You are on page 1of 51

เอกสารประกอบการสอน

วิชา คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1 (ค 31201)


ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรีนที่ 1 ปีการศึกษา 2563

ตรรกศาสตร์เบื้องต้น

อาจารย์อลงกต วงศ์ศรียา
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา
คณิตศาสตร์เพิม่ เติม 1 ตรรกศาสตร์เบือ้ งต้น

ตรรกศาสตร์เบื้องต้น
1. ประพจน์ (Proposition)
บทนิยาม ประพจน์ คือ ประโยคหรือข้อความที่สามารถบอกค่าความจริงว่าเป็นจริงหรือเท็จอย่าง
ใดอย่างหนึ่งเท่านั้น
ความเป็น จริง หรือ เท็จ ของประพจน์ เราเรียกว่า ค่าความจริงของประพจน์ ในที่นี้เราจะใช้ตัวอักษร T
และ F แทนค่าความจริงที่เป็นจริง และเป็นเท็จ ตามลาดับ

ประโยคที่ไม่เป็นประพจน์ คือ ประโยคที่ไม่มีค่าความจริง ซึ่งพอจะแยกได้เป็น 2 ประเภท


ประเภทที่ 1 ได้แก่ประโยคที่ไม่อยู่ในรูปประโยคบอกเล่าหรือปฏิเสธ เช่น ประโยคคาถาม
คาสั่ง ห้าม ขอร้อง คาอุทาน หรือ อ้อนวอน เป็นต้น
ประเภทที่ 2 ได้แก่ประโยคบอกเล่า หรือปฏิเสธ แต่ไม่มีค่าความจริง เนื่องมาจากสิ่งที่เราไม่
ทราบว่าเป็นอะไรแน่ชัด ซึ่งเรียกว่าตัวแปร จึงบอกไม่ได้ว่า เป็นจริงหรือเท็จ

ตัวอย่าง จงพิจารณาประโยคต่อไปนี้ว่าเป็นประพจน์หรือไม่ ถ้าเป็นประพจน์จงบอกค่าความจริงของประพจน์นั้น

ประโยค เป็นประพจน์ ไม่เป็นประพจน์ ค่าความจริง


ช้างเป็นสัตว์สี่ขา
ข้าวเป็นอาหารหลักของคนไทย
ห้ามส่งเสียงดัง
เขาเป็นนักเรียนที่เก่งที่สุด
เดือนมกราคมมี 30 วัน
ช่วยด้วยครับ
จงหาเซตคาตอบของสมการ x + 2 = 0
 เป็นจานวนตรรกยะ
x – 2 = 10
ลุงพลเป็นคนน่ารัก
ดวงอาทิตย์ชึ้นทางทิศตะวันออก
ครูป๊อบหล่อกว่าลุงพล
ลุงพลและป้าแต๋นมิได้เป็นผู้มีมลทิน

3
อาจารย์อลงกต วงศ์ศรียา
คณิตศาสตร์เพิม่ เติม 1 ตรรกศาสตร์เบือ้ งต้น
2. การเชื่อมประพจน์ ( Connective )
ประโยคบางประโยคเกิดจากประโยคย่อยๆ แต่ละประโยคจะมี “ตัวเชื่อม” ซึ่งตัวเชื่อมพื้นฐานของประพจน์
มี 4 ตัว ได้แก่ ตัวเชื่อม
และ ใช้สัญลักษณ์แทนด้วย 
หรือ ใช้สัญลักษณ์แทนด้วย 
ถ้า … แล้ว ใช้สัญลักษณ์แทนด้วย 
ก็ต่อเมื่อ ใช้สัญลักษณ์แทนด้วย 

บทนิยาม ประพจน์ย่อย และ ประพจน์เชิงประกอบ


(1) เรียกประพจน์ที่นามาเชื่อมด้วยตัวเชื่อมต่างๆว่า ประพจน์ย่อย
(atomic proposition)
(2) เรียกประพจน์ที่เกิดจากการเชื่อมของประพจน์ย่อยว่า ประพจน์เชิงประกอบ
(compound proposition)

ในหัวข้อนี้เราสนใจศึกษาว่า ประพจน์สองประพจน์เมื่อนามาเชื่อมด้วยตัวเชื่อม จะได้ประพจน์ใหม่ที่มีค่า


ความจริงเป็นเช่นไร ซึ่งก็ขึ้นอยู่กับค่าความจริงของประพจน์เดิมและตัวเชื่อมด้วย

2.1 ค่าความจริงของประพจน์ที่เกิดจากการเชื่อมประพจน์ด้วยตัวเชื่อมต่างๆ

กาหนดให้ p และ q แทนประพจน์ใด ๆ


ให้ T แทนค่าความจริงของประพจน์ที่มีค่าความจริงเป็นจริง
F แทนค่าความจริงของประพจน์ที่มีค่าความจริงเป็นเท็จ

ตารางแสดงค่าความจริงของการเชื่อมประพจน์ด้วยตัวเชื่อมต่างๆ
p q pq pq pq pq
T T T T T T
T F F T F F
F T F T T F
F F F F T T

4
อาจารย์อลงกต วงศ์ศรียา
คณิตศาสตร์เพิม่ เติม 1 ตรรกศาสตร์เบือ้ งต้น
หมายเหตุ : ข้อสังเกตจากตาราง
1. p  q จะมีค่าความจริงเป็นจริง เมื่อ p และ q มีค่าความจริงเป็นจริงทั้งคู่
pq จะมีค่าความจริงเป็นเท็จ เมื่อ p หรือ q มีค่าความจริงเป็นเท็จ
อย่างน้อยหนึ่งประพจน์
2. pq จะมีค่าความจริงเป็นเท็จ เมื่อ p และ q มีค่าความจริงเป็นเท็จทั้งคู่
pq จะมีค่าความจริงเป็นจริง เมื่อ p หรือ q มีค่าความจริงเป็นจริง
อย่างน้อยหนึ่งประพจน์
3. pq จะมีค่าความจริงเป็นเท็จ เมื่อ p มีค่าความจริงเป็นจริง และ
q มีค่าความจริงเป็นเท็จ
pq จะมีคา่ ความจริงเป็นจริง เมื่อ p มีค่าความจริงเป็นเท็จ
pq จะมีค่าความจริงเป็นจริง เมื่อ q มีค่าความจริงเป็นจริง
4. pq จะมีค่าความจริงเป็นจริง เมื่อ p และ q มีค่าความจริงเหมือนกัน
pq จะมีค่าความจริงเป็นเท็จ เมื่อ p และ q มีค่าความจริงต่างกัน

2.2 นิเสธของประพจน์
การสร้างประพจน์ใหม่จากประพจน์ที่กาหนดให้ นอกจากจะใช้วิธีการเชื่อมประพจน์ดังที่ได้กล่าวไปแล้ว เรา
ยังสามารถสร้างประพจน์ใหม่ได้อีกแบบหนึ่งคือ ใช้การเติมข้อความ “ไม่เป็นความจริงที่ว่า” ลงหน้าประพจน์เดิม
เรียกประพจน์ใหม่ที่ได้นี้ว่า นิเสธของประพจน์เดิม ดังมีนิยามดังนี้

บทนิยาม ถ้า p เป็นประพจน์ใด ๆ นิเสธของประพจน์ p เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ ~p


นิเสธของประพจน์ หมายถึง ประพจน์ที่มีค่าความจริงตรงข้ามกับประพจน์เดิม

ตารางแสดงค่าความจริงของการนิเสธประพจน์
p ~p
T F
F T

5
อาจารย์อลงกต วงศ์ศรียา
คณิตศาสตร์เพิม่ เติม 1 ตรรกศาสตร์เบือ้ งต้น

ตัวอย่าง 1 กาหนดให้ p แทน 2 เป็นจานวนคู่


q แทน 2 เป็นจานวนเฉพาะ
r แทน 2 เป็นจานวนอตรรกยะ
จงหาค่าความจริงของประพจน์ในแต่ละข้อต่อไปนี้
(1) p  q (2) pr

(3) q  r (4) pq

(5) pr (6) q  r

(7) p  q (8) pr

(9) qr (10) r  p

(11) p  q (12) q  r

ตัวอย่าง 2 กาหนดประพจน์ให้ต่อไปนี้
p แทน  เป็นเซตจากัด
q แทน  เป็นสับเซตแท้ของทุกเซต
r แทน P() = {}
s แทน   A = 
จงหาค่าความจริงของประพจน์ในแต่ละข้อต่อไปนี้
(1) (p  q)  r (2) (p  r)  (q  r)

(3) s  (r  q) (4) (p  r)  (s  q)

(5) p  (q  ( r  s)) (6) (q   p)  (r   s)

6
อาจารย์อลงกต วงศ์ศรียา
คณิตศาสตร์เพิม่ เติม 1 ตรรกศาสตร์เบือ้ งต้น

ตัวอย่าง 3 จงเขียนประโยคต่อไปนี้ให้อยู่ในรูปสัญลักษณ์ และหาค่าความจริงของประพจน์


(1) 6 เป็นจานวนคู่ และ 3 เป็นจานวนคี่ (2) 2 เท่ากับ 4 หรือ 5 เท่ากับ 0

(3) ถ้าปลาบินได้แล้วนกจะเป็นสัตว์น้า (4) –2 < 0 ก็ต่อเมื่อ 2 > 0

22
(5) 6 กับ 10 เป็นจานวนคี่ (6)   Q แต่ Q
7

ตัวอย่าง 4 กาหนดประพจน์ p, q จงตอบคาถามต่อไปนี้


(1) ถ้าประพจน์ p  q มีค่าความจริงเป็น T แล้วจงหาค่าความจริงของ p  q

(2) ถ้าประพจน์ p  q มีค่าความจริงเป็น F แล้วจงหาค่าความจริงของ p  q

(3) ถ้าประพจน์ p  q มีค่าความจริงเป็น F แล้วจงหาค่าความจริงของ p  q

(4) ถ้าประพจน์ p  q มีค่าความจริงเป็น F แล้วจงหาค่าความจริงของ p  q

ตัวอย่าง 5 จงหานิเสธของประพจน์ต่อไปนี้
(1) 5 มากกว่า 0 (2) โลกเป็นดาวฤกษ์

(3) 4 หาร 30 ลงตัว (4) 2×5=0

(5)  (6) 6 เป็นตัวประกอบของ 20

7
อาจารย์อลงกต วงศ์ศรียา
คณิตศาสตร์เพิม่ เติม 1 ตรรกศาสตร์เบือ้ งต้น

3. การหาค่าความจริง
ในหัวข้อนี้มีจุดประสงค์เพื่อหาค่าความจริงของประพจน์เชิงประกอบ เมื่อทราบค่าความจริงของประพจ์ย่อย
หรืออาจจะไม่ทราบค่าความจริงของประพจน์ย่อยเลย ซึ่งจะมีวิธีการหาค่าความจริงแตกต่างกัน ดังนี้

3.1 การหาค่าความจริงเมื่อกาหนดค่าความจริงของประพจน์ย่อย
วิธีการหาค่าความจริงของประพจน์เชิงประกอบเมื่อทราบค่าความจริงประพจน์ย่อยเราจะใช้แผนภาพในการ
หา เพื่อความสะดวก ดังตัวอย่างต่อไปนี้

ตัวอย่าง 6 กาหนดให้ประพจน์ p มีค่าความจริงเป็นจริง q มีค่าความจริงเป็นเท็จ และ r มีค่าความจริงเป็นเท็จ


จงหาค่าความจริงของประพจน์ต่อไปนี้
(1) [p  (p  q)]  p (2) [(p  q)  r]  (p  r)

(3) [(p  r)  q]  [(q  r)  p] (4) [p  (q  r)]  [p  (q  r)]

(5) [(p  q)  r]  [(p  q)  r] (6) [p  (q  r)]  [p  (q  r)]

