด P(1, 5π ) ในรูป 3.1.3 ยังสามารถแทนไดดวยพิกัด
4
3π 13π π
(1, − ) หรือแมแต (1, ) ก็ได นอกจากนี้หากพิจารณาจุด P ′(1, ) ซึ่งเปนการสะทอนจุด P ผาน
4 4 4
จุด O จะเห็นวาจุด P ยังสามารถแทนไดดวยพิกัด (−1, π ) ไดดวย ในกรณีทั่วไป เรากลาวไดวาจุดที่แทน
4
ดวยพิกัดเชิงขั้ว (r, θ) ยังสามารถแทนไดดวยพิกัด

(r , θ + 2n π) หรือ (−r , θ + (2n + 1)π) (3.1)

เมื่อ n เปนจํานวนเต็มใดๆ
100 บทที่ 3 ระบบพิกัดเชิงขั้ว
y

P(r, θ) = P(x , y )

r
y

θ x
O x

รูป 3.1.4 ความสัมพันธระหวางพิกัดฉากกับพิกัดเชิงขั้ว

ความสัมพันธระหวางพิกัดฉากกับพิกัดเชิงขั้วพิจารณาไดจากรูป 3.1.4 ซึ่งขั้วของระบบพิกัดเชิง


ขั้วทับกับจุดกําเนิดของระบบพิกัดฉาก และแกนเชิงขั้วของระบบพิกัดเชิงขั้วทับกับแกน x ดานบวกของ
ระบบพิกัดฉาก กําหนดจุด P ใหมีพิกัด (x, y ) ในระบบพิกัดฉาก และมีพิกัด (r, θ) ในระบบพิกัดเชิงขั้ว
จะเห็นไดจากรูปวา

x = r cos θ และ y = r sin θ (3.2)

π
แมเราจะไดสมการ (3.2) จากการพิจารณารูป 3.1.4 ซึ่งแสดงเฉพาะกรณีเมื่อ r>0 และ 0<θ<
2
แตสมการ (3.2) เปนจริงสําหรับทุกคาของ r และ θ สมการดังกลาวทําใหเราสามารถหาพิกัดฉากไดเมื่อ
ทราบพิกัดเชิงขั้ว ในทางกลับกัน เมื่อทราบพิกัดฉาก เราสามารถหาพิกัดเชิงขั้วไดจาก
y
r 2 = x 2 + y2 และ tan θ = (3.3)
x

สังเกตวา θ ที่สอดคลองกับสมการ (3.3) มีไดหลายคา ในการหาพิกัดเชิงชัว้ จากพิกัดฉาก เราจึงจะไม


เพียงเลือกคา θ ใดๆ ที่สอดคลองกับ tan θ = y แตจะตองเลือก θ ที่ทําใหจุด (r, θ) อยูในจตุภาคที่
x
ตรงกับที่ตองการดวย

ตัวอยาง 3.1.1 จงหาพิกัดเชิงขั้วของจุดซึ่งมีพิกัดฉากเปน (−1,1)

วิธีทํา จากสมการ (3.3) ถาเลือกคา r ที่เปนบวกจะได r = x 2 + y 2 = 12 + (−1)2 = 2

y 3π
และ tan θ = = −1 แตเนื่องจากจุด (−1,1) อยูในจตุภาคที่สอง คา θ คาหนึ่งที่ใชไดคือ θ=
x 4


ดังนั้น จุดดังกลาวจึงมีพิกัดเชิงขั้ว ( 2, ) „
4
3.1 ระบบพิกัดเชิงขั้วและเสนโคงในระบบพิกัดเชิงขั้ว 101

เสนโคงในระบบพิกัดเชิงขั้ว
กราฟของสมการเชิงขั้ว r = f (θ) หรือสมการเชิงขั้วในรูปทั่วไป F (r, θ) = 0 ประกอบดวยจุด
ทั้งหมดซึ่งมีพิกัดเชิงขั้ว (r, θ) สอดคลองกับสมการดังกลาว

ตัวอยาง 3.1.2 จงหาเสนโคงที่แทนดวยสมการเชิงขั้ว r = 2

วิธีทํา จุดทุกจุดที่มีพิกัดเชิงขั้วสอดคลองกับสมการ r = 2 ก็คือจุด (2, θ) เมื่อ θ เปนจํานวนจริงใดๆ


