You are on page 1of 18

เฉลยวิชา Mechanics

1. เฉลยข้อ ค.
x t 2   x t1 
จากสมการของความเร็ วเฉลี่ย vav 
t 2  t1

vav 
x 15  x 10

  
15 15 2  10 10 2
  24 m/s
  vav  24 m/s
15 10 5

2. เฉลยข้อ ก.
หาสมการตาแหน่ง จาก s t   ut  1 at 2  0
1 2
at  1
2 2
หา a จาก v  u  at  20  0  a 10
 a 2 m/s 2 แทนใน 1 จะได้ s t   t 2 m
พบว่ากราฟจะเป็ นรู ปพาราโบล่า ดังรู ป

3. เฉลยข้อ ค.
u 2 sin 2 u 2 sin 2 
จากสู ตร S x  และ Sy 
g 2g
Sx 
 4 cot   4  4 cot  จะได้วา่  or 45
Sy 4

4. เฉลยข้อ จ.
จาก Mg sin   L    g cos   L   mgL cos 
4 2
M sin  
 cos   m cos 
4 2
 cos  
M  2  4m  
 sin  
 cos  cot  
หรื อ M  2  4m  
 cos  
5. เฉลยข้อ ก.
หาความเร่ งมากสุ ดที่จะทาให้กล่องสามารถเคลื่อนที่ได้ คือ พิจารณากล่องที่วางอยูท่ า้ ยรถบรรทุก
พบว่า  F  ma   S N  ma  0.5 200  20 a   a  5 m/s 2 แสดงว่า กล่องจะ

ไถลได้เมื่อรถมีความหน่วง มากกว่า 5 m/s 2 แต่โจทย์กาหนดให้รถเบรกด้วยความหน่วงเพียงแค่


2 m/s 2 ดังนั้น กล่องจึงไม่ไถลแน่นอน และจะได้แรงเสี ยดทานที่กระบะรถบรรทุกกระทาต่อกล่องเป็ น
 F  ma  f  ma  20  2  40 N

6. เฉลยข้อ ข.

จากรู ปกาหนดให้ t1 คือเวลาที่นกและรถไฟมาพบกัน


t2 คือ เวลาที่นกบินกลับจากจุดนัดพบ Meeting Point  มาถึงรัง  A
D  v B t1 D
ดังนั้น หา t1 จาก t1   t1  เนื่องจากนกเคลื่อนที่ดว้ ยอัตราเร็ วคงตัว t1  t 2
vA v A  vB
 D 
v B t1  t 2   v B 
D
ดังนั้นรถไฟจะวิง่ ได้เป็ นระยะทางทั้งหมด S BC   
 v A  vB v A  vB 
2 DvB
 S BC 
v A  vB

7. เฉลยข้อ ง.
เวลา 1 ชม. ใช้น้ ามัน 8 ลิตร
เวลา 1 ชม. ใช้พลังงาน 8   3 108  J
 30 
   8  3  10
8
 
P 
W 100 
 2  10 5  200 kW
t 60  60

8. เฉลยข้อ ก.
 E   E เมื่อ
i f  E คือ พลังงานรวมที่ตาแหน่งดาดฟ้ าของตึก
i

 E คือ พลังงานรวมที่ตาแหน่งพื้น
f

1  1
mv  kx2  60  10  60     60  v 2   180  20  v  0 m s
1 2 1
 mgh 
2

2 2 2  2
9. เฉลยข้อ จ.
หากเราออกแรงถีบยานอวกาศในอวกาศ ทั้งตัวเราและยานอวกาศต่างเคลื่อนที่ออกจากกัน เป็ นไป
ตามกฎข้อที่ 3 ของนิวตัน แรงกิริยาเท่ากับแรงปฏิกิริยาหลังจากถีบออกจากยานเสร็ จ ตัวเราจะมีความเร็ ว
มากกว่ายานอวกาศเนื่ องจากตัวเรามีมวลน้อยกว่ายานอวกาศ