8
อาจารย์อลงกต วงศ์ศรียา
คณิตศาสตร์เพิม่ เติม 1 ตรรกศาสตร์เบือ้ งต้น

ตัวอย่าง 7 กาหนดให้ประพจน์ p มีค่าความจริงเป็นจริง จงหาค่าความจริงของประพจน์ต่อไปนี้


(1) [(p  q)  (p  r)]  (p  q) (2) [(p q)  r]  [(p  q)  r]

ตัวอย่าง 8 กาหนดให้ประพจน์ [(p  q)  (p  r)]  (s  r) มีค่าความจริงเป็นเท็จ


จงหาค่าความจริงของประพจน์ p, q, r และ s

ตัวอย่าง 9 กาหนดให้ประพจน์ [(p  q)  (q  r)]  s มีค่าความจริงเป็นเท็จ


จงหาค่าความจริงของประพจน์ (p  q)  (r  s)

ตัวอย่าง 10 กาหนดให้ประพจน์ [(r  q)  (p  q)]  (p  p) มีค่าความจริงเป็นจริง


จงหาค่าความจริงของประพจน์ (p  r)  (q  r)

9
อาจารย์อลงกต วงศ์ศรียา
คณิตศาสตร์เพิม่ เติม 1 ตรรกศาสตร์เบือ้ งต้น

3.2 การหาค่าความจริงเมื่อไม่กาหนดค่าความจริงของประพจน์ย่อย
การหาค่าความจริงของประพจน์ที่ยังไม่กาหนดค่าความจริงมาให้ เราสามารถสร้างตารางค่าความจริงของ
ประพจน์เชิงประกอบนั้นได้
โดยเราจะเรียกประพจน์ย่อยที่ยังไม่กาหนดค่าความจริง ว่า ตัวแปรแทนประพจน์
และเรียกประพจน์เชิงประกอบที่ประกอบด้วยตัวแปรแทนประพจน์ ว่า รูปแบบของประพจน์

การสร้างตารางค่าความจริง
ถ้ามีประพจน์ย่อยจานวน n ประพจน์ การพิจารณาค่าความจริงของประพจน์ย่อยต้องพิจารณาค่าความ
จริงทุกกรณี

จำนวนกรณีทพี่ จิ ำรณำ = 2n กรณี


ตัวอย่างเช่น
(1) ถ้ารูปแบบมีประพจน์ย่อยประพจน์เดียว (2) ถ้ารูปแบบมีประพจน์ย่อยประพจน์
ตารางค่าความจริง มี 2 กรณี ดังนี้ 2 ประพจน์ ตารางค่าความจริง มี
22  4 กรณี ดังนี้
p รูปแบบประพจน์ p q รูปแบบประพจน์
T T T
F T F
F T
F F

(3) ถ้ารูปแบบมีประพจน์ย่อยประพจน์ 3 ประพจน์


ตารางค่าความจริง มี 23  8 กรณี ดังนี้

p q r รูปแบบประพจน์
T T T
T T F
T F T
T F F
F T T
F T F
F F T
F F F

10
อาจารย์อลงกต วงศ์ศรียา
คณิตศาสตร์เพิม่ เติม 1 ตรรกศาสตร์เบือ้ งต้น

ตัวอย่าง 11 จงสร้างตารางค่าความจริงของรูปแบบประพจน์ [p  (p  q)]  q

p q pq p  (p  q) [p  (p  q)]  q

ข้อสังเกต เราจะหาค่าความจริงของประพจน์ที่วงเล็บในสุดก่อนแล้วขยับออกมาเรื่อยๆ

ตัวอย่าง 12 จงสร้างตารางค่าความจริงของรูปแบบประพจน์ (p  q)  (p  q)

p q p q p  q p  q ( p   q)  ( p  q)

ตัวอย่าง 13 จงสร้างตารางค่าความจริงของรูปแบบประพจน์ (p  r)  q

p q r (p   r)  q

11
อาจารย์อลงกต วงศ์ศรียา
คณิตศาสตร์เพิม่ เติม 1 ตรรกศาสตร์เบือ้ งต้น

ตัวอย่าง 14 จงหาค่าความจริงของประพจน์เชิงประกอบต่อไปนี้ เมื่อกาหนดค่าความจริงบางประพจน์ให้


(1) (p  s)  (q  r) เมื่อ p เป็นเท็จ ตอบ ……………..
(2) (p  q)  r เมื่อ r เป็นเท็จ ตอบ ……………..
(3) p  (p  q) เมื่อ q เป็นจริง ตอบ ……………..
(4) p  (q  r) เมื่อ p เป็นเท็จ ตอบ ……………..
(5) (p  q)  (q  p) เมื่อ p  q เป็นเท็จ ตอบ ……………..
(6) (p  q)  (p  q) เมื่อ p  q เป็นเท็จ ตอบ ……………..
(7) p  (q  r) เมื่อ q เป็นเท็จ ตอบ ……………..
(8) (p  q)  (r  s) เมื่อ p เป็นจริง และ r เป็นเท็จ ตอบ ……………..
(9) p  (q  r) เมื่อ r เป็นจริง ตอบ ……………..
(10) p  (q  r) เมื่อ p เป็นเท็จ ตอบ ……………..
(11) (p  q)  (p  q) เมื่อ p เป็นจริง ตอบ ……………..
(12) (p  q)  (p  q) เมื่อ q เป็นจริง ตอบ ……………..
(13) p  (q  r) เมื่อ p เป็นเท็จ ตอบ ……………..
(14) (p  q)  p เมื่อ p เป็นจริง ตอบ ……………..
(15) (p  q)  (q  p) เมื่อ p เป็นเท็จ ตอบ ……………..
(16) p  q เมื่อ p  q เป็นจริง ตอบ ……………..
(17) p  q เมื่อ p  q เป็นจริง ตอบ ……………..
(18) p  q เมื่อ p  q เป็นจริง ตอบ ……………..
(19) p  q เมื่อ p  q เป็นจริง ตอบ ……………..
(20) q  p เมื่อ p  q เป็นจริง ตอบ ……………..

12
อาจารย์อลงกต วงศ์ศรียา
คณิตศาสตร์เพิม่ เติม 1 ตรรกศาสตร์เบือ้ งต้น

ตัวอย่าง 15 จงหาค่าความจริงของประพจน์ย่อยในประพจน์เชิงประกอบที่กาหนดค่าความจริงให้
ในแต่ละข้อต่อไปนี้
ประพจน์เชิงประกอบ ค่าความจริงของประพจน์ย่อย
ในประพจน์เชิงประกอบ
ประพจน์ ค่าความจริง p q r s
(1) (p  q)  r F

(2) p  (q  r) F

(3) (r  q)  (q  s) F

(4) q  [(q  r)  (r  s)] F

(5) (p  q)  p F

(6) (p  q)  (r  s) F

(7) (r  p)  (s  p) T

(8) (p  q)  (r  s) F

(9) [(p  q)  r]  (p  s) F

(10) (p  s)  (p  q) F

ตัวอย่าง 16 กาหนดให้  [ (p  q)  (r  s) ] มีค่าความจริงเป็นจริง จงหาค่าความจริงของ


ประพจน์ [(q  p)  p]  [(r  s)  q]

13
อาจารย์อลงกต วงศ์ศรียา
คณิตศาสตร์เพิม่ เติม 1 ตรรกศาสตร์เบือ้ งต้น

ตัวอย่าง 17 จงสร้างตารางค่าความจริงของรูปแบบประพจน์ ต่อไปนี้


(1) (p  q)  p (2) (p  q)  (q  p)
p q p q

(3) (p  q)  (p  q) (4) [(p  q)  p]  q


p q p q

(5) [(p  q)  q]  p (6) (p  q)  (p  q)


p q p q

(7) p  (q  p) (8) (q  p)  q


p q p q

14
อาจารย์อลงกต วงศ์ศรียา
คณิตศาสตร์เพิม่ เติม 1 ตรรกศาสตร์เบือ้ งต้น

(9) [(p  q)  (q  r)]  (p  r)


p q r

ตัวอย่าง 18 กาหนดให้ p, q เป็นประพจน์ และ “  ” กับ “  ” เป็นตัวเชื่อมประพจน์


ที่มีค่าความจริงของการเชื่อมประพจน์กาหนดดังตารางนี้
p q pq pq
T T F F
T F T F
F T F F
F F F T
(1) ถ้าประพจน์ (p  q )  r มีค่าความจริงเป็นเท็จ จงหาค่าความจริงของ (p  r)  q

(2) ถ้าประพจน์ (p  q )  r มีค่าความจริงเป็นจริง จงหาค่าความจริงของ p  (r  q)

15
อาจารย์อลงกต วงศ์ศรียา
คณิตศาสตร์เพิม่ เติม 1 ตรรกศาสตร์เบือ้ งต้น

4. รูปแบบของประพจน์ที่สมมูลกัน (Equivalent)

บทนิยาม รูปแบบประพจน์ที่สมมูลกัน
คือ รูปแบบของประพจน์สองรูปแบบที่มีค่าความจริงเหมือนกันทุกกรณี

จากนิยาม รูปแบบประพจน์ที่สมมูลกันสามารถใช้แทนกันได้

สัญลักษณ์ ของการสมมูลของรูปแบบประพจน์คือ “  ” กล่าวคือ


รูปแบบประพจน์ A สมมูลกับรูปแบบประพจน์ B เขียนแทนด้วย A  B
แต่ถ้ารูปแบบประพจน์ A ไม่สมมูลกับรูปแบบประพจน์ B เขียนแทนด้วย A  B

คุณสมบัติของการสมมูลของรูปแบบประพจน์
กาหนดให้ A, B และ C เป็นรูปแบบของประพจน์
(1) การสะท้อน : A  A
(2) การสมมาตร : ถ้า A  B แล้ว B  A
(3) การถ่ายทอด : ถ้า A  B และ B  C แล้ว A  C

บทนิยาม รูปแบบประพจน์ที่เป็นนิเสธกัน
คือ รูปแบบของประพจน์สองรูปแบบที่มีค่าความจริงต่างกันทุกกรณี

จากนิยาม รูปแบบประพจน์ A เป็นนิเสธของ รูปแบบประพจน์ B


ก็ต่อเมื่อ ค่าความจริงของ A และ B ต่างกันทุกกรณี
ก็ต่อเมื่อ ค่าความจริงของ A และ B เหมือนกันทุกกรณี
ก็ต่อเมื่อ A  B
ดังนั้น A เป็นนิเสธของ B ก็ต่อเมื่อ A สมมูลกับ B ……… ***

วิธีการตรวจสอบการสมมูลกันของรูปแบบประพจน์
(1) สร้างตารางค่าความจริง โดยตารางของรูปแบบประพจน์ทั้งสองในตารางเดียวกัน จากนั้นพิจารณา
ว่าแต่ละกรณีมีค่าความจริงเหมือนกันทุกกรณีหรือไม่
ถ้าทุกกรณีมีค่าความจริงเหมือนกัน จะกล่าวว่า รูปแบบประพจน์ทั้งสองนั้นสมมูลกัน
ถ้ามีบางกรณีที่มีค่าความจริงต่างกัน จะกล่าวว่า รูปแบบประพจน์ทั้งสองนั้นไม่สมมูลกัน

(2) ใช้รูปแบบของประพจน์ที่สมมูลกัน โดยปรับรูปแบบประพจน์หนึ่งให้เหมือนกับอีกรูปแบบประพจน์


หนึ่งโดยใช้รูปแบบประพจน์ที่สมมูลกันที่ได้ผ่านการพิสูน์แล้วว่าสมมูลกันจริง ซึ่งได้แก่