ซึ่งจุดดังกลาวจะอยูหางจากขั้วเปนระยะ 2 หนวยและทํามุม θ กับแกน x ดานบวก กราฟของเสนโคง
ดังกลาวก็คือวงกลมรัศมี 2 หนวยที่มีจุดศูนยกลางอยูที่ขั้ว

r =2

O x

รูป 3.1.5 กราฟ r = 2


„

π
ตัวอยาง 3.1.3 จงหาเสนโคงที่แทนดวยสมการเชิงขั้ว θ=
6

π
วิธีทํา จุดทุกจุดที่มีพิกัดเชิงขั้วสอดคลองกับสมการ θ= ก็คือจุด (r, π ) เมื่อ r เปนจํานวนจริงใดๆ
6 6
π
ซึ่งจุดดังกลาวจะอยูหางจากขั้วเปนระยะ r และทํามุม กับแกน x ดานบวก กราฟของเสนโคงดังกลาวก็
6
π
คือเสนตรงที่ทาํ มุม กับแกน x ดานบวก
6

π
θ=
O 6
x

π
รูป 3.1.6 กราฟ θ=
6
„
102 บทที่ 3 ระบบพิกัดเชิงขั้ว

ตัวอยาง 3.1.4 จงรางกราฟของเสนโคง r = 2 cos θ พรอมทั้งหาสมการในระบบพิกดั ฉากของเสนโคงนี้

วิธีทํา ลองหาคา r เมื่อ θ มีคาตางๆ กัน แลวลงจุดและรางกราฟ จะไดดังรูป

θ r = 2 cos θ
0 2 ( 2, π4 )
(1, π3 ) ( 3, π6 )
π/6 3
π/4 2 (2, 0)
π/3 1 (0, )π
2

π /2 0
2π / 3 –1 (−1, 23π ) (− 3, 56π )
(−1, )

4
3π / 4 − 2
5π / 6 − 3
π –2 รูป 3.1.7 กราฟ r = 2 cos θ

จะเห็นวากราฟดังกลาวมีรูปเปนวงกลม ซึ่งยืนยันไดจากวงกลมรัศมี 1 หนวยที่มีจุดศูนยกลางอยูทจี่ ุด


(1, 0) ในรูป 3.1.8 พิจารณา ΔOPQ ที่มี OP ทํามุม θ กับแกน x จะเห็นไดวา r = 2 cos θ

P
r
θ x
O 2 Q

รูป 3.1.8 เหตุผลเชิงเรขาคณิตวาทําไมกราฟ r = 2 cos θ เปนวงกลม

ตอไปจะหาสมการของเสนโคงนี้ในระบบพิกัดฉาก โดยคูณ r ทั้งสองขางของสมการ r = cos θ จะได


r 2 = 2r cos θ

แตจากสมการ (3.2) และ (3.3) เราทราบวา r 2 = x 2 + y 2 และ x = r cos θ เราจึงได x 2 + y 2 = 2x

เมื่อจัดรูปจะได (x − 1)2 + y 2 = 1 เปนสมการวงกลมรัศมี 1 หนวยที่มีจุดศูนยกลางทีจ่ ุด (1, 0) „


3.1 ระบบพิกัดเชิงขั้วและเสนโคงในระบบพิกัดเชิงขั้ว 103

ตัวอยาง 3.1.5 จงรางเสนโคง r = 1 + sin θ

วิธีทํา นอกเหนือจากวิธีลงจุดโดยตรงสําหรับ θ คาตางๆ กัน เรายังสามารถรางกราฟ r = 1 + sin θ


ในระบบพิกัดฉากที่มีแกนตั้งแทนคา r และแกนนอนแทนคา θ ดังรูปขางลาง ซึ่งจะทําใหเรามองเห็น
ความสัมพันธระหวางคา r กับคา θ ตางๆ ไดอยางชัดเจน
r
2

θ
π π 3π 2π
2 2

นําสามารถนําความสัมพันธจากกราฟขางบนมาชวยในการรางเสนโคง r = 1 + sin θ ไดโดยการแบง


พิจารณาคา r สําหรับ θ ในชวงตางๆ กัน 4 ชวง คือ ชวง 0 ≤ θ ≤ π , ชวง π ≤ θ ≤ π ,
2 2
3π 3π
ชวง π≤θ≤ และ ชวง ≤ θ ≤ 2π ซึ่งจะใหผลดังนี้
2 2