10. เฉลยข้อ ง.
พิจารณาช่วง AB พบว่า  E A   EB
1
mgr  mvB2
2
 vB  4g  2 g  1
พิจารณาช่วง BC หาระยะ S x เมื่อ vx  vB
แกน x ; S x  vB t  2 g t  2
1 2
แกน y ; S y  u yt  gt
2
gt2
30  t
6
แทนในสมการ 2 จะได้ Sx  2 6 m
2 g

ดังหาระยะ OC จาก OC  2 6   5
2 2
 49 m

11. เฉลยข้อ ก.
พิจารณาช่วง A  B กฎอนุรักษ์พลังงาน
E A   EB
1 2
mgh  ks  Q  mgs
2

1
1 2
จะได้ ks  mgh  mgs  Q
2
พิจารณาช่วง B  C กฎอนุรักษ์พลังงาน
E B  E C

ks  mgx 2
1 2
 mgs 
2

แทน 1 ใน 2 mgh  Q  mgx hx


Q
m
mg
12. เฉลยข้อ ก.
จากกฎอนุรักษ์พลังงาน  EK 1
 E K2

1 1 1
mu12  mv12  Mv22
2 2 2
 
m u12  v12  Mv22

0.2 4  v   0.6 v
2
1
2
2

 v12  3v22  4  * * *

พิจารณาจากกฎอนุรักษ์ โมเมนตัม
แกน x: P i  P f แกน y: P i  P f

mu1 sin 30  mv1 sin 30  Mv2 sin  mu1 cos 30   mv1 cos 30  Mv2 cos 

1 1  3  3
0.2 2   0.2 v1    0.6 v2 sin  0.2 2    0.2 v1 


 2   0.6v2 cos 
2 2  2   

 v1  2 1 3v2 sin    1 


 v1  2 3 v2 cos  1   2
2  v1 2  v1
และ v2   1 และ v2   2
6 sin  2 3 cos 

 3
2 4
นา 1  2 ; v2   3v22 
3 sin   3 cos  3 sin 2   2 3 sin  cos   cos 2 

นา 1  2 ; v1  
2 cos   3 sin    v 
2 
4 cos 2   2 3 sin  cos   3 sin 2    4
cos   3 sin  cos   2 3 sin  cos   3 sin 
1 2 2

 1 
นา 3, 4 แทนใน *** จะได้ sin 2  
1
   
1
arcsin  
2 3 2 2 3

13. เฉลยข้อ ข.
1
mv 2
จาก Fs  Fc  mv  rkx 2

EK
 2
r 3
  3
ES 1 2 x 1
kx
2
14. เฉลยข้อ ข.
จากกฏอนุรักษ์โมเมนตัม ;  Pi   Pf

m1u1  m2u2  m1v1  m2v2


(5)(1500)  (1000)(0)  5 v1  (1000)(5) ; v1  500 m s

 
 P1  m1v1  m1u1  5 10 3 500  1,500   5 Ns
15. เฉลยข้อ ข.
จากกฎอนุรักษ์พลังงาน EK  EPdown  EK  EPup
1 2
mv  0  0  mgh
2
v 2  6 gh
2mv 2
ที่จุดต่าสุ ด N  2mg เป็ นแรงสู่ ศูนย์กลาง จะได้ N  2mg 
r
2m 6 gh   6h  
แทน v 2  6gh  N  2mg   N  2mg 1 
r  r 

16. เฉลยข้อ ค.
จากสมดุลในแนวดิ่ง ;  Fy  0
 1 
T cos 45  mg  T   30  10  T  300 2 N
 2
F
 
300 2  4
Y   
A 3 2
จาก หา L ; L  FL0  6
 m
 L  AY 8  10  10  1010
2,000
 
 L0 

17. เฉลยข้อ ข.
3
liquid  2,500 kg m3 , V = ปริ มาตรทั้งหมด , Vsink  V หา  ของท่อนซุ งจาก
4
 F  0  FB  mlog g  liquid Vsink g
3 
 logV   liquid   V 
4 
3
  log  2500   1875 kg m 3
4

