You are on page 1of 23

สารบาญ(30212164)

เนื้อหา บทที่4 หน้ า

บทที่ 4 การประยุกต์ ของอนุพนั ธ์


4.1 สมการเส้ นสั มผัสและเส้ นตั้งฉาก 1
4.2 ผลต่างเชิงอนุพนั ธ์ และแบบเชิงเส้ น 4
4.3 ค่าสู งสุ ด-ตา่ สุ ดสั มพัทธ์ ของฟังก์ชันและการทดสอบ 7
4.4 ค่าสู งสุ ด-ตา่ สุ ด(สั มบูรณ์ ) ของฟังก์ชันในช่ วงปิ ด 14
4.5 การเขียนกราฟโดยพิจารณาจากค่าของอนุพนั ธ์ อนั ดับหนึ่งและสอง 15
4.6 โจทย์ปัญหาค่าเหมาะสมที่สุด 19

<<<<<<< สอบ 30 % วันที่ 1 กันยายน 2564 >>>>>>>>>


1

(30212164)

บทที่ 4 การประยุกต์ ของอนุพนั ธ์


4.1 สมการเส้ นสัมผัสและเส้ นตั้งฉาก
พิจารณาส่ วนโค้ง C ของสมการ y = f ( x) ถ้าให้ ค่าของความชันของเส้ นตัดเส้ นโค้งที่
ผ่านจุด P(a, f (a)) กับจุด Q( x, f ( x)) ที่อยูบ่ นส่ วนโค้ง C ( x  a )
f ( x) − f (a )
เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ mPQ =
x−a

y = f ( x)
y

P เส้นตรงที่ตดั เส้นโค้งและผ่านจุด P และ Q

a x x

การกาหนดให้ x → a เชิงเรขาคณิ ต หมายถึง การเขยิบจุด Q( x, f ( x)) บนเส้นโค้ง ให้เข้าใกล้


จุด P(a, f (a)) มากที่สุด สาหรับค่าความชันของเส้นตรงที่ตดั เส้นโค้งดังกล่าวเข้าใกล้จานวน
จริ ง m เราจะกล่าวได้วา่ m เป็ นค่าของความชันของเส้นสัมผัสส่ วนโค้ง ณ จุด x = a ดัง
รู ป
เส้นโค้ง y = f ( x)
y

เส้ นสัมผัสเส้ นโค้ง ทีจ่ ุด P(a, f (a))


f ( a)
a x x

เส้ นตั้งฉากเส้ นโค้ง ที่จุด P(a, f (a))


2

นิยาม เส้ นสั มผัสของเส้ นโค้ง y = f ( x) ที่จุด (a, f (a)) หมายถึง เส้นตรงที่ผา่ นและสัมผัสจุด
(a, f (a)) และมีสมการเป็ น y − f (a) = m( x − a)

f ( x) − f (a)
โดยที่ m = f (a) = lim ถ้าลิมิตหาค่าได้
x →a x−a

นิยาม เส้ นตั้งฉากเส้ นโค้ง y = f ( x) ที่จุด (a, f (a)) หมายถึง เส้นตรงตั้งฉากกับเส้นสัมผัสเส้น

โค้งที่ผา่ นจุด (a, f (a)) และมีสมการเป็ น y − f (a) = −


1
( x − a)
m

f ( x) − f (a)
โดยที่ m = f (a) = lim ถ้าลิมิตหาค่าได้
x →a x−a

ตัวอย่างที่ 4.1 จงใช้ การประยุกต์ อนุพนั ธ์ หาสมการเส้ นสั มผัสหรื อเส้ นตั้งฉาก ข้ อ1) - ข้ อ 4)
ข้ อ1) จงหาสมการเส้นสัมผัสและเส้นตั้งฉากกับเส้นโค้ง y = x2 ที่จุด x=2

f ( x) − f (2) x2 − 4 ( x + 2)( x − 2)
วิธีทา จากสู ตร m = lim = lim = lim =4
x →2 x−2 x →2 x − 2 x →2 x−2