π
θ=
2 2 π
0≤θ≤
เมื่อ π ≤ θ ≤ π เมื่อ
2
2
r มีคาเพิ่มขึ้นจาก 1 ถึง
r มีคาลดลงจาก 2 ถึง 1
1

θ=0
θ=π
-1 1 θ = 2π

θ=
2
3π π
เมื่อ π≤θ≤ เมื่อ ≤θ≤π
2 2
r มีคาลดลงจาก 1 ถึง 0 r มีคาเพิ่มขึ้นจาก 0 ถึง 1

เสนโคง r = 1 + sin θ มีชื่อเรียกวา คารดิออยด(cardioid) เพราะมีรูปคลายหัวใจ „


104 บทที่ 3 ระบบพิกัดเชิงขั้ว

ตัวอยาง 3.1.6 จงรางเสนโคง r = cos 2θ

วิธีทํา เราจะเขียนกราฟ r = cos 2θ เมื่อ 0 ≤ θ ≤ 2π กอน ดังรูปขางลาง


r
1
1 4 5 8

θ
π π 3π π 5π 3π 7π 2π
4 2 4 4 2 4

2 3 6 7
-1

เมื่อนํากราฟดังกลาวมารางเสนโคง r = cos 2θ จะไดเสนโคงที่มีลักษณะคลายกลีบกุหลาบ 4 กลีบ

π
θ=
2 π
3π θ=
θ= 4
4 7 6

4 1

θ=π θ=0

5 8
2 3
5π 7π
θ= θ=
4 4

θ=
2 „

ในทํานองเดียวกันเสนโคงในตัวอยางขางตน เราสามารถแสดงไดไมยากวา

• เสนโคง r = sin 2nθ และเสนโคง r = cos 2nθ เปนกลีบกุหลาบ 4n กลีบ


• เสนโคง r = sin(2n + 1)θ และเสนโคง r = cos(2n + 1)θ เปนกลีบกุหลาบ 2n + 1 กลีบ

โดยที่ n เปนจํานวนเต็มบวก
3.1 ระบบพิกัดเชิงขั้วและเสนโคงในระบบพิกัดเชิงขั้ว 105

รูป 3.1.9 เสนโคง r = sin 3θ เปนกลีบกุหลาบ 3 กลีบ

สมมาตรของกราฟในระบบพิกัดเชิงขั้ว
ในการรางกราฟของเสนโคง F (r, θ) = 0 ในระบบพิกัดเชิงขั้ว ถาเราพิจารณาสมมาตรตางๆ
ของกราฟดวย จะชวยใหสามารถรางกราฟไดงายขึ้น ซึ่งสมมาตรที่สําคัญตอการพิจารณามีดังนี้

1. ถา F (r , −θ) = F (r, θ) แลวเสนโคงจะสมมาตรเทียบกับแกนเชิงขั้ว


2. ถา F (−r , θ) = F (r , θ) หรือ F (r, θ + π) = F (r, θ) แลวเสนโคงจะสมมาตรเทียบกับขั้ว
π
3. ถา F (r , π − θ) = F (r , θ) แลวเสนโคงจะสมมาตรเทียบกับเสนตรง θ =
2

รูป 3.1.10 เสนโคง r = 3 + 2 cos 3θ สมมาตรเทียบกับแกนเชิงขั้ว


106 บทที่ 3 ระบบพิกัดเชิงขั้ว

รูป 3.1.11 เสนโคง r = 1 + 3 sin 2θ สมมาตรเทียบกับขั้ว

π
รูป 3.1.12 เสนโคง r = 1 + 4 sin 3θ สมมาตรเทียบกับเสนตรง θ=
2

แบบฝกหัด 3.1
1. จงรางเสนโคงเชิงขั้วตอไปนี้
1.1 r = 1 + 2 cos 2θ
1.2 r = 1 + 2 sin θ
2
1.3 r = 2 sin θ + cos θ
θ θ
1.4 r = cos + cos
2 3
2. จงแสดงวา r (a sin θ + b sin θ ) = 1เมื่อ ab ≠ 0 มีกราฟเปนเสนตรง และจงหาความชัน
3. จงแสดงวา r = a sin θ + b sin θ เมื่อ ab ≠ 0 มีกราฟเปนวงกลม และจงหาจุดศูนยกลางและรัศมี
4. จงหาสมการเชิงขั้วของวงกลมรัศมี 2 หนวยในจตุภาคที่ 1 ที่สัมผัสกับแกน x และแกน y
5. จงรางเสนโคง (x 2 + y 2 )3 = 4x 2y 2
3.2 ความชัน ความยาวเสนโคง และพื้นที่ในระบบพิกัดเชิงขั้ว 107