18. เฉลยข้อ ค.
3F W 6W
จากรูปพบว่า  
D 2
d 2
 d 2
4 4 4

 d  2  6d 2
d  6d
เฉลยวิชา Wave and Optics

19. เฉลยข้อ ง.
ในชั้น Thermosphere จะมีไออนของก๊าซไนโตรเจนและออกซิ เจนเป็ นตัวสะท้อนของคลื่นวิทยุ

20. เฉลยข้อ จ.
sin  A v TA
จากกฎของสเนลล์  A 
sin  B vB TB

sin (90    A ) TA 4TB


   2
sin  B TB TB
cos  A
 2
sin  B
2 cos  B cos  A
จัดรู ปสมการ ได้เป็ น  2 จาก sin 2  2 sin  cos 
2 cos  B sin  B
2 cos  B cos  A
จะได้  2  cos A cos B  sin 2 B
sin 2 B

21. เฉลยข้อ ง.
สี ของท้องฟ้ าเปลี่ยนแปลงไปตามเวลา ตอนกลางวันท้องฟ้ าเป็ นสี ฟ้า ส่ วนตอนเช้าและตอนเย็น
ท้องฟ้ าเป็ นสี ส้มแดง ปรากฏการณ์น้ ีเกิดขึ้นเพราะ “การกระเจิงของแสง” (Scattering of light) แสงของ
ดวงอาทิตย์ประกอบด้วยแสงสี ต่างๆ ซึ่ งมีขนาดความยาวคลื่นไม่เท่ากัน เมื่อรังสี จากดวงอาทิตย์ตกกระทบ
โมเลกุลของอากาศ จะเกิดการกระเจิงของแสง คล้ายกับคลื่นน้ าเคลื่อนที่มากระแทกเขื่อน

22. เฉลยข้อ ก.
พิจารณาเส้นทาง เมื่อใส่ แผ่นพลาสติก ทาให้ได้ระยะเส้นทางเดินแสงเพิ่มขึ้นมาเป็ น nx  x
 Path different  d sin   n  1 x  m  0  sin  
n  1 x  1
d

เมื่อ  น้อยมากๆ จะได้ sin   tan  


y
แทนใน 1 จะได้ y
n  1 x L
L d

23. เฉลยข้อ ง.
กาหนดให้ n1 คือ ดัชนีหกั เหของของเหลวที่เทลงไป
S   S   R  36 cm จะได้ S   36 cm และจะได้ระยะวัตถุ S  36  12  24 cm
n n n  n 1 n
จาก   ; R   1 0  n1  1.50
S S R 24 (36)
24. เฉลยข้อ ง.
1. แสงเดินทางผ่านเลนส์นูน f1  30 cm , S1  60 cm
1 1 1 1 1 1
      S1  60 cm
f1 S1 S1 S1 30 60
2. แสงสะท้อนกระจกเว้า S 2  20 cm , f 2  10 cm
1 1 1 1 1 1
      S 2  20 cm เป็ นภาพจริ ง
f 2 S 2 S 2 S 2 10 20
3. แสงเดินทางผ่านเลนส์นูนอีกรอบหนึ่ง ซึ่ งจะคิดเหมือนกับกรณี ที่ 1. จะได้ S3  60 cm

ดังนั้น ภาพสุ ดท้ายจะอยูห่ ่างกระจกเว้าเป็ นระยะ 60 + 80 = 140 cm

25. เฉลยข้อ ก.
sin 1 n2
จากกฎของสเนลล์ 
sin  2 n1
sin  2 1.50
1
1 1.50
หา  2 จาก 
  sin  2  
sin 30 n2 2 n2
หามุมตกกระทบในตัวกลางที่อากาศ
sin  Air n
 2  sin  Air  n2 sin  2 2
sin  2 1.00

แทน 1 ใน 2 ได้ sin  Air  n2 


3

3
4 n2 4
3  3
ดังนั้น  Air  sin 1    1   sin 1  
4 2 4

26. เฉลยข้อ ข.
 