16
อาจารย์อลงกต วงศ์ศรียา
คณิตศาสตร์เพิม่ เติม 1 ตรรกศาสตร์เบือ้ งต้น
*** รูปแบบของประพจน์ที่สมมูลกันที่สาคัญ ***
E 1. (p)  p
E 2. pq  qp
E 3. pq  qp
E 4. pq  qp
E 5. (p  q)  r  p  (q  r)
E 6. (p  q)  r  p  (q  r)
E 7. (p  q)  r  p  (q  r)
E 8. p  (q  r)  (p  q)  (p  r)
(q  r)  p  (q  p)  (r  p)
E 9. p  (q  r)  (p  q)  (p  r)
(q  r)  p  (q  p)  (r  p)
E 10. p  (q  r)  (p  q)  (p  r)
p  (q  r)  (p  q)  (p  r)
E 11. (p  q)  r  (p  r)  (q  r)
(p  q)  r  (p  r)  (q  r)
E 12. pq  p  q  q  p
E 13. pq  p  q  (p  q)  (q  p)
E 14. (p  q)  p  q
E 15. (p  q)  p  q
E 16. (p  q)  p  q
E 17. (p  q)  p  q  p  q
E 18. pp  p
E 19. pp  p
E 20. pT  p
E 21. pF  p
E 22. Tp  p
E 23. pF  p
E 24. pT  p
E 25. pF  p

17
อาจารย์อลงกต วงศ์ศรียา
คณิตศาสตร์เพิม่ เติม 1 ตรรกศาสตร์เบือ้ งต้น

ตัวอย่าง 19 จงตรวจสอบรูปแบบของประพจน์ที่กาหนดให้ว่า สมมูลกัน หรือ เป็นนิเสธกัน หรือ


ไม่สมมูล และ ไม่เป็นนิเสธกัน โดยใช้ตารางค่าความจริง
(1) p  q และ q  p (2) (p  q) และ p  q
p q p q

(3) p  q และ p  q (4) p  q และ p  q


p q p q

(5) p  q และ p  q (6) p  q และ p  q


p q p q

ตัวอย่าง 20 จงเติมประพจน์ในช่องว่างทาให้รูปแบบประพจน์ที่กาหนดให้สมมูลกัน
(1) p  q  q  ……. (2) p  q  ……  q
(3) p  q  q  ….… (4) p  q  ……  …….
(5) p  q  ……  …… (6) p  q  ……  …….
(7) pq  ……  p (8) p  q  ……  q
(9) p  q  (p  ….…) (10) p  q  ( p ...….)

18
อาจารย์อลงกต วงศ์ศรียา
คณิตศาสตร์เพิม่ เติม 1 ตรรกศาสตร์เบือ้ งต้น

ตัวอย่าง 21 จงตรวจสอบรูปแบบของประพจน์ที่กาหนดให้ว่า สมมูลกัน หรือ เป็นนิเสธกัน หรือ


ไม่สมมูล และ ไม่เป็นนิเสธกัน โดยใช้รูปแบบการสมมูล (E 1 – E 25)
(1) (p  q) และ p  q (2) (p  q) และ p  q

(3) p  q และ p  q (4) p  q และ p  q

(5) p  q และ p  q (6) p  q และ q  p

(7) (p  q)  r และ p  ( q  r) (8) (p  q)  r และ p  (q  r)

(9) (p  q)  r และ p  (q  r) (10) p  (q  r) และ p  (q  r)

(11) (p  q)  r และ p  (q  r) (12) (p  q)  r และ r  (p  q)

(13) [(p  q)]  (p  q) และ p (14) p  (r  r) และ p

19
อาจารย์อลงกต วงศ์ศรียา
คณิตศาสตร์เพิม่ เติม 1 ตรรกศาสตร์เบือ้ งต้น

ตัวอย่าง 22 จงหานิเสธของประพจน์ต่อไปนี้
(1) p  q (2) pq

(3) pq (4) pq

(5) (p  q)  r (6) p  ( q  r)

ตัวอย่าง 23 จงหานิเสธของข้อความต่อไปนี้
(1)  เป็นจานวนอตรรกยะและมีค่ามากกว่า 3

(2) ถ้า a เป็นจานวนเต็มแล้ว a เป็นจานวนคู่หรือเป็นจานวนคี่

(3) a > b ก็ต่อเมื่อ a – b > 0

(4) ถ้า A  B และ A ≠ B แล้ว A เป็นสับเซตแท้

(5) a เป็นจานวนจริง เมื่อ a ≥ 0

ตัวอย่าง 24 จงหาข้อความที่สมมูลกับข้อความต่อไปนี้
(1) ถ้า xy = 0 และ x ≠ 0 แล้ว y = 0

(2) ถ้า x2 = 2 แล้ว x = –2 หรือ x = 2

(3) X  P(A) ก็ต่อเมื่อ X  P(A)

20
อาจารย์อลงกต วงศ์ศรียา
คณิตศาสตร์เพิม่ เติม 1 ตรรกศาสตร์เบือ้ งต้น

ตัวอย่าง 25 กาหนดข้อความ A และ B ในแต่ละข้อต่อไปนี้


จงพิจารณาว่าข้อความสมมูลกัน หรือ เป็นนิเสธกัน หรือไม่
(1) A : ถ้า a เป็นจานวนคู่ แล้ว a2 เป็นจานวนคู่
B : ถ้า a2 ไม่เป็นจานวนคู่ แล้ว a ไม่เป็นจานวนคู่

(2) A : ถ้า ab < 0 แล้ว a < 0 หรือ b < 0


B : ab < 0 และ a ≥ 0 และ b ≥ 0

(3) A : ถ้า c เป็นจานวนเฉพาะ แล้ว c เป็นจานวนคี่


B : c เป็นจานวนคี่ หรือ c ไม่เป็นจานวนเฉพาะ

(4) A : a  
 {0} ก็ต่อเมื่อ a หาค่าได้
B : (ถ้า a หาค่าไม่ได้ แล้ว a  
 {0} ) และ
( a หาค่าไม่ได้ หรือ a  
 {0} )

(5) A : ถ้า a เป็นจานวนนับแล้ว a เป็นจานวนคู่ หรือ a เป็นจานวนคี่


B : (ถ้า a เป็นจานวนนับแล้ว a เป็นจานวนคู่) หรือ
(ถ้า a เป็นจานวนนับแล้ว a เป็นจานวนเฉพาะ)

(6) A : ถ้า xy = 0 แล้ว x = 0 หรือ y = 0


B : ถ้า x ≠ 0 และ y ≠ 0 แล้ว xy ≠ 0

21
อาจารย์อลงกต วงศ์ศรียา
คณิตศาสตร์เพิม่ เติม 1 ตรรกศาสตร์เบือ้ งต้น

5. สัจนิรันดร์ (Tautology)
จากการหาค่าความจริงของรูปแบบประพจน์ดดยใช้ตารารงค่าความจริงบางครั้งเราจะพบว่าในทุกกรณีมีค่า
ความจริงเป็นจริง ในหัวข้อนี้เราสนใจจะตรวจสอบรูปแบบของประพจน์ว่ารูปแบบใดมีลักษณะเช่นนี้

สัจนิรันดร์ คือ รูปแบบของประพจน์ที่มีค่าความจริงเป็นจริงทุกกรณี

วิธีการตรวจสอบความเป็นสัจนิรันด์
วิธีที่ 1 : สร้างตารางค่าความจริง
เป็นวิธีที่สามารถใช้ได้ทุกรูปแบบของประพจน์
วิธีที่ 2 : ใช้ความรู้เกี่ยวกับการสมมูล ดังนี้
กาหนดให้ T แทนรูปแบบประพจน์ที่มีค่าความจริงเป็นจริง
F แทนรูปแบบประพจน์ที่มีค่าความจริงเป็นเท็จ
A แทนประพจน์ใด ๆ
A  ~A  T ดังนั้น A  ~A เป็นสัจนิรันดร์
AT  T ดังนั้น ถ้า B เป็นจริง T แล้ว A  B เป็นสัจนิรันดร์
AT  T ดังนั้น ถ้า B เป็นจริง T แล้ว A  B เป็นสัจนิรันดร์
FA  T ดังนั้น ถ้า A เป็นจริง F แล้ว A  B เป็นสัจนิรันดร์

วิธีที่ 3 : ใช้วิธีลัด แยกตามลักษณะของการเชื่อมในรูปแบบของประพจน์


1. รูปแบบของประพจน์ที่อยู่ในรูป A  B
ใช้วิธีหาข้อขัดแย้ง โดยสมมติให้ รูปแบบประพจน์ A  B เป็นเท็จ
นั่นคือ A มีค่าความจริงเป็น F และ B มีค่าความจริงเป็น F
แล้วหาค่าความจริงของประพจน์ย่อยในรูปแบบประพจน์ A  B
 ถ้าค่าความจริงของประพจน์ย่อยสอดคล้องกันโดย ไม่มีข้อขัดแย้ง *
แสดงว่ารูปแบบประพจน์ A  B มีโอกาศเป็นเท็จได้
ดังนั้น A  B ไม่เป็นสัจนิรันด์ *
 ถ้าค่าความจริงของประพจน์ย่อยไม่สอดคล้องกันโดย มีข้อขัดแย้ง *
แสดงว่ารูปแบบประพจน์ A  B ไม่มีโอกาศเป็นเท็จได้ (เป็นจริงเสมอ)
ดังนั้น A  B เป็นสัจนิรันด์ *

22
อาจารย์อลงกต วงศ์ศรียา
คณิตศาสตร์เพิม่ เติม 1 ตรรกศาสตร์เบือ้ งต้น

2. รูปแบบของประพจน์ที่อยู่ในรูป A  B
ใช้วิธีหาข้อขัดแย้ง โดยสมมติให้ รูปแบบประพจน์ A  B เป็นเท็จ
นั่นคือ A มีค่าความจริงเป็น T และ B มีค่าความจริงเป็น F
แล้วหาค่าความจริงของประพจน์ย่อยในรูปแบบประพจน์ A  B
 ถ้าค่าความจริงของประพจน์ย่อยสอดคล้องกันโดย ไม่มีข้อขัดแย้ง *
แสดงว่ารูปแบบประพจน์ A  B มีโอกาศเป็นเท็จได้
ดังนั้น A  B ไม่เป็นสัจนิรันด์ *
 ถ้าค่าความจริงของประพจน์ย่อยไม่สอดคล้องกันโดย มีข้อขัดแย้ง *
แสดงว่ารูปแบบประพจน์ A  B ไม่มีโอกาศเป็นเท็จได้ (เป็นจริงเสมอ)
ดังนั้น A  B เป็นสัจนิรันด์ *

3. รูปแบบของประพจน์ที่อยู่ในรูป A  B
3.1 ใช้วิธีหาข้อขัดแย้ง โดยสมมติให้ รูปแบบประพจน์ A  B เป็นเท็จ
นั่นคือ กรณีที่ 1 A มีค่าความจริงเป็น T และ B มีค่าความจริงเป็น F
กรณีที่ 2 A มีค่าความจริงเป็น F และ B มีค่าความจริงเป็น T
ในแต่ละกรณีหาค่าความจริงของประพจน์ย่อยในรูปแบบประพจน์ A  B
 ถ้าทั้ง 2 กรณี มีบางกรณีที่ค่าความจริงของประพจน์ย่อยสอดคล้องกัน
โดย ไม่มีข้อขัดแย้ง *
แสดงว่ารูปแบบประพจน์ A  B มีโอกาศเป็นเท็จได้
ดังนั้น A  B ไม่เป็นสัจนิรันด์ *
 ถ้าทั้ง 2 กรณี แต่ละกรณีมีค่าความจริงของประพจน์ย่อยไม่สอดคล้องกัน
โดย มีข้อขัดแย้ง *
แสดงว่ารูปแบบประพจน์ A  B ไม่มีโอกาศเป็นเท็จได้ (เป็นจริงเสมอ)
ดังนั้น A  B เป็นสัจนิรันด์ *
3.2 ใช้การสมมูลกัน โดยตรวจสอบว่าประพจน์ A และ B สมมูลกันหรือไม่
ถ้า A  B แล้ว A  B เป็นสัจนิรันด์
ถ้า A  B แล้ว A  ไม่เป็นสัจนิรันดร์