จุดผ่าน คือ จุด x = 2, y = f (2) = 22 = 4

 สมการเส้นสัมผัสเส้นโค้ง y = x2 ที่จุด x=2 คือ


และสมการเส้นตั้งฉากกับเส้นโค้ง y = x2 ที่จุด x=2 คือ

ข้อ2) จงหาสมการเส้นสัมผัสและเส้นตั้งฉากกับเส้นโค้ง y = cos(2 x) ที่จุด x=
6

  
วิธีทา จากสู ตร m = f ( ) = (−2)sin(2  ) = (−2)sin( ) = ( −2)
3
=− 3
6 6 3 2

จุดผ่าน คือ จุด x =  , y = cos(2   ) = cos(  ) = 1


6 6 3 2

 สมการเส้นสัมผัสเส้นโค้ง y = cos(2 x) ที่จุด x= คือ
6

และเส้นตั้งฉากกับเส้นโค้ง y = cos(2 x) ที่จุด x= คือ
6
3

ข้ อ 3) จงหาสมการเส้นสัมผัสและเส้นตั้งฉากกับเส้นโค้ง y = ln( x + e) + e −3 x −
1
ที่จุด x=0
2

วิธีทา

x2 y 2
ข้ อ4) จงหาสมการเส้นตั้งฉากกับเส้นโค้ง + =1 ที่จุด x=
3
,y0
3 2 2

วิธีทา
4

4.2 ผลต่ างเชิงอนุพนั ธ์ และแบบเชิงเส้ น


กาหนดให้ y = f ( x) เป็ นฟังก์ชนั ที่สามารถหาอนุพนั ธ์ได้เมื่อเทียบกับตัวแปร x

จาก dy
= f ( x)
dx

จะได้ dy = f ( x)dx

เรียก dy ว่า “ผลต่ างเชิงอนุพนั ธ์ ของฟังก์ชัน f เทียบกับตัวแปร x ”


และ ในทานองเดียวกัน
dy
= f (a ), x = x − a
dx x =a

dy x = a = df = f (a )( x − a )
x =a

เรียก dy x = a ว่า “ผลต่ างเชิงอนุพนั ธ์ ของฟังก์ชัน f เทียบกับตัวแปร x ที่จุด x = a ”


สู ตรการประมาณค่า f ( x) เพื่อประมาณค่าที่ใกล้เคียง f ( a)

f ( x)  f (a ) + df x=a

f ( x)  f (a) + f (a)( x − a)

เพิม่ เติม
แบบเชิงเส้ นของฟังก์ชัน f เทียบกับตัวแปร x ที่จุด x=a ”
คือ L( x) = f (a) + f (a)( x − a)

ข้ อสั งเกต ความสัมพันธ์ระหว่างค่าเชิงอนุพนั ธ์กบั แบบเชิงเส้นของฟังก์ชนั f เทียบกับตัว


แปร x ที่จุด x = a คือ f ( x)  L( x) = f (a) + f (a)( x − a)
5

ตัวอย่างที่ 4.2 จงใช้ การประยุกต์ อนุพนั ธ์ เพื่อประมาณค่า ข้ อ 1) ถึง ข้ อ 4)

ข้ อ1) จงประมาณค่า 9.01 +


1
9.01

ข้ อ2) จงประมาณค่า 3
28.01 − 2
6

ข้ อ3) จงประมาณค่า e0.01

ข้ อ4) จงประมาณค่า (0.995)5


7

4.3 ค่าสู งสุ ด-ต่าสุ ดสัมพัทธ์ ของฟังก์ชันและการทดสอบ


จุดวิกฤติ, ฟังก์ชันเพิม่ และฟังก์ชันลด
นิยาม เราจะกล่าวว่า f เป็ นฟังก์ชันเพิม่ บนช่ วง I

ถ้า f ( x2 )  f ( x1 ) เมื่อไรก็ตามที่ x2  x1 สาหรับ x1 , x2  I

นิยาม เราจะกล่าวว่า f เป็ นฟังก์ชันลดบนช่ วง I

ถ้า f ( x2 )  f ( x1 ) เมื่อไรก็ตามที่ x2  x1 สาหรับ x , x 1 2 I

ตัวอย่างที่ 4.3 จงแสดงเซตที่กาหนดบนเส้ นจานวนจริง ดังต่ อไปนีเ้

x
ช่ วงจานวนจริง (−, ) = หรื อ x  (−, )

a b x
ช่ วงเปิ ด (a, b)

x
ช่ วงเปิ ด (−10,3)  (3, )

x
ช่ วงเปิ ด (−, −1)  (2,5)
8

ความชันของเส้ นสั มผัสกราฟ y = f ( x) ที่จุด x = x คือ


0 m=
dy
= f ( x0 )
dx x = x0

dy
m= = f ( x0 )
dx x = x0

x0 x
เพิม่ เติม ค่าอนุพนั ธ์ที่จุดใดๆ มีค่าเท่ากับค่าความชันเส้นตรงที่สัมผัสกราฟที่จุดนั้นๆ