พิจารณา AFB พบว่า มุม ABF  70  ดังนั้น มุม CBE  90   70   20 

หรื อ  2   3  20  และ มุม CEB  180   20   20   140 
sin 1 n2
 sin 1   sin 20   1  sin 1 n sin 20  
n
หา 1 จากกฎของสเนลล์ 
sin  2 n1 1

พิจารณารู ป  CDBE จะได้ 360   180     21  140 

  320   360   2 sin 1 n sin 20  



   2 sin 1 n sin 20  40  
เฉลยวิชา Electricit y and Magnetism

27. เฉลยข้อ ข.

Q R Q 3Q  r
พิจารณาฉนวนทรงกลม E1   ;     E 
4 0 R 2 3 0 4 R 3 3 0
1
V
Q
พิจารณาโพรงทรงกลมกรณี ที่มีประจุเป็ นลบ E2 
4 0 R 2
 r  b 
 
R Q 3Q 
E2   ;      E  
3 0 V 4 R 3 2
3 0
ดังนั้นสนามไฟฟ้ าภายในโพรงที่ไม่มีประจุ คือ
 r  b 
   
   r b
E  E1  E2    NC
3 0 3 0 3 0

28. เฉลยข้อ ข.
จาก RAB จัดรู ปใหม่ได้ดงั นี้

1 3 3 11
RAB  1  1  2   
1 3 4 4

จาก RAC จัดรู ปใหม่ได้ดงั นี้

2 2
RAC  1  1  2  1  3 
22
11
จาก RAD พบว่า RAD  RAB  
4
11 11 17
R AB  R AC  R AD  3  
4 4 2

29. เฉลยข้อ ก.
ข้อความ a,b ถูกต้อง
ข้อความ c กระแสในเส้นลวดขนานที่ไหลไปทางเดียวกันจะออกแรงดึงดูดกัน
ข้อความ d กระแสในเส้นลวดขนานที่ไหลไปทิศตรงข้ามกันจะออกแรงผลักกัน
30. เฉลยข้อ จ.
จากรู ป I1 และ I3 จะไม่ไหลผ่าน
- I1 ไม่ไหลผ่าน เพราะ ความต้านทานของ มีค่ามากๆ
กระแสจึงไม่ไหลผ่าน ( ต่ออนุกรม )
- I 3 ไม่ไหลผ่าน เพราะ การต่อไดโอดต่อผิดด้านจึงทาให้เกิด
การต้านกระแส ทาให้กระแส I3 ไม่สามารถไหลผ่านได้
e ไม่เกิดการเคลื่อนที่ เนื่องจาก เดิมไม่มีความเร็ วและไม่มีกระแสไหลในเส้นลวด I3

31. เฉลยข้อ ง.
พิจารณาแรงที่กระทากับประจุไฟฟ้ าด้านซ้ายมือ
เมื่อพิจารณาสมดุลในแนวระดับจะได้
Q2
F  T sin   ( 1)
4 0 ( 2 L sin  ) 2
พิจารณาสมดุลในแนวดิ่ง จะได้  g  T cos   ( 2)

 Q2 
 
2 
(1 )  4 ( 2 L sin  )   T sin 
นา ; จะได้ 0

(2) g T cos 
Q2
 tan
4 0 ( 2 L sin  ) 2  g
Q   (4 L sin  )  0  g tan
32. เฉลยข้อ ง.
จากรู ปเป็ นวงจร RLC ต่อกันแบบอนุกรม
1
VR  IR , VL  IX L , VC  IX C ; X L   L & X C 
C
ดังนั้นสามารถเขียนแผนภาพเฟสได้เป็ น

V  VR2  VL  VC   I R2  X L  X C 
2 2

ดังนั้น ความต้านทานเชิงซ้อน Z 
V
 R2  X L  X C 
2
 1
I
 22 
จาก X L   L  2 f L  2   700.1  44 
 7
1 1 7  106 1,000
XC     
C 2 f C 2  22  70  25 11

2 2
 1,000   516 
ดังนั้น Z  R   X L  X C   200   44    40,000   
2

2 2

 11   11 
266,256 4,840,000  266,256 5,106,256
Z  40,000    
121 11 11

33. เฉลยข้อ ค.
จาก F  I  l  B 
  

a  a 
M C  F  d  IbB    cos    IbB    cos    IabB cos 
2  2 
เมื่อ ab คือ พื้นที่หน้าตัดของขดลวด A และ มุม  คือ มุมที่ทากับสนามแม่เหล็ก
เนื่องจาก M C  BIA cos  แต่เนื่องจากขดลวดมี N ขด จะได้

