You are on page 1of 9

บทที่ 5

Torsion
วัตถุประสงค
MECHANICS OF MATERIALS 1. เพื่อใหทราบและเขาใจถึงการเปลีย่ นแปลงรูปรางของเพลากลม
เนื่องจากการบิด (torsion)
By 2. เพื่อใหสามารถวิเคราะหชิ้นสวนของโครงสรางที่รับแรงบิดแบบ
Assoc. Prof. Dr. Sittichai Seangatith statically determinate และแบบ statically indeterminate เพื่อหา
SCHOOL OF CIVIL ENGINEERING หนวยแรงเฉือน (shear stress) และมุมบิด (angle of rotation) ได
INSTITUTE OF ENGINEERING 3. เพื่อใหสามารถวิเคราะห (analysis) และออกแบบ (design) เพลาสง
SURANAREE UNIVERSITY OF TECHNOLOGY กําลังได

5.1 การเปลี่ยนแปลงรูปรางของเพลากลมภายใตแรงบิด
เพลาทําดวยวัสดุ isotropic และ homogeneous มีพฤติกรรมอยูในชวง
linear elastic และสามารถเปลี่ยนแปลงรูปรางได
ถามุมบิดมีคานอยแลว ความยาวและรัศมีของเพลาจะไมมีการเปลี่ยนแปลง
ภายใตแรงบิด

5.2 สมการแรงบิด (torsion formula)


หนวยแรงเฉือนในเพลาหนาตัดกลมทําดวยวัสดุ isotropic and homogeneous
material และมีพฤติกรรมอยูในชวง linear elastic ภายใตแรงบิดอยูใ นรูป

τ= torsion formula
J
หนวยแรงเฉือนสูงสุด
Tc
τ max =
J

polar moment of inertia ของพื้นที่หนาตัด, J


สําหรับเพลาหนาตัดกลมตัน
π π
J= c4 J= d4
2 32
เพลากลวงมีประสิทธิภาพในการใชวัสดุตานทานตอแรงบิดมากกวาเพลาตัน
เนื่องจากพื้นที่สวนใหญของเพลากลวงอยูหางออกไปจากศูนยกลางของเพลา
π π
J= (co4 − ci4 ) J= (d o4 − d i4 )
2 32

ตัวอยางที่ 5-1 R R
เพลาทั้งสองถูกกระทําโดยแรงบิดที่มีคาเทากัน จงเปรียบเทียบคาหนวย 1 2
แรงเฉือนสูงสุดที่เกิดขึ้น และน้ําหนักของเพลากลวงตอเพลาตัน 0.6R

R R อัตราสวนของหนวยแรงเฉือนสูงสุดที่เกิดขึ้นในเพลากลวงตอเพลาตัน
1 2 (τ max )1 TR 0.5π R 4
= 0.5
= = 1.15
0.6R (τ max ) 2 0.4352π R TR
4
0.4352

Polar moment of inertia ของเพลากลวงและเพลาตัน อัตราสวนของน้ําหนักของเพลากลวงตอเพลาตัน


π (co4 − ci4 ) π (W )1 γ Lπ [ R 2 − (0.6 R ) 2 ]
J1 = = ( R 4 − (0.6 R ) 4 ) = 0.4352π R 4 = = 0.64
2 2 (W ) 2 γ Lπ R 2
π R4
J2 = = 0.5π R 4 สรุป เพลากลวงมีคาหนวยแรงเฉือนสูงสุดมากกวาเพลาตัน 15% แตมี
2
น้ําหนักเบากวาเพลาตันถึง 36%
Example ที่จดุ A
เพลาถูกรองรับโดย bearing และถูกกระทําโดยแรงบิด จงหาคาหนวยแรง
เฉือนที่จดุ A และจุด B บนหนาตัด a-a ของเพลา
A
B

A
ที่จดุ B
B

150 mm
หาแรงบิดภายในที่หนาตัด a-a

Polar moment of inertia ของเพลา

Example
ที่จดุ D
ทอเหล็กกลวงมีเสนผานศูนยกลางภายในและภายนอก 80 mm และ 100
mm จงหาหนวยแรงเฉือนที่เกิดขึ้นทีผ่ ิวดานในและดานนอกของทอ

ที่จดุ E

หาแรงบิดภายในที่หนาตัด C

Polar moment of inertia ของเพลา


5.3 มุมบิด (angle of twist)
เพลาทําดวยวัสดุแบบ homogeneous และ isotropic
วัสดุทที่ าํ เพลามีพฤติกรรมแบบ linear elastic ภายใตแรงบิด
ไมพิจารณา localized deformation

L T TL
φ=∫ dx =
0 JG GJ

polar moment of inertia ของพื้นที่หนาตัด, J


π π
J= c4 J= (co4 − ci4 )
2 2
G = shear modulus of elasticity หาไดจาก
การทดสอบการบิด

คุณสมบัตทิ างกลของวัสดุ
Constant Torque and Cross-Sectional Area Sign Convention

ในกรณีที่เพลาถูกกระทําโดยแรงบิด
หลายแรงบิดตลอดความยาวของเพลา
หรือพื้นที่หนาตัดหรือวัสดุทใี่ ชทํา
เพลามีการเปลี่ยนแปลงจากสวนหนึ่ง
ของเพลาไปยังอีกสวนหนึ่งแลว