ช่ วงของฟังก์ชันเพิม่ กับ ค่าของอนุพนั ธ์ อนั ดับหนึ่ง

f+ + + +++++ f +++ +++++ f +++ +++++


x x x

ช่ วงของฟังก์ชันลด กับ ค่าของอนุพนั ธ์ อนั ดับหนึ่ง

f- - - - - - - - - - f ----- ----- f- - - - - -----


x x x
9

นิยาม กาหนด y = f ( x) เป็ นฟังก์ชนั ที่หาอนุพนั ธ์ได้บนช่วง (a, b)


และ f ( x) มีค่าเป็ นจานวนจริ ง
ถ้า f ( x)  0 บนช่วง (a, b) แล้วเราจะกล่าวได้วา่ f เป็ นฟังก์ชนั เพิ่มบนช่วง (a, b)

ถ้า f ( x)  0 บนช่วง (a, b) แล้วเราจะกล่าวได้วา่ f เป็ นฟังก์ชนั ลดบนช่วง (a, b)

ถ้า f ( x0 ) = 0 แล้ว เราจะกล่าวได้วา่ x = x0 เป็ นจุดวิกฤติของ f

ตัวอย่างที่ 4.4 จงหาจุดวิกฤติ ช่วงฟังก์ชนั เพิ่ม และช่วงฟังก์ชนั ลด ถ้ากาหนดฟังก์ชนั ต่อไปนี้


x3
1) y= + x2 − 1
3

x3
วิธีทา กาหนด y = f ( x) = + x 2 − 1 “หาอนุพนั ธ์เทียบกับตัวแปร x และ แยกตัวประกอบ”
3

จากนั้น “กาหนดให้เท่ากับศูนย์” แล้ว “แก้สมการหาค่า x ”


dy
f ( x) = = x 2 + 2 x = x( x + 2) = 0
dx

ดังนั้น x = −2,0 เป็ นจุดวิกฤติของฟังก์ชนั f

f  = x( x + 2) + 0 − 0 +

−2 0 x

ดังนั้น ช่วงฟังก์ชนั เพิ่มของ f คือ (−, −2)  (0, ) และ

ช่วงฟังก์ชนั ลดของ f คือ (−2,0)

เพิม่ เติม สาหรับฟังก์ชนั พหุนามใดๆ ค่าของอนุพนั ธ์จะนิยามค่าได้ทุกๆ ค่า x นัน่ คือ


f ( x) = x( x + 2) เห็นชัดว่าค่าของอนุพนั ธ์ที่จุดใดๆ จะเป็ นค่าคงที่ แต่จากการคานวณข้างต้น

ค่าของอนุพนั ธ์เป็ นค่าศูนย์ที่ x = −2,0 แต่สาหรับจานวนจริ งค่า x ในแต่ละตลอดช่วงเปิ ดนั้น


10

ค่าอนุพนั ธ์มีค่าบวกหรื อค่าลบ อย่างหนึ่งอย่างใด (ในแต่ละช่วงเราสุ่ มค่าคงที่ x หนึ่งค่า แล้ว

คานวณค่าของ f  ว่ามีค่าบวกหรื อลบ ทาให้เรารู ้วา่ ในช่วงนั้นๆ ค่าของ f จะเป็ นบวกหรื อลบ

ตลอดช่วงนั้น)

ตัวอย่างที่ 4.4 จงหาจุดวิกฤติ ช่วงฟังก์ชนั เพิม่ และช่วงฟังก์ชนั ลด ถ้ากาหนดฟังก์ชนั ต่อไปนี้