3.2 ความชัน ความยาวเสนโคง และพื้นที่ในระบบพิกัดเชิงขั้ว


เราสามารถหาความชันของเสนสัมผัสเสนโคง r = f (θ) โดยการเขียนทั้ง x และ y เปนฟงกชัน
ของตัวแปร θ ดังนี้

x = r cos θ = f (θ) cos θ


(3.4)
y = r sin θ = f (θ) sin θ

เราจึงสามารถหาความชันของเสนสัมผัสเสนโคงไดดังนี้

dr
sin θ + r cos θ
dy dy / d θ
= = θ
d (3.5)
dx dx / d θ dr
cos θ − r sin θ

π
ตัวอยาง 3.2.1 จงหาความชันของเสนสัมผัสเสนโคงคารดิออยด r = 1 + sin θ ที่จุดซึ่ง θ=
3

วิธีทํา พิจารณารูปในตัวอยาง 3.1.5 ประกอบ เมื่อแทน r = 1 + sin θ ในสมการ (3.5) จะได

dy cos θ sin θ + (1 + sin θ) cos θ cos θ + sin 2θ


= 2
=
dx cos θ − (1 + sin θ) sin θ cos 2θ − sin θ

π
เมื่อแทน θ= จะไดความชันเสนสัมผัสเสนโคงที่ตองการเปน
3

π 2π 1 3
cos + sin +
dy 3 3 = 2 2 = −1
=
dx π 2π π 1 3
θ=
3 cos − sin − −
3 3 2 2

π
θ=
3

ความชัน = –1

„
108 บทที่ 3 ระบบพิกัดเชิงขั้ว

ความยาวเสนโคงในระบบพิกัดเชิงขั้ว
ความยาวเสนโคงเชิงขั้ว r = f (θ) เมื่อ α≤θ≤β สามารถหาไดจากสูตรความยาวเสนโคง
ในระบบพิกัดฉาก นั่นคือ
2 2
β ⎛dx ⎞⎟ ⎛dy ⎞
L= ∫ ⎜ ⎟ + ⎜⎜ ⎟⎟ d θ (3.6)
α ⎜⎝d θ ⎠⎟ ⎝d θ ⎠⎟

แตเราทราบวา
dx dr
= cos θ − r sin θ
dθ dθ
(3.7)
dy dr
= sin θ + r cos θ
dθ dθ

ซึ่งจะได
2 2 2 2 2
⎛dx ⎞⎟ ⎛dy ⎞ ⎛ dr ⎞ ⎛ dr ⎞ ⎛ dr ⎞
⎜⎜ ⎟ + ⎜⎜ ⎟⎟ = ⎜⎜ cos θ − r sin θ ⎟⎟ + ⎜⎜ sin θ + r cos θ ⎟⎟ = ⎜⎜ ⎟⎟ + r 2 (3.8)
⎝d θ ⎠⎟ ⎝d θ ⎠⎟ ⎝d θ ⎠⎟ ⎝d θ ⎠⎟ ⎝d θ ⎠⎟