23
อาจารย์อลงกต วงศ์ศรียา
คณิตศาสตร์เพิม่ เติม 1 ตรรกศาสตร์เบือ้ งต้น

ตัวอย่าง 26 จงตรวจสอบรูปแบบประพจน์ต่อไปนี้เป็นสัจนิรันดร์หรือไม่
โดยใช้การสร้างตารางค่าความจริง
(1) [(p  q)  p]  q (2) (p  q)  (p  q)
p q p q

(3) [(p  q)  q]  p (4) (p  q)  (p  q)


p q p q

(5) [(p  q)  (q  r)]  (p  r)


p q r

24
อาจารย์อลงกต วงศ์ศรียา
คณิตศาสตร์เพิม่ เติม 1 ตรรกศาสตร์เบือ้ งต้น

ตัวอย่าง 27 จงตรวจสอบรูปแบบประพจน์ต่อไปนี้เป็นสัจนิรันดร์หรือไม่
(1) (p  p)  (q  r) (2) (p  q)  p  q

(3) (p  r)  (q  q) (4) (p  q)  ( r  r)

(5) p  (q  p) (6) p  [q  (r  r)]

(7) (p  p)  q (8) [(p  q)  q]  p

(9) (p  q)  (p  q) (10) [(p  q)  (q  r)]  (p  r)

(11) (p  q)  (q  p) (12) (p  q)  (p  q)

(13) [p  (q  r)]  [q  (p  r)] (14) [p  (q  r)]  [p  (q  r)]

(15) (p  q)  (q  p) (16) [p  (q  r)]  [(p  q)  r ]

25
อาจารย์อลงกต วงศ์ศรียา
คณิตศาสตร์เพิม่ เติม 1 ตรรกศาสตร์เบือ้ งต้น

6. การอ้างเหตุผล
ตามที่ได้กล่าวไปแล้วว่ารูปแบบของประพจน์ A  B จะประกอบด้วยส่วนสองส่วน คือ เหตุ ได้แก่ A
และ ผล ได้แก่ B เราจะอาศัยความรู้นี้มาศึกษาเรื่องการอ้างเหตุผล

การอ้างเหตุผล หมายถึง การกล่าวอ้างว่า ถ้ามีข้อความ P1, P2, ..., Pn แล้วสามารถสรุป


ข้อความ C ได้

ดังนั้น การอ้างเหตุผล จะมีส่วนประกอบ 2 ส่วน คือ


ส่วนที่หนึ่ง : เรียกว่า เหตุ หรือ สิ่งที่กาหนดให้ ได้แก่ข้อความ P1, P2, ..., Pn

ส่วนที่สอง : เรียกว่า ผล ได้แก่ ข้อความ C


การอ้างเหตุผลที่มีเหตุเป็น P1, P2, ..., Pn และมี C เป็นผลจะเขียนสัญลักษณ์ แทนการอ้างเหตุผลนี้ว่า
P1, P2, ..., Pn C

การอ้างเหตุผล จะสมเหตุสมผล (valid) หรือ ไม่สมเหตุสมผล (invalid) ก็ได้ ซึ่งมีวิธีการตรวจสอบดังนี้

*** วิธีการตรวจสอบการอ้างเหตุผลว่ามีความสมเหตุสมผลหรือไม่***

กาหนดการอ้างเหตุผล P1, P2, ..., Pn  C

วิธีที่ 1 : ใช้การตรวจสอบรูปแบบประพจน์ ( P1  P2  ...  Pn )  C


เป็นสัจนิรันดร์หรือไม่
(1) ถ้ารูปแบบของประพจน์ ( P1  P2  ...  Pn )  C เป็นสัจนิรันดร์
แล้วการอ้างเหตุผลนี้ สมเหตุสมผล
(2) ถ้ารูปแบบของประพจน์ ( P1  P2  ...  Pn )  C ไม่เป็นสัจนิรันดร์
แล้วการอ้างเหตุผลนี้ ไม่สมเหตุสมผล

26
อาจารย์อลงกต วงศ์ศรียา
คณิตศาสตร์เพิม่ เติม 1 ตรรกศาสตร์เบือ้ งต้น

วิธีที่ 2 : ใช้รูปแบบการอ้างเหตุผลที่สมเหตุสมผลแล้ว ที่นิยมใช้ในทางคณิตศาสตร์ ได้แก่

*** รู ปแบบกำรอ้ ำงเหตุผลที่สมเหตุสมผลที่นิยมใช้ ในทำงคณิตศำสตร์ ***


1. Modus Ponens 2. Modus Tollens
เหตุ 1. p  q เหตุ 1. p  q
2. p 2. ~q
ผล q ผล ~p

3. Law of Syllogism 4. Law of contrapositive


เหตุ 1. p  q เหตุ p  q
2. q  r
ผล pr ผล ~q  ~p

5. Disjunctive Syllogism 6. เหตุ 1. pr


เหตุ 1. p  q 2. qs
2. ~q 3. pq
ผล p ผล rs

7. Law of Simplification 8. Law of Addition


เหตุ p  q เหตุ p
ผล p ผล p  q
วิธีที่ 3 : วิธีการค้นหาค่าความจริงของเหตุ
เนื่องจาก ( P1  P2  ...  Pn )  C เป็นเท็จมีกรณีเดียว คือ P1  P2  ...  Pn มีค่าความ
จริงเป็นจริง และ C มีค่าความจริงเป็นเท็จ ดังนั้นในการอ้างเหตุผลเราอาจจะกาหนดให้เหตุแต่ละเหตุมีค่าความจริง
เป็นจริง หลังจากนั้นก็ตรวจสอบค่าความจริงของประพจน์ที่เป็นผล

 ถ้า P1, P2, ..., Pn ทั้งหมดเป็นจริง แล้ว ทาให้ C เป็นจริง จะได้ว่าการอ้างเหตุผลนั้น


สมเหตุสมผล

 ถ้า P1, P2, ..., Pn ทั้งหมดเป็นจริง แล้ว ทาให้ C เป็นเท็จ จะได้ว่าการอ้างเหตุผลนั้น


ไม่สมเหตุสมผล

27
อาจารย์อลงกต วงศ์ศรียา
คณิตศาสตร์เพิม่ เติม 1 ตรรกศาสตร์เบือ้ งต้น

ตัวอย่าง 28 จงตรวจสอบว่า การอ้างเหตุผลต่อไปนี้สมเหตุสมผลหรือไม่ โดยอาศัยวิธีที่ 1


(1) เหตุ 1. p  q (2) เหตุ 1. p  q
2. p 2. q
ผล q ผล p

(3) เหตุ 1. p  q (4) เหตุ 1. p  q


2. p 2. p  (q  r)
ผล q ผล r

(5) เหตุ 1. p  q (6) เหตุ 1. p  q


2. q  r 2. p  r
3. r 3. p  s
ผล p ผล r  s

ตัวอย่าง 29 จงตรวจสอบว่า การอ้างเหตุผลต่อไปนี้สมเหตุสมผลหรือไม่ โดยอาศัยวิธีที่ 2


(1) เหตุ 1. p  q (2) เหตุ 1. p  (q  r)
2. r  q 2. p
3. r 3. s  q
ผล p ผล r  s

28
อาจารย์อลงกต วงศ์ศรียา
คณิตศาสตร์เพิม่ เติม 1 ตรรกศาสตร์เบือ้ งต้น

ตัวอย่าง 30. จงตรวจสอบว่า การอ้างเหตุผลต่อไปนี้สมเหตุสมผลหรือไม่


(1) เหตุ 1. ถ้าฉันขยันเรียน แล้วฉันจะสอบผ่าน
2. ฉันขยันเรียน
ผล ฉันสอบผ่าน

(2) เหตุ 1. ถ้า a เป็นจานวนคู่ แล้ว 2 หาร a ลงตัว


2. a เป็นจานวนคู่ หรือ จานวนคี่
3. 2 หาร a ไม่ลงตัว
ผล a เป็นจานวนคี่

(3) เหตุ 1. ถ้าฝนตกแล้วน้าท่วมโรงเรียน


2. ถ้าฝนไม่ตกแล้ว แล้วนักเรียนมาเรียนทันเวลา
3. ถ้าการเดินทางมาโรงเรียนไม่สะดวก แล้ว นักเรียนมาเรียนไม่ทันเวลา
4. น้าไม่ท่วมโรงเรียน
ผล การเดินทางมาโรงเรียนสะดวก

(4) เหตุ 1. ถ้า a เป็นจานวนตรรกยะ แล้ว a เป็นจานวนจริง


2. ถ้า a2 = –1 แล้ว a ไม่เป็นจานวนจริง
3. a2 = –1
ผล a ไม่เป็นจานวนตรรกยะ

ตัวอย่าง 31. กาหนดเหตุของการอ้างเหตุผลดังนี้


เหตุ 1. ถ้า นาย ก. ไปว่ายน้า แล้ว นาย ข.ไปดูภาพยนตร์
2. นาย ข. ไม่ดูโทรทัศน์
3. ถ้า นาย ก. ไม่ไปว่ายน้าแล้ว นาย ค. ไม่นอนพักผ่อน
4. นาย ค. นอนพักผ่อน หรือ นาย ข. ดูโทรทัศน์
ผล ?
จงหาผลที่ทาให้การอ้างเหตุผลข้างต้นสมเหตุสมผล

29
อาจารย์อลงกต วงศ์ศรียา
คณิตศาสตร์เพิม่ เติม 1 ตรรกศาสตร์เบือ้ งต้น

7. ประโยคที่มีตัวบ่งปริมาณ
7.1 ประโยคเปิด ( Open Sentence )
บทนิยาม ประโยคเปิด หมายถึง ประโยคบอกเล่าหรือประโยคปฏิเสธที่มีตัวแปร และเมื่อแทน
ค่าตัวแปรในประโยคเปิดด้วยสมาชิกใดๆ ในเอกภพสัมพัทธ์ จะเป็นประพจน์

สัญลักษณ์ ประโยคเปิดที่มีตัวแปร x จะเขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ P(x) หรือ Q(x) เป็นต้น

ตัวอย่าง 32 ประโยคในข้อใดต่อไปนี้เป็น ประพจน์ หรือ ประโยคเปิด หรือไม่ใช่ทั้งสอง


(1) เธอกาลังเรียนอยู่ในมหาวิทยาลัย

(2) เขาเป็นนักเรียนที่ตั้งใจเรียนมากใช่หรือไม่

(3) ถ้า 2 เป็นจานวนเฉพาะแล้ว 2 เป็นจานวนคี่

(4) x ≥ 0 และ x เป็นจานวนนับ

(5) x เป็นจานวนเต็ม หรือ x เป็นจานวนอตรรกยะ

(6) ถ้า x เป็นจานวนเต็มแล้ว x เป็นจานวนจริง

(7) x2 9

(8) x2 9 (x 3)(x 3)

(9) ถ้า x เป็นจานวนเต็ม แล้ว x เป็นจานวนจริงหรือไม่

(10) (x + 5)(x – 1) = x2 4x 5

30
อาจารย์อลงกต วงศ์ศรียา
คณิตศาสตร์เพิม่ เติม 1 ตรรกศาสตร์เบือ้ งต้น

7.2 ตัวบ่งปริมาณ ( Quantifier )


ในวิชาคณิตศาสตร์ เรามักพบประโยคเปิด ที่มีลักษณะเป็นข้อความ เช่น
“สาหรับ (ตัวแปร) ทุกตัว (ประโยคเปิด)”
สาหรับ (ตัวแปร) บางตัว (ประโยคเปิด)”
เช่น สาหรับ x ทุกตัวที่เป็นจานวนจริงบวก x หาค่าได้
สาหรับ x บางตัวที่เป็นจานวนเต็มบวก x2 2x 8 0 เป็นต้น