Ti Li
φ =∑
i Gi J i

Example Polar moment of inertia ของเพลา


เมื่อ gear ของเพลาถูกกระทําโดยแรงบิด จง
หาคาการเปลี่ยนตําแหนงที่เกิดที่จดุ P ของ
gear A เมื่อเพลามีเสนผานศูนยกลาง 14 mm มุมบิด
และ G = 80 GPa
เขียน FBD เพื่อหา torque diagram

พุงเขาหรือพุงออก???
ระยะที่ฟนเฟอง P เกิดการเปลี่ยนตําแหนง
Absolute Maximum Torsional Stress ตัวอยางที่ 5-2
เพลาถูกกระทําโดยแรงบิดภายนอกหลายๆ คา เพลาเหล็กถูกยึดแนนกับผนังที่จดุ E ถา G = 80 GPa จงหาคาหนวยแรง
เฉือนและมุมบิดสูงสุดทีเ่ กิดขึน้ ในเพลา
รัศมีของเพลามีการเปลี่ยนแปลงตามความยาวของเพลา

เขียน FBD เพื่อหา torque diagram


= 0 N-m

ขั้นตอนการคํานวณ = +150 N-m


1. เขียน torque diagram โดยใหแรงบิดภายในเปน “+” เมื่อมีทิศทางพุงออก
จากหนาตัดของเพลาโดยใชกฎมือขวา
= +1150 N-m
2. หาคา absolute maximum ของหนวยแรงเฉือนและตําแหนงที่เกิด

คา polar moment of inertia

πd4 π (25) 4
J AB = J BC = = = 38.3(103 ) mm 4
32 32
π π
J CD = J DE = ( d o4 − di4 ) = (504 − 254 ) = 575(103 ) mm 4
32 32
จาก torque diagram ของเพลา φ =∑
Ti Li TAB LAB TBC LBC TCD LCD TDE LDE
= + + +
150(25 / 2)10−3 Gi J i GJ AB GJ BC GJ CD GJ DE
τ BC
i
= = 48.96 MPa
38.3(103 )(10−12 ) 150(103 )200 150(103 )300 1150(103 )500
φ =0+ + +
38.3(103 )80(103 ) 575(103 )80(103 ) 575(103 )80(103 )
1150(50 / 2)10−3
τ DE = = 50 MPa = 23.3(10−3 ) rad
575(103 )(10−12 )
ซึ่งมีทิศทางเปนบวก
ตัวอยางที่ 5-3 หามุมบิดสูงสุดที่เกิดขึ้น TCD TCD
เพลาเหล็กตัน 2 ทอนมี dia. 20 mm จงหาคาแรงบิดสูงสุดที่ระบบสามารถ
รองรับได เมื่อมุมบิดสูงสุดมีคาไดไมเกิน 0.10 rad และ G = 80 GPa
πd4
J AB = J CD =
TCD
F 32 มุมบิดที่เกิดขึ้นที่เฟอง C เทียบกับจุดยึดแนน D ในเพลา CD มีคา
π (0.020) 4
F = = 15.708(10−9 ) m 4 TCD LCD
32 φC / D =
GJ
แรงบิดที่เกิดขึ้นภายใน 0.5T (1.5)
=
แรงบิดในเพลา AB คือ T ทําใหเกิดแรงกระทําตอฟนเฟองของเฟอง B 80(109 )15.708(10−9 )
T
F= = 5.968(10−4 )T rad
0.15
ซึ่งกระทําตอฟนเฟองของเฟอง C และทําใหเกิดแรงบิดบนเพลา CD
TCD = F (0.075) = 0.5T

เมื่อเฟอง C บิดไปเปนมุมขางตน ฟนเฟองของเฟอง C เคลือ่ นที่เปนระยะ


4.476(10−5 )T
φB =
0.150
= 2.984(10−4 )T rad
มุม = 5.968(10-4)T rad 75 mm
φC / D (0.075) = 4.476(10 −5 )T m
ซึ่งจะทําใหฟนเฟองของ ดังนั้น มุมบิดที่เกิดขึ้นระหวางปลาย A ในเพลา AB เทียบกับจุดยึดแนน D มี
เฟอง B เคลือ่ นที่เปนระยะ คาเทากับ
−5
เทากัน และทําใหเกิดการบิด φ A / D = φB +
TLAB
4.476(10 )T
φB = ไปเปนมุม GJ
0.150 T (2)
150 mm = 2.984(10−4 )T + −9
= 1.890(10−3 )T rad
= 2.984(10 −4 )T rad 9
80(10 )15.708(10 )

เนื่องจากมุมบิดสูงสุดมีคาไดไมเกิน 0.10 radian


0.1
Tmax = = 52.9 N-m
1.89(10−3 )
หาคาหนวยแรงเฉือนสูงสุดที่เกิดขึ้นในเพลา
Tmax = TAB = 52.9 N-m

TCD = 0.5TAB = 26.45 N-m

เนื่องจากเพลาเหล็กตันทั้ง 2 ทอนและมี diameter เทากัน ดังนั้น คาหนวย


แรงเฉือนสูงสุดเกิดขึ้นในสวน AB ของเพลา
52.9(0.010)
τ AB = = 33.68 MPa < τ Y = 100 MPa
15.708(10 −9 )

You might also like