2) y=−
x3
− x 2 + 3x + 2
3

x3
วิธีทา กาหนด f ( x) = − − x 2 + 3 x + 2
3

หาอนุพนั ธ์เทียบกับตัวแปร x จะได้ f ( x) =

f

ดังนั้น ช่วงฟังก์ชนั เพิม่ ของ f คือ

ช่วงฟังก์ชนั ลดของ f คือ

ตัวอย่างที่ 4.4 จงหาจุดวิกฤติ ช่วงฟังก์ชนั เพิ่ม และช่วงฟังก์ชนั ลด ถ้ากาหนดฟังก์ชนั ต่อไปนี้

3) f ( x) = −5x4 −10 x3 + 10 x2 + 10

วิธีทา กาหนด f ( x) = −5x4 −10 x3 + 10 x2 + 10

หาอนุพนั ธ์เทียบกับตัวแปร x จะได้ f ( x) =

f x

ดังนั้น ช่วงฟังก์ชนั เพิ่มของ f คือ

ช่วงฟังก์ชนั ลดของ f คือ


11

ค่าสู งสุ ด-ต่าสุ ดสัมพัทธ์ และการทดสอบจุดวิกฤติ


เราจะศึกษาการใช้ อนุพนั ธ์ อนั ดับหนึ่ง ทดสอบจุดวิกฤติ x ว่า f ( x ) เป็ น ค่าสู งสุ ด
0 0

สั มพัทธ์ หรื อ f ( x ) เป็ น ค่าสู งสุ ดสั มพัทธ์ หรื อ f ( x ) ไม่ เป็ นทั้งสองค่าที่กล่าวมา
0 0

วิธีที่ 1) การทดสอบโดยใช้ อนุพนั ธ์ อนั ดับหนึ่ง

จุดสู งสุ ดสัมพัทธ์ ของฟังก์ชัน f

x0 เป็ นจุดวิกฤติของฟังก์ชนั f

จุด ( x0 , f ( x0 ))

f ++ 0 --
x0 x

ค่าสู งสุ ดสัมพัทธ์ของฟังก์ชนั f คือ f ( x ) 0

จุดสู งสุ ดสัมพัทธ์ของฟังก์ชนั f คือ ( x0 , f ( x0 ))

จุดต่าสุ ดสัมพัทธ์ ของฟังก์ชัน f

จุด ( x0 , f ( x0 ))
f -- 0 ++
x0 x
ค่าต่าสุ ดสัมพัทธ์ของฟังก์ชนั f คือ f ( x ) 0

จุดต่าสุ ดสัมพัทธ์ของฟังก์ชนั f คือ ( x0 , f ( x0 ))


12

ตัวอย่างที่ 4.5 จงพิจารณาหาค่าสู งสุ ด-ต่าสุ ดสัมพัทธ์จากฟังก์ชนั


f ( x) = −5x4 −10 x3 + 10 x2 + 10

วิธีทา

เพิม่ เติม 1. ค่าสุดขีดสัมพัทธ์ หมายถึง ค่าสูงสุดหรื อต่าสุดสัมพัทธ์


2. เราพบว่าที่จุดวิกฤตนั้น อาจให้ค่าสู งสุ ดหรื อต่าสุ ดสัมพัทธ์ หรื อ
อาจไม่ให้ค่าสุ ดขีดสัมพัทธ์ก็ได้

วิธีที่ 2) การทดสอบโดยใช้ อนุพนั ธ์ อนั ดับสอง


เราทราบแล้วว่าเราสามารถทดสอบจุดวิกฤติวา่ ให้ค่าสู งสุ ด-ต่าสุ ดสัมพัทธ์ หรื อไม่จาก
การพิจารณาการเปลี่ยนแปลงค่าอนุพนั ธ์อนั ดับหนึ่งที่เป็ นบวก หรื อ ลบ รอบๆ จุดวิกฤติน้ นั
สาหรับหัวข้อนี้ เราจะใช้ค่าของอนุพนั ธ์อนั ดับสองสาหรับ จุดวิกฤติของ f ( x0 ) = 0
เพื่อสรุ ปว่าจุดวิกฤติน้ นั ๆ ให้ค่าสู งสด – ต่าสุ ดสัมพัทธ์หรื อไม่
ทฤษฎีบท สาหรับ f ( x0 ) = 0 นัน่ คือ x = x เป็ นจุดวิกฤติของ f
0