M C  BINA cos   4  5  500 12 10 4 cos 90  0


34. เฉลยข้อ ข.
พิจารณาอนุภาคใดๆที่มีมวล m ประจุ q เคลื่อนที่ดว้ ยความเร็ วต้น u เข้าไปในสนามแม่เหล็ก B

2 r mu 2 mu
สามารถหาเวลาได้จาก t เมื่อ r หาจาก quB   r
u r qB
2 m
ดังนั้น t  พบว่า tm จาก mw  2mx  t w  t x อนุภาค x ใช้เวลาน้อยกว่าจึงเดินทาง
qB
2 m
กลับมายังจุดเริ่ มต้นก่อนอนุภาค w และจะใช้เวลาต่างกัน tw  tx  2mx  mx   x
qB q

35. เฉลยข้อ ค.
สมการคลื่นของสนามแม่เหล็กที่เวลา t ใดๆ คือ B t   Bmax sink x  t 
พบว่า Bmax 
E max

600
 2  10 6 T จาก   2 f  80 106 rad s
c 3  10 8
2 2 f 80  10 6 4
และจากเลขคลื่น k     m -1
 c 3  10 8
15

ดังนั้น B t   Bmax sink x  t   2 10 sin  415  x  80 10 t 


6 6

  

36. เฉลยข้อ ง.
จากกฎของเคอร์ช๊อฟ
ข้อ 2    I R
loop 1: V  I 2 2  18  1
loop 2: 30   I 2  32 18

 I2   3 A แทนใน 1 จะได้ V  12 V

37. เฉลยข้อ ข.
0 I
จาก FB  IlB เมื่อ B
2 r
4  10 7  50
จะได้ FB  25 l B ; B
2 r
FB 4  10 7  50 25
 25    10 5 N m
l 2 r r
FB W 25 1
จาก   0.075 N m   10 5  0.075  r   10 2 m
l l r 3
38. เฉลยข้อ ก.
จากสมดุลของแรงพบว่า  Fz  0
T  FB  0 ; FB  I l B sin 90
8 102  I 0.150.7
I  0.76 A

ทิศทางทวนเข็มนาฬิกาตาม Fleming' s left hand rule

39. เฉลยข้อ ก.

1 2qV mv 2 mv
จาก Ek  EE  mv 2  qV   v  และ FC  FB   qvB   r 
2 m r qB

A vA 
2qV

 
2 1.6  10 19 5,000
 10 6 m s นาค่า v ไปแทนหา rA ได้ดงั นี้
 27
1.6  10
A
m

rA 
mv A


1.6  10 27 10 6  
 0.1 m
qB  
1.6  10 19 100  10 3 
B vB 
2qV

 
2 1.6  10 19 5,000
 5  10 5 m s นาค่า v ไปแทนหา rB ได้
 27
6.4  10
B
m
ดังนี้
rB 
mvB


6.4  10 27 5  10 5 0.2 m

qB  
1.6  10 19 100  10 3 
 d  0.4  0.2  0.2 m  20 cm
เฉลยวิชา Quantum and Atomic Physics

40. เฉลยข้อ จ.
hc6.6  10 34  3.0  108
หาพลังงานที่อะตอมคายไป จาก E2    5.0  10 19 J
 400  10 9

5.0  10 19
พบว่า 1 eV  1.6 10 19 J จะได้ E2   3.1 eV
1.6  10 19
พลังงานภายในของอะตอมหลังจากที่ปล่อยโฟตอน = พลังงานเดิม – พลังงานที่คาย
E  E1  E2   3.0  3.1   6.1 eV

41. เฉลยข้อ ง.
6.6  10 34  3.0  108
hc
จาก E   4.1 eV
 300  10 9  1.6  10 19
hc
หา 0 จากปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กทริ ก eVs  E  E0   E  eVs  4.1  0.2  3.9 eV
0
6.6  10 34  3.0  108
ดังนั้น 0  19
 3.2  10 7 m
3.9  1.6  10