บทนิยาม เรียกข้อความ
“สาหรับ ….. ทุกตัว” และ “สาหรับ ..… บางตัว” ว่าเป็น ตัวบ่งปริมาณ โดยที่
(1) ข้อความ “สาหรับ …. ทุกตัว” แสดงให้เห็นว่าเรากาลังกล่าวถึงสมาชิกทุกตัวใน U
และเขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ 
(2) ข้อความ“สาหรับ …. บางตัว” แสดงให้เห็นว่าเรากาลังกล่าวถึงสมาชิกบางตัวใน U
และเขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ 
จากนิยามการเขียนตัวบ่งปริมาณ ที่มีตัวแปร 1 ตัว และตัวแปร 2 ตัวในประโยคเปิดมีดังนี้

ข้อความตัวบ่งปริมาณ สัญลักษณ์
แบบที่ 1 : “สาหรับ x ทุกตัว” x
แบบที่ 2 : “สาหรับ x บางตัว” หรือ “มี x บางตัว” x
แบบที่ 3 : “สาหรับ x ทุกตัว y ทุกตัว” xy
แบบที่ 4 : “สาหรับ x บางตัว y บางตัว” xy
แบบที่ 5 : “สาหรับ x บางตัว สาหรับ y ทุกตัว” หรือ
xy
“มี x บางตัว สาหรับ y ทุกตัว”
แบบที่ 6 : “สาหรับ x ทุกตัว สาหรับ y บางตัว” หรือ
xy
“สาหรับ x ทุกตัว มี y บางตัว”
หมายเหตุ
1. ตัวบ่งปริมาณ จะมีความหมายก็ตอ่ เมื่อกาหนดเอกภพสัมพัทธ์มาด้วย
ดังนั้นการเขียนประโยคที่มีตัวบ่งปริมาณ จะต้องเขียนเอกภพสัมพัทธ์กากับไว้เสมอ
จึงจะสมบูรณ์ เพราะจะได้ทราบว่า สมาชิกทุกตัวหรือสมาชิกบางตัวที่กาลังกล่าวถึงเป็น
สมาชิกของเซตใด
2. ถ้าเป็นประโยคที่มตี ัวบ่งปริมาณทีเ่ กี่ยวข้องกับเรื่องของจานวน และ
ไม่ได้กาหนดเอกภพสัมพัทธ์มาให้ถือว่าเอกภพสัมพัทธ์คือ เซตของจานวนจริง
3. ตัวบ่งปริมาณ จะใช้เขียนนาหน้าประโยคเปิด

31
อาจารย์อลงกต วงศ์ศรียา
คณิตศาสตร์เพิม่ เติม 1 ตรรกศาสตร์เบือ้ งต้น

ตัวอย่าง 33 ถ้าให้เอกภพสัมพัทธ์เป็นเซตของจานวนจริง จงเขียนประโยคต่อไปนี้ให้อยู่ในรูปสัญลักษณ์


(1) สาหรับ x ทุกตัว x + x = x2

(2) สาหรับ x บางตัว x3 0

(3) สาหรับ x ทุกตัว ถ้า x ≠ 0 แล้ว x2 >0

(4) สาหรับ x บางตัว x เป็นจานวนคู่ หรือ x เป็นจานวนคี่

(5) สาหรับ x ทุกตัว x > 0 ก็ต่อเมื่อ x3 >0

(6) มี x บางตัว x2 2 แล้ว x เป็นจานวนอตรรกยะ

(7) มี x บางตัว x เป็นจานวนเฉพาะ และ x เป็นจานวนคู่

(8) สาหรับ x ทุกตัว y ทุกตัว x + y = y + x

(8) สาหรับ x และ y ทุกตัว xy = yx

(9) สาหรับ x และ y แต่ละจานวน x + y = xy

(10) สาหรับ x บางตัว y บางตัว x + y = 0

x
(11) มี x และ y บางตัว ที่ ไม่เป็นจานวนจริง
y

(12) มี x บางตัว สาหรับ y ทุกตัว xy = y

(13) มี y อย่างน้อยหนึ่งตัว ซึ่งเมื่อบวกกับ x ทุกตัวได้ x

(14) สาหรับ x ทุกตัว มี y บางตัวซึ่ง x + y = 0

(15) สาหรับ y แต่ละจานวนมี x บางจานวนซึ่ง xy = 1


32
อาจารย์อลงกต วงศ์ศรียา
คณิตศาสตร์เพิม่ เติม 1 ตรรกศาสตร์เบือ้ งต้น

8. ค่าความจริงของประพจน์ที่มีตัวบ่งปริมาณ
8.1 ค่าความจริงของประพจน์ที่มีตัวบ่งปริมาณ 1 ตัว
ให้ P(x) แทนประโยคเปิดที่มี x เป็นตัวแปร และ U แทนเอกภพสัมพัทธ์
1. x[P(x)] มีค่าความจริงเป็น จริง
ก็ต่อเมื่อ นาสมาชิกทุกตัวใน U ไปแทนค่า x ใน P(x) แล้ว ทาให้ P(x) เป็นจริง
x[P(x)] มีค่าความจริงเป็น เท็จ
ก็ต่อเมื่อ มีสมาชิกอย่างน้อยหนึ่งตัวใน U ไปแทนค่า x ใน P(x) แล้ว ทาให้ P(x) เป็นเท็จ

2. x[P(x)] มีค่าความจริงเป็น จริง


ก็ต่อเมื่อ มีสมาชิกอย่างน้อยหนึ่งตัวใน U ไปแทนค่า x ใน P(x) แล้ว ทาให้ P(x) เป็นจริง
x[P(x)] มีค่าความจริงเป็น เท็จ
ก็ต่อเมื่อ นาสมาชิกทุกตัวใน U ไปแทนค่า x ใน P(x) แล้ว ทาให้ P(x) เป็นเท็จ

ข้อสังเกต
1. ถ้า x[P(x)] มีค่าความจริงเป็นจริง แล้ว x[P(x)] มีค่าความจริงเป็นจริง
2. ถ้า x[P(x)] มีค่าความจริงเป็นเท็จ แล้ว เราไม่สามารถสรุปเกี่ยวกับค่าความจริงของ
x[P(x)] ได้
3. ถ้า x[P(x)] มีค่าความจริงเป็นเท็จ แล้ว x[P(x)] มีค่าความจริงเป็นเท็จ
4. ถ้า x[P(x)] มีค่าความจริงเป็นจริง แล้ว เราไม่สามารถสรุปเกี่ยวกับค่าความจริงของ
x[P(x)] ได้

ตัวอย่าง 34 จงหาค่าความจริงของประพจน์ที่มีตัวบ่งปริมาณต่อไปนี้
ค่า x ใน U ที่ทาให้ P(x) ค่าความจริง
ประพจน์ เอกภพสัมพัทธ์ U
เป็นจริง เป็นเท็จ ของประพจน์
x[x ≥ 0] {–2, –1, 0, 1, 2}
x[x +1 > x] {–1, 0, 1}
x[x + 1 ≥ x] 

x[ x2 x] 

x[2x 2 + 3x + 1 = 0] 

33
อาจารย์อลงกต วงศ์ศรียา
คณิตศาสตร์เพิม่ เติม 1 ตรรกศาสตร์เบือ้ งต้น

ค่า x ใน U ที่ทาให้ P(x) ค่าความจริง


ประพจน์ เอกภพสัมพัทธ์ U
เป็นจริง เป็นเท็จ ของประพจน์
x[x ≥ 0] {–2, –1, 0, 1, 2}
x[x +1 > x] {–1, 0, 1}
x[x + 1 ≥ x] 

x[ x2 x] 

x[2x 2 + 3x + 1 = 0] 

ตัวอย่าง 35 จงหาค่าความจริงของประพจน์ต่อไปนี้ เมื่อกาหนดให้ U = {–2, –1, 0, 1 , 2}


(1) x[– x 6 x] (2) x[ x2 2x ]

x2 4
(3) x[ x 2] (4) x[ x3 6 x]
x 2

(5) x[x < 0  –x > 0 ] (6) x[ x2 1 0  x<0]

(7) x[ |x| ≤ 1  x + x = x2 ] (8) x[ x3 0  x>0]

(9) x[|x| > 1]  x[ x2 x] (10) x[ x2 x]  x[ x + 2 = 0]

(11) x[ 2x ≥ 1 ]  x[ 2 x = 2x ] (12) x[x – 5 = 5 – x]  x[ x4 1 0]

34
อาจารย์อลงกต วงศ์ศรียา
คณิตศาสตร์เพิม่ เติม 1 ตรรกศาสตร์เบือ้ งต้น

8.2 ค่าความจริงของประพจน์ที่มีตัวบ่งปริมาณ 2 ตัว


ให้ P(x,y) แทนประโยคเปิดที่มี x และ y เป็นตัวแปร และ U แทนเอกภพสัมพัทธ์
1. xy[P(x,y)] มีค่าความจริงเป็น จริง
ก็ต่อเมื่อ ค่าของ x และ y ใน U ทุกๆคู่ ทาให้ P(x,y) เป็นจริง
xy[P(x,y)] มีค่าความจริงเป็น เท็จ
ก็ต่อเมื่อ มีค่าของ x และ y ใน U อย่างน้อยหนึ่งคู่ ทาให้ P(x,y) เป็นเท็จ
2. xy[P(x,y)] มีค่าความจริงเป็น จริง
ก็ต่อเมื่อ มีค่าของ x และ y ใน U อย่างน้อยหนึ่งคู่ ทาให้ P(x,y) เป็นจริง
xy[P(x,y)] มีค่าความจริงเป็น เท็จ
ก็ต่อเมื่อ ค่าของ x และ y ใน U ทุกๆคู่ ทาให้ P(x,y) เป็นเท็จ
3. xy[P(x,y)] มีค่าความจริงเป็น จริง
ก็ต่อเมื่อ เมื่อแต่ละค่าของ x ใน U จะต้องมี y อย่างน้อยหนึ่งตัวใน U ที่ทาให้
P(x,y) เป็นจริง
xy[P(x,y)] มีค่าความจริงเป็น เท็จ
ก็ต่อเมื่อ มี x ใน U อย่างน้อยหนึ่งค่า ที่ไม่สามารถหาค่า y ใน U ที่ทาให้ P(x,y)
เป็นจริงได้เลย
4. xy[P(x,y)] มีค่าความจริงเป็นจริง
ก็ต่อเมื่อ มี x ใน U อย่างน้อยหนึ่งค่า ที่ทาให้ P(x,y) เป็นจริง ทุกๆค่า y ใน U
xy[P(x,y)] มีค่าความจริงเป็นจริง
ก็ต่อเมื่อ ไม่มี x ใน U แม้แต่ตัวเดียว ที่ทาให้ P(x,y) เป็นจริง ทุกๆค่า y ใน U

สรุป เพื่อให้เห็นภาพพจน์ของประพจน์ที่มีค่าความจริงเป็นจริงทั้ง 4 แบบ ให้นักเรียนพิจารณาโครงสร้างดังนี้


ถ้า U = {a, b, b} และ P(x,y) คือประโยคเปิด
คูท่ ี่ x y P(x, y) *** การตรวจสอบประพจน์ ***
1 a P(a, a)
1. xy[P(x,y)] เป็นจริง เมื่อทั้ง 9 คู่ทาให้
ชุดที่ 1 2 a b P(a,b)
3 c P(a, c) P(x, y) เป็นจริง
4 a P(b, a) 2. xy[P(x,y)] เป็นจริง เมื่อทั้ง 9 คู่ มีอย่าง
ชุดที่ 2 5 b b P(b,b)
น้อยหนึ่งคู่ ทาให้ P(x, y) เป็นจริง
6 c P(b, c)
7 a P(c, a) 3. xy[P(x,y)] เป็นจริง เมื่อทั้งสามชุด แต่ละ
ชุดที่ 3 8 c b P(c,b)
ชุดมีอย่างน้อยหนึ่งคู่ ทาให้ P(x, y) เป็นจริง
9 c P(c, c)
4. xy[P(x,y)] เป็นจริง เมื่อมีอย่างน้อยหนึ่งชุด
ที่ทุกคู่ในชุดนั้น ทาให้ P(x, y) เป็นจริง