ถ้า f ( x0 )  0 แล้ว ค่า f ( x ) เป็ นค่าสู งสุ ดสัมพัทธ์ของ f


0

ถ้า f ( x0 )  0 แล้ว ค่า f ( x ) เป็ นค่าต่าสุ ดสัมพัทธ์ของ f


0

เราจะพิจารณากราฟของฟังก์ชนั กับค่าของอนุพนั ธ์อนั ดับสองที่จุดวิกฤติ ว่าจะสามารถ


บ่งบอกได้หรื อไม่วา่ ที่จุดวิกฤติน้ นั ๆ จะให้ค่า-ต่าสุ ดสัมพัทธ์หรื อไม่
13

f ( x + h) − f ( x)
จากแนวคิดของ f ( x) = lim
h →0
ถ้าลิมิตมีค่าเป็ นจานวนจริ ง
h

นาไปสู่ ขอ้ สรุ ปได้วา่


1) จุดวิกฤติ f ( x0 ) = 0 และค่าของ f ( x0 ) เป็ นค่าลบ
สรุ ป f ( x ) เป็ นค่าสู งสุ ดสัมพัทธ์ของ f
0

2) จุดวิกฤติ f ( x0 ) = 0 และค่าของ f ( x0 ) เป็ นค่าบวก


สรุ ป f ( x ) เป็ นค่าต่าสุ ดสัมพัทธ์ของ f
0

จุด ( x0 , f ( x0 ))

f  - f  + จุด ( x0 , f ( x0 ))

x0 x x0 x

จุดสู งสุ ดสัมพัทธ์ จุดต่าสุ ดสัมพัทธ์


ตัวอย่างที่ 4.6 จงใช้การทดสอบด้วยอนุพนั ธ์อนั ดับสอง เพื่อพิจารณาหาค่าสู งสุ ด-ต่าสุ ดสัมพัทธ์
จากฟังก์ชนั
1) f ( x) = −5x4 −10x3 +10x2 +10
วิธีทา

2) f ( x) = −3x4 + 4 x3

วิธีทา
14

4.4 ค่าสู งสุ ด-ต่าสุ ด(สัมบูรณ์) ของฟังก์ชันในช่ วงปิ ด


กาหนด ให้ f เป็ นฟังก์ชนั ที่ตอ่ เนื่องบน [a, b]
ค่าสู งสุ ด-ต่าสุ ดสั มบูรณ์ ของฟังก์ชัน f
หมายถึง ค่าที่สูงที่สุดของฟังก์ชนั หรื อ ค่าที่ต่าสุ ดของฟังก์ชนั y = f ( x) บน [a, b]

y = f ( x)

a b x

ขั้นตอนการหาค่าสู งสุ ด- ต่าสุ ดสัมบูรณ์ของ ฟังก์ชัน f บน [a, b]

ขั้นตอนที่ 1 หาจุดวิกฤติ f บน (a, b)


ขั้นตอนที่ 2 สร้างตารางค่าของฟังก์ชนั f ที่จุดวิกฤติ และ ที่ x = a, b
ขั้นตอนที่ 3 เปรี ยบเทียบค่าของฟังก์ชนั ในตารางจากขั้นตอนที่ 2
ค่าของฟังก์ชนั มากที่สุด คือ ค่าสู งสุ ดสัมบูรณ์ของ f บน [a, b]
และ ค่าของฟังก์ชนั น้อยที่สุด คือ ค่าต่าสุ ดสัมบูรณ์ของ f บน [a, b]

ตัวอย่างที่ 4.7 การหาค่าสูงสุ ด ต่าสุ ดของ f บน [−3,0]


3x 2
ถ้ากาหนด f ( x) = x 3 + − 6x −1 บน [−3,0]
2
วิธีทา
15

4.5 การเขียนกราฟโดยพิจารณาจากค่าของอนุพนั ธ์ อนั ดับหนึ่งและสอง


จุดเปลีย่ นโค้ง ช่ วงโค้งควา่ และโค้งหงาย
ช่วงโค้งคว่า กับ ค่าลบของ f  ช่วงโค้งหงาย กับ ค่าบวกของ f 

y = f ( x) y = f ( x)
f  ----------------- f  +++++++++++++

x x

จุดเปลีย่ นโค้ง จุดเปลีย่ นโค้ง หมายถึง จุด ( x*, f ( x*)) ของกราฟซึ่งทางซ้ายและขวามีความ