ดังนั้น

2
β ⎛dr ⎞
L= ∫ r 2 + ⎜⎜ ⎟⎟⎟ d θ (3.9)
α ⎝d θ ⎠

ตัวอยาง 3.2.2 จงหาความยาวเสนโคงคารดิออยด r = 1 + sin θ เมื่อ 0 ≤ θ ≤ 2π

วิธีทํา แทน r = 1 + sin θ ในสมการ (3.9) จะได



L= ∫ 0
(1 + sin θ)2 + cos2 θ d θ

= ∫ 0
2 + 2 sin θ d θ

= ∫ 0
2 + 2 cos θ d θ
2π θ
= ∫ 0
2 cos
2

=8

เสนโคงคารดิออยด r = 1 + sin θ จึงมีความยาว 8 หนวย „


3.2 ความชัน ความยาวเสนโคง และพื้นที่ในระบบพิกัดเชิงขั้ว 109

พื้นที่ในระบบพิกัดเชิงขั้ว
กําหนดบริเวณในระบบพิกัดเชิงขั้วซึ่งปดลอมดวยเสนโคง r = f (θ) และโดยรังสี θ = α และ
θ = β ดังรูป 3.2.1 โดยที่ f เปนฟงกชันคาบวกที่ตอเนื่องในชวง α ≤ θ ≤ β เราจะแบงชวง [α, β ]
ออกเปนชวงยอยๆ ดวยจุด α = θ0 , θ1, θ2 , …, θn−1, θn = β โดยแตละชวงมีความกวาง Δθ เทากัน ทํา
ใหแบงบริเวณดังกลาวออกเปน n บริเวณยอยๆ
y
f (θi* ) θ = θi
θ = θi −1

r = f (θ )

θ=β

θ=α

รูป 3.2.1 การหาพื้นที่ในระบบพิกัดเชิงขั้ว

พิจารณาเซกเตอรของวงกลมรัศมี r ที่รองรับมุม θ
r
จะพบวาพื้นที่ของเซกเตอรดังกลาวคือ
1 2
θ A= r θ
2

เมื่อนําหลักการหาพื้นที่เซกเตอรไปประยุกตกับพื้นที่ของแตละบริเวณยอยๆ ที่แบงไว จะพบวา


1
( f (θi* )) Δθ
2
ในชวง [θi−1, θi ] จะมี θi* ∈ (θi −1, θi ) ซึ่งทําให ΔAi =
2
n
1
( f (θi* )) Δθ
2
เมื่อรวมพื้นที่ทั้ง n สวนเขาดวยกัน จะได A=∑
i =1 2

ในลิมิตที่ n → ∞ เราจะได
β 1 2 β 1 2
A= ∫ α 2
( f (θ)) d θ = ∫ α 2
r dθ (3.10)
110 บทที่ 3 ระบบพิกัดเชิงขั้ว

ตัวอยาง 3.2.3 จงหาพื้นที่ของบริเวณที่ปดลอมดวยเสนโคงคารดิออยด r = 1 + sin θ

วิธีทํา จากสมการ (3.10) จะคํานวณพื้นที่ของบริเวณที่ตองการไดดังนี้


2π 1

2
A= (1 + sin θ ) d θ
0 2
1 2π
= ∫ (1 + 2 sin θ + sin2 θ )d θ
2 0
1 2π ⎛ 1 1 ⎞
= ∫ ⎜⎜1 + 2 sin θ + − cos 2θ ⎟⎟⎟ d θ
2 0 ⎝ 2 2 ⎠

=
2


ดังนั้น บริเวณที่ปดลอมดวยเสนโคงคารดิออยด r = 1 + sin θ มีพื้นที่ ตารางหนวย „
2

ตัวอยาง 3.2.4 จงหาพื้นที่ของบริเวณที่ปดลอมดวยกลีบหนึ่งของเสนโคง r = cos 2θ


π π
วิธีทํา พิจารณารูปในตัวอยาง 3.1.6 จะเห็นวากลีบทางขวาอยูในชวง θ=− ถึง θ=
4 4

π π
1 1 π
ดังนั้น A= ∫−
4
π
4
2
cos2 2θ d θ = ∫ 4π (1 + cos 4θ ) d θ =
4 −4 8
„

y
r = f (θ )

θ=β

r = g (θ)
θ=α
x

รูป 3.2.2 บริเวณระหวางเสนโคงในระบบพิกัดเชิงขั้ว

พื้นที่ของบริเวณที่ปดลอมดวยเสนโคง r = f (θ) กับ r = g(θ) ในชวง α≤θ≤β สามารถ


หาไดจากผลตางของพื้นที่ที่คํานวณจากสมการ (3.10) ของแตละเสนโคง ซึ่งจะได
β 1 β 1 1 β
( f (θ)) d θ − ∫ (g(θ)) d θ = ∫ ⎡⎢⎣( f (θ)) − (g(θ)) ⎤⎥⎦ d θ
2 2 2 2
A= ∫ α 2 α 2 2 α
(3.11)
3.2 ความชัน ความยาวเสนโคง และพื้นที่ในระบบพิกัดเชิงขั้ว 111