35
อาจารย์อลงกต วงศ์ศรียา
คณิตศาสตร์เพิม่ เติม 1 ตรรกศาสตร์เบือ้ งต้น

ตัวอย่าง 36 กาหนดให้ U = {–1, 0, 1}


จะได้จานวนกรณที่ต้องพิจารณาทั้งหมด 9 กรณีดังนี้
คู่ที่ x y P(x, y)
1 –1 P(–1, –1)
ชุด A 2 –1 0 P(–1,0)
3 1 P(–1, 1)
4 –1 P(0, –1)
ชุด B 5 0 0 P(0,0)
6 1 P(0, 1)
7 –1 P(1, –1)
ชุด C 8 1 0 P(1,0)
9 1 P(1, 1)
จงหาค่าความจริงของประพจน์ต่อไปนี้
คู่ x และ y ที่ทาให้ P(x,y) ค่าความจริง
ประพจน์
เป็นจริง เป็นเท็จ ของประพจน์
xy[ x2 y2 1 ]
xy[ x + y = xy ]
xy[ |x| = y ]
xy[ |x + y| = x + y ]
xy[ x + y < xy]
xy[ x + y2 > 2]

xy[ x2 y y2 x]

xy[xy = y]

ตัวอย่าง 37 จงหาค่าความจริงของประพจน์ต่อไปนี้ เมื่อกาหนดเอกภพสัมพัทธ์ในแต่ละข้อ


(1) xy[x + y2 7] ; U = {3, 4, 5}

(2) xy[x + y < xy] ; U = {0, 1, 2}

36
อาจารย์อลงกต วงศ์ศรียา
คณิตศาสตร์เพิม่ เติม 1 ตรรกศาสตร์เบือ้ งต้น

(3) xy[ (x y)2 x2 2xy y2 ] ; U=

(4) xy[ x  ] ; U = {–2, –5, 6, 9}


y

(5) xy[x+ y = xy] ; U = 

(6) xy[x + y ≤ y] ; U = {1, 2, 3, …}

(7) xy[ (x y)2 x2 y2 ] ; U = {–1, 0, 1}

(8) xy[xy =1] ; U = 

(9) yx[y – x 2 > 5] ; U = 

(10) xy[x + y = y] ; U = {0, 1, 2, 3}

(11) xy[xy = y] ; U = {0, 3, 4}

(12) yx[ x y2 > 5] ; U=

37
อาจารย์อลงกต วงศ์ศรียา
คณิตศาสตร์เพิม่ เติม 1 ตรรกศาสตร์เบือ้ งต้น

9. การสมมูลของประพจน์ที่มีตัวบ่งปริมาณ
การสมมูลกันของประโยคเปิด
กาหนดเอกภพสัมพัทธ์ U และกาหนดประโยคเปิด P(x) , Q(x) และ R(x) จะได้รูปแบบของประโยคเปิดที่
สมมูลกัน จะมีรูปแบบที่เหมือนกับรูปแบบของประพจน์ที่สมมูลกัน ดังตารางนี้

รูปแบบของประพจน์ที่สมมูลกัน รูปแบบของประโยคเปิดที่สมมูลกัน
E 1. (p)  p E 1. (P(x))  P(x)
E 2. pqqp E 2. P(x)  Q(x)  Q(x)  P(x)
E 3. pq qp E 3. P(x)  Q(x)  Q(x)  P(x)
E 4. pq qp E 4. P(x)  Q(x)  Q(x)  P(x)
E 5. (p  q)  r  p  (q  r) E 5. [P(x)  Q(x)]  R(x)  P(x)  [Q(x) R(x)]
E 6. (p  q)  r  p  (q  r) E 6. [P(x)  Q(x)]  R(x)  P(x)  [Q(x)  R(x)]
E 7. (p  q)  r  p  (q  r) E 7. [P(x)  Q(x)]  R(x)  P(x)  [Q(x)  R(x)]
E 8. p  (q  r)  (p  q)  (p  r) E 8. P(x)[Q(x) R(x)]  [P(x)  Q(x)]  [P(x)  R(x)]
(q  r)  p  (q  p)  (r  p) [Q(x)  R(x)]  P(x)  [Q(x)  P(x)]  [R(x)  P(x)]
E 9. p  (q  r)  (p  q)  (p  r) E 9. P(x)  [Q(x)  R(x)]  [P(x)  Q(x)]  [P(x)  R(x)]
(q  r)  p  (q  p)  (r  p) [Q(x)  R(x)]  P(x)  [Q(x)  P(x)]  [R(x)  P(x)]
E 10.p  (q  r)  (p  q)  (p  r) E10. P(x)[Q(x)  R(x)]  [P(x)Q(x)]  [P(x)R(x)]
p  (q  r)  (p  q)  (p  r) P(x)[Q(x)  R(x)]  [P(x)Q(x)]  [P(x)R(x)]
E 11.(p  q)  r  (p  r)  (q  r) E 11.[P(x)  Q(x)]R(x)  [P(x)R(x)]  [Q(x)R(x)]
(p  q)  r  (p  r)  (q  r) [P(x)  Q(x)]R(x)  [P(x)R(x)]  [Q(x)R(x)]
E 12. p  q  p  q  q  p E 12. P(x)  Q(x)  P(x)  Q(x)
E 13. p  q  p  q  Q(x)  P(x)
 (p  q)  (q  p) E 13. P(x)  Q(x)  P(x)  Q(x)
E 14. (p  q)  p  q  (P(x)  Q(x))  (Q(x)  P(x))
E 15. (p  q)  p  q E 14. [P(x)  Q(x)]  P(x)  Q(x)
E 16. (p  q)  p  q E 15. [P(x)  Q(x)]  P(x)  Q(x)
E 17.(p  q)  p  q E 16. [P(x)  Q(x)]  P(x)  Q(x)
 p  q E 17.[P(x)  Q(x)]  P(x)  Q(x)  P(x)  Q(x)
E 18. p  p  p E 18. P(x)  P(x)  P(x)
E 19. p  p  p E 19. P(x)  P(x)  P(x)
E 20. p  T  p E 20. P(x)  T  P(x)
E 21. p  F  p E 21. P(x)  F  P(x)
E 22. T  p  p E 22. T  P(x)  P(x)
E 23. p  F  p E 23. P(x)  F  P(x)
E 24. p  T  p E 24. P(x)  T  P(x)
E 25. p  F  p E 25. P(x)  F  P(x)

38
อาจารย์อลงกต วงศ์ศรียา
คณิตศาสตร์เพิม่ เติม 1 ตรรกศาสตร์เบือ้ งต้น

การสมมูลกันของประพจน์ที่มีตัวบ่งปริมาณ
รูปแบบของประโยคเปิดที่สมมูลกัน ถ้าเติมตัวบ่งปริมาณชนิดเดียวกันไว้ข้างหน้ารูปแบบของ
ประโยคเปิดดังกล่าว จะได้ประพจน์ที่สมมูลกัน
ตัวอย่างเช่น
(1) ให้ P(x) และ Q(x) แทนประโยคเปิด
เราทราบว่า P(x)  Q(x)  P(x)  Q(x)
จะได้ว่า x[P(x)  Q(x)]  x[~P(x)  Q(x)]
x[P(x)  Q(x)]  x[~P(x)  Q(x)]
(2) ให้ P(x, y) และ Q(x, y) แทนประโยคเปิด
เราทราบว่า P(x, y)  Q(x, y)  P(x, y)  Q(x, y)
จะได้ว่า xy[P(x, y)  Q(x, y)]  xy[~P(x, y)  Q(x, y)]
xy[P(x, y)  Q(x, y)]  xy[~P(x, y)  Q(x, y)]
เป็นต้น

ตัวอย่าง 38 กาหนดเอกภพสัมพัทธ์ U และกาหนดประโยคเปิด P(x) , Q(x) และ R(x)


ประโยคใดต่อไปนี้สมมูลกัน
(1) x[P(x)  (Q(x)  R(x))] กับ x[(P(x)  Q(x))  (P(x)  R(x))]

(2) x[P(x)  (Q(x)  R(x))] กับ x[(Q(x)  R(x))  P(x)]

(3) x[(P(x)  Q(x))  R(x)] กับ x[R(x)  (Q(x)  P(x))]

(4) x[P(x)]  x[Q(x)] กับ x[Q(x)]  x[P(x)]

(5) (x[P(x)]  x[Q(x)])  x[R(x)] กับ x[P(x)]  (x[Q(x)]  x[R(x)])

39
อาจารย์อลงกต วงศ์ศรียา
คณิตศาสตร์เพิม่ เติม 1 ตรรกศาสตร์เบือ้ งต้น

10. นิเสธของประพจน์ที่มีตัวบ่งปริมาณ
นิเสธของประโยคเปิด
ประโยคเปิด Q(x) จะเรียกว่า เป็นนิเสธของประโยคเปิด P(x) ก็ต่อเมื่อ
ถ้าแทนค่า x ด้วยสมาชิกทุกตัวใน U แล้วทาให้ Q(x) เป็นนิเสธของประพจน์ P(x)
นั่นคือ สาหรับ x ทุกตัวใน U ทาให้ค่าความจริงของ Q(x) และ P(x) ต่างกัน

สัญลักษณ์ นิเสธของประโยคเปิด P(x) เขียนแทนด้วย P(x)

สิ่งที่ควรจา : คู่นิเสธในคณิตศาสตร์
ความสัมพันธ์ = > <   หารลงตัว
นิเสธของความสัมพันธ์ ≠ ≤ ≥   หารไม่ลงตัว

ตัวอย่าง 39 จงหานิเสธของประโยคเปิดต่อไปนี้

ประโยคเปิด นิเสธประโยคเปิด
x < x +1
x = |x|
x +y ≠ 5
x2 y2
≥ 1
x หาร ด้วย y ลงตัว
xy เป็นจานวนเต็ม
x
เป็นจานวนตรรกยะ
y
x + y ไม่เป็นจานวนเต็ม
{x}  {x, y}
{x}  P({x, y})
x  {1, 2, 3, 4}

40
อาจารย์อลงกต วงศ์ศรียา
คณิตศาสตร์เพิม่ เติม 1 ตรรกศาสตร์เบือ้ งต้น

นิเสธของประพจน์ที่มีตัวบ่งปริมาณ

1. นิเสธของ x[P(x)] คือ x[P(x)]


แต่ x[P(x)] มีความหมายเหมือนกับ x[P(x)]
นั่นคือ x[P(x)]  x[~P(x)]

2. นิเสธของ x[P(x)] คือ x[P(x)]


แต่ x[P(x)] มีความหมายเหมือนกับ x[P(x)]
นั่นคือ x[P(x)]  x[~P(x)]

3. นิเสธของ xy[P(x, y)] คือ xy[P(x, y)]


แต่ xy[P(x, y)] มีความหมายเหมือนกับ xy[P(x, y)]
นั่นคือ xy[P(x, y)]  xy[~P(x, y)]

4. นิเสธของ xy[P(x, y)] คือ xy[P(x, y)]


แต่ xy[P(x, y)] มีความหมายเหมือนกับ xy[P(x, y)]
นั่นคือ xy[P(x, y)]  xy[~P(x, y)]

5. นิเสธของ xy[P(x, y)] คือ xy[P(x, y)]


แต่ xy[P(x, y)] มีความหมายเหมือนกับ xy[P(x, y)]
นั่นคือ xy[P(x, y)]  xy[~P(x, y)]

6. นิเสธของ xy[P(x, y)] คือ xy[P(x, y)]


แต่ xy[P(x, y)] มีความหมายเหมือนกับ xy[P(x, y)]
นั่นคือ xy[P(x, y)]  xy[~P(x, y)]