โค้งที่ต่างกัน

f  --------0++++++ f  +++++++0------------

x* x x* x

จากโค้งคว่าเป็ นหงาย จากโค้งหงายเป็ นคว่า


การหาจุดเปลีย่ นโค้ง ( x*, f ( x*))
หา x * จาก f ( x*) = 0 (หรื อ f ไม่มีค่าอนุพนั ธ์อนั ดับสองที่จุด x * )
และหาเครื่ องหมาย(บวกหรื อลบ)ของ f  บนแกน x ตลอด D f

ถ้าค่าอนุพนั ธ์อนั ดับสองทั้งทางซ้ายและขวาที่จุด x * เป็ นบวกหรื อลบต่างกัน


แล้ว เราจะเรี ยก จุด ( x*, f ( x*)) ว่าจุดเปลีย่ นโค้งของ f

ลักษณะกราฟกับค่ าของอนุพนั ธ์ อนั ดับหนึ่งและสอง

f ----- f ++ f ++ f --
f  ++ f  ++ f  -- f  --
16

ขั้นตอน การเขียนกราฟโดยพิจารณาจากค่าของอนุพนั ธ์
ขั้นตอนที่ 1 หา f ( x) โดยดึงตัวร่ วม แยกตัวประกอบ และแก้สมการ f ( x) = 0
เพื่อให้ ได้
- จุดวิกฤติว่า มีกจี่ ุด ที่ x เป็ นค่าใดบ้ าง
ขั้นตอนที่ 2 เขียนเส้ นจานวน แสดง ค่าบวก ค่าลบ และค่าศูนย์ของ f  ตลอดเส้ น
จานวน เพื่อจะเห็น
-ช่ วงฟังก์ชันเพิม่
- ช่ วงฟังก์ชันลด และ
- จุดสู งสุ ด-ต่าสุ ดสั มพัทธ์ ที่จุดใด
ขั้นตอนที่ 3 หา f ( x) และแก้สมการ f ( x) = 0 และเขียนเส้ นจานวน แสดง ค่าบวก
ค่าลบ และค่าศูนย์ของ f  ตลอดเส้ นจานวน เพื่อจะได้เห็นว่ากราฟมีจุดเปลีย่ นโค้ง
หรื อไม่ ที่จุดใด ช่ วงโค้งคว่า หรื อโค้งหงายที่ช่วงใด
ขั้นตอนที่ 4 เขียนกราฟ
- ลงจุด
จุดวิกฤติ ทุกจุดที่มี, ลงจุดตัดแกน y ที่ม,ี ลงจุดตัดแกน x ที่ม,ี
ลงจุดสู งสุ ดสั มพัทธ์ ที่ม,ี ลงจุดต่าสุ ดสั มพัทธ์ ที่ม,ี ลงจุดที่ทาให้ f ( x) = 0 ,
ลงจุดเปลีย่ นโค้งที่มี
- เขียนกราฟตลอดแกน x จากการ sketch ลักษณะโค้ง จากการ f และ f 

เพื่อ เชื่ อมจุดวิกฤติ จุดที่ f ( x) = 0 และจุดเปลีย่ นโค้ง


17

ตัวอย่างที่ 4.8 กาหนด f ( x) = x − 3x + 2 จงเขียนกราฟโดยหา


3

1. จุดวิกฤติ
2. ช่วงที่ฟังก์ชนั f เป็ นฟังก์ชนั เพิ่ม – ลด
3. จุดสู งสุ ด – ต่าสุ ดสัมพัทธ์ (ถ้ามี)
4. ช่วงที่กราฟมีลกั ษณะโค้งคว่า และหงาย
5. จุดเปลี่ยนโค้ง (ถ้ามี)
18

ตัวอย่างที่ 4.9 กาหนด f ( x) = −3x + 4x จงเขียนกราฟโดยหา


4 3

1. จุดวิกฤต
2. ช่วงที่ฟังก์ชนั f เป็ นฟังก์ชนั เพิ่ม – ลด
3. จุดสู งสุ ด – ต่าสุ ดสัมพัทธ์ (ถ้ามี)
4. ช่วงที่กราฟมีลกั ษณะโค้งคว่า และหงาย
5. จุดเปลี่ยนโค้ง (ถ้ามี)
19

4.6 โจทย์ปัญหาค่าเหมาะสมที่สุด
20
21
22

You might also like