42. เฉลยข้อ ข.
สถานะกระตุน้ ที่ 2 คือที่ n  3 และที่สถานะพื้น n  1
 13.6  13.6
จาก En  eV E3    1.51 eV
n2 32
 13.6
E1    13.6 eV
12
จะได้ E  E3  E1   1.51  (13.6)  12.1 eV
6.6  10 34  3.0  108
  102 nm
12.1  1.6  10 19

43. เฉลยข้อ ก.
mv 2 qRB
FC  FB   qvB  v   v R
R m
F
v r
 1  1 
2
และ C1  qv1 B  v1  2
v2 r2 1 FC2 qv2 B v2 1
44. เฉลยข้อ ข.
hc hc
Laser E  Fluorescen ce E 
 
17.50  2.341.6 10 19   hc 10.06  2.341.6 10 19   hc
 
hc hc
L  F 
17.50  2.34 e  10.06  2.34e 
L

10.06  2.34 
7.72

193
 0.51
F 17.50  2.34 15.16 379

45. เฉลยข้อ ก.
h E
จากสมการเดอบอย PM   PM  ; c  f & E  h f
 c
P 2 PM 2E
 1
F 2E
พิจารณาแรง จาก F  M   และจาก ความดันคือ PPre  
t t c t A c At
PPow 2  6,000
จาก I  
E
แทนใน 1 จะได้ PPre 
2I
  4  10 5 Pa
A At c 3  108
เฉลยวิชา Thermodynamics

46. เฉลยข้อ ค.
3
1) ถูก จากทฤษฏีจลน์ของก๊าซ พลังงานจลน์เฉลี่ยของโมเลกุล E k BT เมื่ออุณหภูมิเท่ากัน
2
ก๊าซอะตอมเดี่ยวจะมีพลังงานเฉลี่ยของโมเลกุลเท่ากัน
2) ผิด จากกฎของก๊าซ PV  nRT ปริ มาตรจะแปรผันโดยตรงกับอุณหภูมิก็ต่อเมื่อความดันและ
จานวนโมลก๊าซมีค่าคงตัว
3) ถูก สมมูลกลความร้อน คือ ปริ มาณของงานกลที่ใช้ไปแล้วทาให้เกิดปริ มาณความร้อนได้ 1
หน่วย เรี ยกว่า สมมูลของจูล ซึ่ งมีค่า 4.18 จูล ต่อ 1 แคลารี
4) ผิด ความร้อนที่ให้กบั ระบบจะเท่ากับผลบวกของพลังงานภายในที่เพิ่มขึ้นกับงานที่ระบบทา ซึ่ ง
เป็ นไปตามกฎข้อที่ 1 ของเทอร์ โมไดนามิกส์ คือ Q  U  W

47. เฉลยข้อ ค.
จากกฎของบอยล์ แสดงถึงความสัมพันธ์ของ P และ V เมื่อ T และ n คงที่
จากกฎของก๊าซ PV  nRT เมื่อ T และ n คงที่ จะได้ PV  Const.
ดังนั้น กราฟระหว่าง P กับ V จะได้รูปไฮเปอร์ โบลา
1
กราฟระหว่าง P กับ จะได้รูปเส้นตรง
V
กราฟระหว่าง PV กับ V หรื อ PV กับ P จะได้เส้นตรงขนานแกนนอน
กราฟที่ไม่ใช่กฎของบอยล์ คือ กราฟในข้อ ค.