ตัวอยาง 3.2.5 จงหาพื้นที่ของบริเวณที่อยูภ ายในวงกลม r = 3 sin θ แตอยูภายนอกคารดิออยด


r = 1 + sin θ

วิธีทํา พิจารณากราฟของเสนโคงทั้งสอง ดังรูป

เราสามารถหาจุดตัดระหวางเสนโคงทั้งสองไดโดยการแกสมการ

3 sin θ = 1 + sin θ

1 π 5π
ซึ่งจะได sin θ = ซึ่งเมื่อพิจารณาจากรูป จะได θ= และ θ=
2 6 6

r = 3 sin θ

5π π
θ= θ=
6 6

r = 1 + sin θ

จึงคําวณหาพื้นที่ของบริเวณระหวางเสนโคงทีต่ องการไดจากสมการ (3.11) ดังนี้



1 6
π (9 sin θ − (1 + sin θ ) ) d θ
2 ∫6
2 2
A=

1 6
π (8 sin θ − 1 − 2 sin θ ) d θ
2 ∫6
2
=

1
= ∫ π 6 (3 − 4 cos 2θ − 2 sin θ ) d θ
2 6

1
(
= 3θ − 2 sin 2θ + 2 cos θ
2
) π
6

6

„
112 บทที่ 3 ระบบพิกัดเชิงขั้ว

แบบฝกหัด 3.2
1. จงหาความชันของเสนสัมผัสเสนโคง ณ จุดที่กําหนดให ในแตละขอตอไปนี้
1.1 r = 2 sin θ, θ = π
6
π
1.2 r = 2 − sin θ, θ =
3
1
1.3 r= , θ=π
θ
1.4 r = ln θ, θ = e
2. จงหาความยาวของเสนโคงในแตละขอตอไปนี้
2.1 r = 3 sin θ, 0 ≤ θ ≤ π
3

2.2 r = e , 0 ≤ θ ≤ 2π
2.3 r = θ, 0 ≤ θ ≤ 2π
2.4 r = θ 2 , 0 ≤ θ ≤ 2π
3. จงหาพื้นที่ของบริเวณที่ปดลอมดวยเสนโคงที่กําหนดใหในแตละขอตอไปนี้
3.1 r = θ , 0 ≤ θ ≤ π
4
θ
3.2 r = e , π ≤ θ ≤ 2π
π 2π
3.3 r = sin θ, ≤θ≤
3 3
3.4 r = sin θ , 0 ≤ θ ≤ π
4. จงแสดงวาเสนโคง r = a sin θ และเสนโคง r = a cos θ ตัดกันเปนมุมฉาก
5. จงหาพื้นที่ของกลีบหนึ่งของรูปกลีบกุหลาบ r = sin 4θ
1
6. จงหาพื้นที่ของบริเวณที่อยูภายในวงใหญแตอยูนอกวงเล็กของเสนโคงลีมาซอง r=+ cos θ
2
7. จงหาพื้นที่ของบริเวณที่อยูภายในวงใหญแตอยูนอกวงเล็กของเสนโคง r = 1 + 2 cos 3θ
8. พิจารณาเสนโคง x 3 + y 3 = 3xy
8.1 จงแสดงวาสมการเชิงขั้วของเสนโคงนี้คือ r = 3 sec θ tan
3
θ
1 + tan θ
8.2 จงรางกราฟของเสนโคงนี้ และจงหาพื้นที่ภายในวงของเสนโคงนี้
9. กําหนด P เปนจุดบนเสนโคง r = f (θ) และ P ไมใชจดุ กําเนิด O ถา ψ เปนมุมระหวางเสนสัมผัส
เสนโคงที่จุด P กับเสน OP จงแสดงวา tan ψ = r
dr / d θ
1
10. จงแสดงวาสมการเชิงขั้วในรูป r = −1
มีกราฟเปนรูปวงรีเมื่อ 0 <e <1 มีกราฟเปนรูป
e + sin θ
พาราโบลาเมื่อ e = 1 และมีกราฟเปนรูปไฮเพอรโบลาเมื่อ e > 1

You might also like