ข้อสังเกต : จากตารางนักเรียนจะพบว่า
การหานิเสธของประพจน์ที่มีตัวบ่งปริมาณ เพียงแต่เปลี่ยน  เป็น  และ เปลี่ยน  เป็น 
จากนั้นใส่  หน้าประโยคเปิด เช่น
นิเสธของ x[P(x)] หาได้โดยเปลี่ยน x เป็น x แล้วใส่  หน้าประโยคเปิด P(x)
นิเสธของ xy[P(x,y)] หาได้โดยเปลี่ยน xy เป็น xy แล้วใส่  หน้าประโยคเปิด P(x, y)

41
อาจารย์อลงกต วงศ์ศรียา
คณิตศาสตร์เพิม่ เติม 1 ตรรกศาสตร์เบือ้ งต้น

ตัวอย่าง 40 จหานิเสธของประพจน์ต่อไปนี้
ประพจน์ นิเสธประพจน์
(1) x[x + 4 ≤ 10]
(2) x[4x > 9]
(3) x[x +1 = 0]
(4) x[x หารด้วย 5 ลงตัว]
(5) xy[ x2 y2 > 5]

(6) xy[x < y + x]


(7) xy[ x2 2xy y2 x y]

(8) xy[xy เป็นจานวนคู]่


(9) x[x < 1  x2 1]

(10) x[x ≤ 1  x2 ≥ 1]
3
(11) x[ x2 |x| x3 x]

(12) x[x + x = x2  x = 2]
(13) x[ x2 0 ]  x[|x| ≥ 0]

(14) x[x  ]  x[x  ]

(15) x[x  ]  x[x + 1 ≤ x]

(16) x[x + 2 = 4]  x[ x – 2 ≠ 0]


(17) xy[x + y    xy  ]

(18) xy[xy < 0  x +y < 0]


(19) xy[xy = y  x +y = y]
(20) xy[x + y ≠ 0  xy ≠ 1]
(21) xy[xy = 1]  xy[xy = y]
(22) xy[x + y ]  xy[xy  ]

42
อาจารย์อลงกต วงศ์ศรียา
คณิตศาสตร์เพิม่ เติม 1 ตรรกศาสตร์เบือ้ งต้น

ตัวอย่าง 41 จงหานิเสธของข้อความต่อไปนี้
(1) จานวนจริงทุกจานวนเป็นจานวนตรรกยะ

(2) จานวนนับทุกจานวนเป็นจานวนเต็ม

(3) จานวนเต็มทุกจานวนไม่เป็นจานวนอตรรกยะ

(4) มีจานวนจริงบางจานวนเป็นจานวนตรรกยะ

(5) มีจานวนเต็มบางจานนไม่เป็นจานวนคู่

(6) จานวนจริงทุกจานวน เป็นจานวนตรรกยะ หรือเป็นจานนอตรรกยะ

(7) มีจานวนเต็มบางจานวนที่เป็นจานวนคู่ และเป็นจานวนคี่

(8) สาหรับ x ทุกตัว ถ้า x เป็นจานวนคี่แล้ว x เป็นจานวนเฉพาะ

(9) มีจานวนจริงบางจานวนที่เป็นจานวนคี่ แต่ไม่เป็นจานวนเฉพาะ

(10) มีนักเรียนในห้องนี้อย่างน้อยหนึ่งคน ที่สอบเข้ามหาวิทยาลัยได้

ตัวอย่าง 42 จงตรวจสอบว่าประพจน์ที่มีตัวบ่งปริมาณในแต่ละข้อต่อไปนี้ สมมูลกันหรือไม่


(1) x[P(x)]  x[Q(x)] กับ x[P(x)]  x[Q(x)]

(2) x[P(x)  (Q(x)  R(x)]] กับ x[(P(x)  Q(x))  R(x)]

(3) x[x < 0  x2 > 0] กับ x[x < 0  x2 ≤ 0]

(4) x[x    x + 2 = 5] กับ x[x +2 ≠ 5  x  ]

43
อาจารย์อลงกต วงศ์ศรียา
คณิตศาสตร์เพิม่ เติม 1 ตรรกศาสตร์เบือ้ งต้น

โจทย์ฝึกประสบการณ์เพิ่มเติม
คาชี้แจง : จงเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุด
1. ให้ p แทน 22 เป็นจานวนคู่ q แทน 213 เป็นจานวนคี่
r แทน 215 เป็นจานวนคี่ s แทน 24 เป็นจานวนคู่
พิจารณาข้อความต่อไปนี้
ก. ประพจน์ [(p  q)  r]  (p  s) มีค่าความจริงเป็นจริง
ข. ประพจน์ [~(p  ~s)]  (q  ~r) มีค่าความจริงเป็นจริง
ข้อใดต่อไปนี้ถูก
1. ก. ถูก และ ข. ถูก 2. ก. ผิด และ ข. ถูก
3. ก. ถูก และ ข. ผิด 4. ก. ผิด และ ข. ผิด
2. ถ้ากาหนดให้ p  q, p  r และ ~r เป็นข้อความที่มีค่าความจริงเป็นจริง
แล้วข้อใดต่อไปนี้มีค่าความจริงเป็นเท็จ
1. [~(p  q)]  (~p  r) 2. (p  r)  (q  ~p)
3. [~p  (p  r)]  q 4. [q  (r  p)]  p
3. กาหนดค่าความจริงของ [p  (q  r)]  (q  r) เป็นเท็จ
ประพจน์ใดต่อไปนี้มีค่าความจริงเป็นจริง
1. (p  ~q)  (q  ~r) 2. (q  ~r)  (r  ~p)
3. (r  ~p)  (p  ~q) 4. (p  ~r)  (r  ~q)
4. กาหนดให้ (p  q)  ~(p  r) มีค่าความจริงเป็นจริง
จงพิจารณาค่าความจริงของประพจน์ต่อไปนี้
ก. p  (q  r) ข. p  (q  r)
ข้อใดต่อไปนี้ถูก
1. ก. และ ข. จริง 2. ก. เท็จ และ ข. จริง
3. ก. จริง และ ข. เท็จ 4. ก. และ ข. เท็จ
5. กาหนดข้อความ “ถ้า A  B และ B  C แล้ว A  C ” ตัวอย่างของเซต A, B และ C
ในข้อใดต่อนี้ที่ทาให้ข้อความมีค่าความจริงเป็นเท็จ
1. A = , B = {}, C = 
2. A = , B = , C = {}
3. A = , B = {}, C = {{}}
4. A = , B = {}, C = {, {}}

44
อาจารย์อลงกต วงศ์ศรียา
คณิตศาสตร์เพิม่ เติม 1 ตรรกศาสตร์เบือ้ งต้น

6. ให้ Δ เป็นตัวเชื่อมของประพจน์ที่กาหนด โดยตาราง


p q pq ถ้า p มีค่าความจริงเป็น T
T T F q มีค่าความจริงเป็น F
T F T r เป็นประพจน์ใด ๆ
F T T แล้วประพจน์ [~(p  q)]  [(~r)  r] มีค่าความจริง
F F F ตรงกับข้อใด

1. T
2. F
3. ไม่ทราบค่าความจริงแน่นอน เพราะไม่ทราบค่าความจริงของ r
4. มีค่าความจริงเหมือนกับค่าความจริงของ (~p)  q
7. ถ้า p, q และ r เป็นประพจน์โดยที่ ~p  q และ (p  q)  r มีค่าความจริงเป็นจริงทั้งคู่
พิจารณา
ก. p  (~r  q) มีค่าความจริงเป็นจริง
ข. (q  ~r)  p มีค่าความจริงเป็นจริง
ข้อใดต่อไปนี้ถูก
1. ก. ถูก และ ข. ถูก 2. ก. ผิด และ ข. ถูก
3. ก. ถูก และ ข. ผิด 4. ก. ผิด และ ข. ผิด
8. ให้ p, q, r, x และ y เป็นประพจน์ ซึ่ง
p  (q  r) มีค่าความจริงเป็นเท็จ
(x  y)  (~q  ~r) มีค่าความจริงเป็นจริง
ประพจน์ในข้อใดต่อไปนี้มีค่าความจริงเป็นจริง
1. (p  r)  (y  q) 2. (x  y)  (p  q)
3. x  (q  r) 4. (q  r)  ((x  y)  p)
9. ให้ p, q และ r เป็นประพจน์
พิจารณาข้อความต่อไปนี้
ก. ถ้า [(p  ~r)  q]  ~(p  q) เป็นเท็จ แล้ว (p  q)  r เป็นจริง
ข. ถ้า q  ~r เป็นเท็จ แล้ว [p  (q  r)]  ~q เป็นเท็จ
ข้อใดต่อไปนี้ถูก
1. ก. ถูก และ ข. ถูก 2. ก. ผิด และ ข. ถูก
3. ก. ถูก และ ข. ผิด 4. ก. ผิด และ ข. ผิด

45
อาจารย์อลงกต วงศ์ศรียา
คณิตศาสตร์เพิม่ เติม 1 ตรรกศาสตร์เบือ้ งต้น

10. ให้ S เป็นเซตของประพจน์ และ f : S  {0, 1} กาหนดโดย


0 ถ้า p มีค่าความจริงเป็นเท็จ
f(p) =
1 ถ้า p มีค่าความจริงเป็นจริง
พิจารณาข้อความต่อไปนี้สาหรับประพจน์ p, q ใด ๆ
ก. f(p  q) = |f(p) – f(q)| + f(p)f(q)
ข. f(p  q) = f(p)f(q)
ข้อใดต่อไปนี้ถูก
1. ก. และ ข. จริง 2. ก. เท็จ และ ข. จริง
3. ก. จริง และ ข. เท็จ 4. ก. และ ข. เท็จ
11. ให้ p, q และ r เป็นประพจน์ใด ๆ ข้อความใดต่อไปนี้ถูกต้อง
1. r  (p  ~q) ~(p  q)  r
2. (~p  q)  r (p  q)  r
3. [q  (r  ~r)]  [p  (q  ~q) q
4. (p  q)  r ~r  (~p  ~q)
12. ถ้ากาหนดให้ประพจน์ x  y สมมูลกับประพจน์ y  ~x
ประพจน์ (~p  q)  r สมมูลกับประพจน์ในข้อใดต่อไปนี้
1. (r  p)  (~r  p) 2. (r  p)  (r  ~q)
3. (r  p)  (~r  q) 4. (r  p)  (r  ~q)
13. ข้อความคู่ใดไม่สมมูลกัน
1. p  q และ ~(~p  ~q) 2. ~(p  ~q) และ ~q  ~p
3. ~p  (q  p) และ ~q  p 4. ~p  q และ (~p  q)  (q  ~p)
14. ให้ p และ q เป็นประพจน์ ถ้า p  q เป็นปะพจน์ที่มีค่าความจริงตามตารางข้างล่างนี้
แล้ว ประพจน์ p  q สมมูลกับประพจน์ในข้อใด
p q pq ต่อไปนี้
T T F 1. ~(~p  q)
T F F
2. ~p  q
F T F
3. ~(q  ~p)
F F T
4. q  ~p
15. กาหนดให้ p, q และ r เป็นประพจน์
ประพจน์ ~[(p  q)  (~q  r)] สมมูลกับประพจน์ในข้อใดต่อไปนี้
1. p  ~(q  r) 2. ~q  (~p  r)
3. ~(p  q)  (q  r) 4. ~(p  q)  (q  ~r)

46
อาจารย์อลงกต วงศ์ศรียา
คณิตศาสตร์เพิม่ เติม 1 ตรรกศาสตร์เบือ้ งต้น

16. ข้อความใดต่อไปนี้ไม่ถูกต้อง
1. (p  q)  (p  r) สมมูลกับ (p  ~r)  (p  ~q)
2. (p  ~r)  (p  q) สมมูลกับ (p  ~q)  (p  r)
3. (p  r)  (p  q) สมมูลกับ (p  ~r)  (p  ~q)
4. (p  r)  (p  ~q) สมมูลกับ (p  q)  (p  ~r)
17. กาหนด p  q สมมูลกับ ~(p  q) อัตราส่วนของจานวนกรณีของค่าความจริงของ
p  (q r) เป็นจริงต่อจานวนกรณีของค่าความจริงของ p  (q r) เป็นเท็จ เท่ากับเท่าใด
5 3
1. 2.
8 5
5 8
3. 4.
3 5
18. จงตรวจสอบว่า ประพจน์ที่กาหนดให้เป็นสัจนิรันดร์หรือไม่
(1) ~(p  q)  (~p  ~q) (2) [p  (q  r)]  [q  (p  r)]

(3) ~(p  q)  (p  ~q)

19. ประพจน์ใดต่อไปนี้ไม่เป็นทอโทโลยี
1. [((p  q)  r)  (p  q)]  (p  r)
2. [(p  q)  (q  r)]  (p  r)
3. [p  (q  r)]  [(p  q)  r]
4. [p  (q  r)]  [(p  q)  r]
20. กาหนด p, q, r และ s เป็นประพจน์ ประพจน์ในข้อใดต่อไปนี้ ไม่เป็น สัจนิรันดร์
1. [p  (q  r)]  [(p  q)  (p  r)]
2. [p  (q  r)]  ~[p  (q  r)]
3. [(p  q)  r]  [~r  (~p  ~q)]
4. [(p  q)  (q  r)  (s  ~r)  ~s]  p
21. ให้ p, q และ r เป็นประพจน์ ประพจน์ในข้อใดต่อไปนี้ ไม่เป็น สัจนิรันดร์
1. (p  q)  [~r  (p  q)]
2. p  (~p  q)  (~q  r)  ~r
3. (p  q)  (q  r)  (~p  ~q)
4. [(p  q)  r]  {(~p  q)  (~r  p)]
47
อาจารย์อลงกต วงศ์ศรียา
คณิตศาสตร์เพิม่ เติม 1 ตรรกศาสตร์เบือ้ งต้น

22. ให้ p, q และ r เป็นประพจน์


พิจารณาข้อความต่อไปนี้
ก. (p  q)  [(p  r)  (q  r)] เป็นสัจนิรันดร์
ข. ถ้า (p  q)  ~(r  q) มีค่าความจริงเป็นจริง แล้ว q จะมีค่าความจริงเป็นเท็จเสมอ
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
1. ก. ถูก และ ข. ถูก 2. ก. ผิด และ ข. ถูก
3. ก. ถูก และ ข. ผิด 4. ก. ผิด และ ข. ผิด
23. ให้ A, B และ C เป็นประพจน์ใด ๆ ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
1. ถ้า A เป็นประพจน์ที่ประกอบด้วย 3 ประพจน์ย่อย และ B เป็นประพจน์ที่ประกอบด้วย 2
ประพจน์ย่อยแล้ว ไม่มีกรณีที่ A สมมูลกับ B เลย
2. ถ้า A สมมูลกับ B แล้ว (A  C)  (B  C) เป็นสัจนิรันดร์
3. ถ้า A  C สมมูลกับ B  C แล้ว A สมมูลกับ B
4. ถ้า A สมมูลกับ B แล้ว (~A  ~C)  (~B  ~C) เป็นสัจนิรันดร์
24. จงหาค่าความจริงของประพจน์ต่อไปนี้
1. x[x2 > 4] เมื่อ U = {–4, –3, 3, 4}
2. x[x2 – 2x – 3 = 0] เมื่อ U = {0, 1, 2, 3}
3. x[(x2 + 4)(x – 5) < 0] เมื่อ U =  –
 x2  x  6 
4. x   0 เมื่อ U = [2, )
 x 
25. กาหนดให้เอกภพสัมพัทธ์ U = {x   | x  0} ข้อใดต่อไปนี้มีค่าความจริงเป็นเท็จ
1. x[x3 = 3x] 2. x[|x| = x]
3. x[3x + 1 > 2] 4. x  2  x 
x 
26. ให้ U = {x   | |x – 1|  2} ข้อใดต่อไปนี้มีค่าความจริงเป็นจริง
1. x[x2 – 3 < 6] 2. x[1 < x + 2 < 5]
3. x[|x + 2| < 2 – x] 4. x[ x > 2]
27. ถ้าเอกภพสัมพัทธ์คือเซตของจานวนจริง แล้วประโยคใดต่อไปนี้มีค่าความจริงเป็นจริง
1. x[10x  102x] 2. x[(0.1)x  (0.1)2x]
3. x[log x  log 2x] 4. x[ log0.1 x  log0.1 2x ]
28. กาหนดเอกภพสัมพัทธ์ U = {1, –1, i, –i} โดยที่ i = 1 ข้อใดมีค่าความจริงเป็นเท็จ
1. z[z 2 = 1] 2. z[z 36 = 1]
3. z  1  z  4. z[z 2 – z = 0]
z 

48
อาจารย์อลงกต วงศ์ศรียา
คณิตศาสตร์เพิม่ เติม 1 ตรรกศาสตร์เบือ้ งต้น

29. ให้  แทนเซตของจานวนจริง และ  แทนเซตของจานวนเชิงซ้อน


เซตในข้อใดต่อไปนี้เป็นเอกภพสัมพัทธ์ที่ทาให้ประพจน์ x[x4 + 3x2 – 10 = 0]
มีค่าความจริงเป็นเท็จ
1. เซตของจานวนอตรรกยะ 2. {x   | |x| > 2}
3. {z   | 1  |z| < 2} 4. {z   | 2  |z| < 3}
30. พิจารณาข้อความต่อไปนี้ เมื่อเอกภพสัมพัทธ์คือเซตของจานวนจริง
ก. x(cot 2x – cot x = 0)
ข. x(sin 4 x + cos 4 x = 1 – 1 sin 2 2x)
2
ค่าความจริงของ ข้อความ ก. และ ข้อความ ข. เป็นไปตามข้อใดต่อไปนี้
1. ก. และ ข. จริง 2. ก. เท็จ และ ข. จริง
3. ก. จริง และ ข. เท็จ 4. ก. และ ข. เท็จ
31. ให้ U = {0, 1, 2, 3, 4}
P(x) แทน x เป็นพหุคูณของ 3
Q(x) แทน x เป็นจานวนเฉพาะ
R(x) แทน x หาร 36 ลงตัว
ประพจน์ใดต่อไปนี้มีค่าความจริงเป็นเท็จ
1. x[P(x)  Q(x)] 2. x[R(0)  ~P(x)]
3. x[Q(x)  P(1)] 4. x[R(x)  (P(0)  Q(1))]
32. ประพจน์ต่อไปนี้เป็นสัจนิรันดร์หรือไม่
ก. [(p  q)  (q  r)]  (p  r) เมื่อ p, q และ r เป็นประพจน์ใด ๆ
ข. x[x  0  –x < 0] ; U = 
1. ก. และ ข. เป็น 2. ก. เป็น และ ข. ไม่เป็น
3. ก. ไม่เป็น และ ข. เป็น 4. ก. และ ข. ไม่เป็น
33. ให้  เป็นเซตของจานวนจริง  เป็นเซตของจานวนตรรกยะ
 เป็นเซตของจานวนเต็ม และ U=
ข้อความใดต่อไปนี้มีค่าความจริงเป็นจริง
2
1. x[x    x > 2 ]  x[x > 9  x > 3]
2. x[x    |x + 3| > 8]
3. {x | x   และ x มีตัวเศษเป็น 0} เป็นเซตอนันต์  x[x2  x  x2 + x + 1 = 0]
4. x[ x3 + 5x – 1 < 4]  x[| x2 – 1| < 0  x  –2]

49
อาจารย์อลงกต วงศ์ศรียา
คณิตศาสตร์เพิม่ เติม 1 ตรรกศาสตร์เบือ้ งต้น

39. จงหานิเสธของประพจน์ต่อไปนี้
(1) x[x2 > 4] (2) x[x2 + 1  x + 7]

(3) xy[x2 + y2 = 5] (4) xy[x + y < 4]

(5) xy[x – y = 7] (6) xy[2x – y > 8]

37. นิเสธของข้อความ x[P(x)  ~Q(x)] คือข้อใด


1. ~x[~P(x)  Q(x)] 2. x[P(x)  ~Q(x)]
3. x[P(x)  Q(x)] 4. x[~(~P(x)  ~Q(x))]
38. ให้เอกภพสัมพัทธ์คือเซตของจานวนจริง
พิจารณาข้อความต่อไปนี้
ก. x x  0  2log4 x  | x |
2

 
ข. ~ x 2x  3x 1 
 
ข้อใดต่อไปนี้ถูก
1. ก. จริง และ ข. จริง 2. ก. จริง และ ข. เท็จ
3. ก. เท็จ และ ข. จริง 4. ก. เท็จ และ ข. เท็จ
39. กาหนดให้เอกภพสัมพัทธ์เป็นเซตของจานวนจริง และ p แทนประพจน์
“สาหรับจานวนจริงบวก x ใด ๆ ผลบวกของ x กับ 1 มีค่ามากกว่า 1”
x
พิจารณาข้อความต่อไปนี้
ก. p สมมูลกับ x x  0   x  1 
 1  
  x 
ข. p มีค่าความจริงเป็นจริง
ข้อใดต่อไปนี้ถูก
1. ก. ถูก และ ข. ถูก 2. ก. ผิด และ ข. ถูก
3. ก. ถูก และ ข. ผิด 4. ก. ผิด และ ข. ผิด
40. นิเสธของข้อความ x y[xy < 0  (x < 0  y < 0)] คือข้อความในข้อใดต่อไปนี้
1. x y[(xy  0  (x < 0  y < 0)]
2. x y[xy < 0  (x  0  y  0)]
3. x y[(xy  0)  (x < 0  y < 0)]
4. x y[(xy < 0)  (x  0  y  0)]

50
อาจารย์อลงกต วงศ์ศรียา
คณิตศาสตร์เพิม่ เติม 1 ตรรกศาสตร์เบือ้ งต้น

41. นิเสธของข้อความ x y[(xy = 0  x  0)  y = 0] สมมูลกับข้อความในข้อใดต่อไปนี้


1. x y[(xy = 0  x = 0)  y  0]
2. x y[(xy  0  x = 0)  y = 0]
3. x y[(xy = 0  x  0)  y  0]
4. x y[(xy  0  x = 0)  y = 0]
42. จงตรวจสอบว่าการอ้างเหตุผลต่อไปนี้สมเหตุสมผลหรือไม่
(1) เหตุ 1. ~t  ~r (2) เหตุ 1. ~r  (s  ~t)
2. ~s 2. ~r  w
3. t  w 3. ~p  s
4. r  s 4. ~w
ผล w ผล tp

(3) เหตุ 1. นายแดงชอบไปเที่ยวหรือชอบทานอาหาร


2. ถ้านายแดงชอบไปเที่ยวแล้วนายแดงจะไม่ดูหนังสือ
3. นายแดงดูหนังสือ
ผล นายแดงชอบทานอาหารแต่ไม่ชอบไปเที่ยว

43. พิจารณาข้อความต่อไปนี้
ก. เหตุ 1. นายสมหมายเป็นคนขยันหรือนายสมหมายสอบได้ที่หนึ่งของห้อง
2. นายสมหมายเป็นคนไม่ขยัน
ผล นายสมหมายสอบได้ที่หนึ่งของห้อง

ข. เหตุ 1. ถ้าสมศรีไปเที่ยวชายทะเลแล้วสมศรีไม่สบาย
2. สมศรีไม่สบาย
ผล สมศรีไปเที่ยวทะเล
การอ้างเหตุผลในข้อ ก. และ ข. ข้างต้น สมเหตุสมผลหรือไม่
1. ก. สมเหตุสมผล และ ข. สมเหตุสมผล
2. ก. สมเหตุสมผล และ ข. ไม่สมเหตุสมผล
3. ก. ไม่สมเหตุสมผล และ ข. สมเหตุสมผล
4. ก. ไม่สมเหตุสมผล และ ข. ไม่สมเหตุสมผล

51
อาจารย์อลงกต วงศ์ศรียา

You might also like