48. เฉลยข้อ ข.
PV
หาจานวนโมลจากกฎของก๊าซ ; PV  nRT n
RT
P1V1 2  4 8 P2V2 3  2 6
ก๊าซ A ; n1    และ ก๊าซ B ; n2   
RT RT RT RT RT RT
เมื่อนาก๊าซ A และ B มาผสมกันในถัง 6 ลูกบาศก์เมตร จะมีจานวนโมล
8 6 14
n  n1  n2    นาไปแทนค่าในกฎของก๊าซ
RT RT RT
 14  14
จะได้ PV  nRT  P  6     RT   P  2.33 บรรยากาศ
 RT  6
49. เฉลยข้อ ง.
จากกฎข้อ 1 ของ Thermo dynamics Q  U  W เนื่องจาก V คงที่ , W  0 และ
5
จะได้ Q  U  n R T ; ก๊าซอะตอมคู่ Degree of freedom  5
2
5
Q (1)  8.3  (77  37)  830 J
2
พิจารณาความร้อนที่เกิดจากพลังงานของขดลวด Q  W  830
W 830 41.5
ต้องใช้เวลานาน t   41.5 s t  0.70 min
P 20 60

50. เฉลยข้อ จ.
จากข้อมูลสร้างกราฟ P V ได้เป็ น
สามารถหางานของวัฏจักรได้จากสู ตร
V2 4
W 
V1
P dV   ( 4  (V  4 ) 2 ) dV
21

W  5.33 J

51. เฉลยข้อ ก.
โจทย์กาหนด n  3 , T1  300 K , P1  105 Pa , V1  V , V2  2V
V 
หางานของกระบวนการที่อุณหภูมิคงที่ WT จากสู ตร WT  nRT ln  2 
 V1 
 2V 
WT  3  8.3 273  27   ln    5,229 J
V 
P1V1  P2V2
หางานของกระบวนการที่ความร้อนคงที่ WQ จากสู ตร WQ 
 1

V 
2
1 1
หา P2 จาก 
P1V1  P2V2 
จะได้ P2  P1   1   10 5      10 5 Pa
 V2  2 4
nRT1 3  8.3  300
และหา V จาก P1V1  nRT1 V1   5
 7,470  10 5 m 3
P1 10
105
105  7,470  10 5   2  7,479  10 5
V2  2V  2  7,470  10 5 m 3 จะได้ WQ  4
2 1
 1
WQ  7,470   1    3,735 J
 2
WT  WQ อยู่ 1,494 J
เฉลยวิชา Astronomy

52. เฉลยข้อ ก.
x
sin 48   x  1 AU sin 48
1 AU

x  0.743 AU
x  1.11 108 km

53. เฉลยข้อ ง.
1
จากกฎของ Stefan - Boltzmanm : L  4 R 2T 4 พบว่า TX  10TSun , L X  LSun และ
4
RSun  7  105 km เมื่อ L คือ ความสว่าง  คือ ค่าคงตัวของ Stefan - Boltzmanm
R คือ รัศมีดวงดาว T คือ อุณหภูมิ
LX  4 RX2  TX4 1 และ LSun  4 RSun
2
 TSun
4
2

1 :
2 4 2 4
R  T   RX  LX  TSun 
2 4
LX  RX  1  1 
 X    X          5
  
2 LSun  RSun   TSun   RSun  LSun  TX   7 10  4 10 

  RX  3500 km

54. เฉลยข้อ ง.
ในการโคจรรอบดวงอาทิตย์ของโลกและดาวศุกร์ โจทย์กาหนดข้อมูลมาให้ ดังนี้
รัศมีวงโคจรของโลกกับดวงอาทิตย์ r1  1 AU , ครบ 1 รอบ ใช้เวลา t1  1 ปี
รัศมีวงโคจรของดาวศุกร์ กบั ดวงอาทิตย์ r2  0.72 AU , ครบ 1 รอบ ใช้เวลา t 2  0.62 ปี
v2 s 2 t1 2 r2 t 0.72  1
    1   1.16  1.20
v1 t 2 s1 t2 2 r1 0.62  1

55. เฉลยข้อ ค.
โลกอยูไ่ กลดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ อยูใ่ กล้โลก

56. เฉลยข้อ ง.
ถูกต้องทุกข้อ
เฉลยวิชา General Knowledge for Physics

57. เฉลยข้อ ก.
ก. รางวัลโนเบลสาขาฟิ สิ กส์ปี ค.ศ. 2015 เป็ นของ Takahashi Kajita และ Arthur
B.McDonald ในฐานะที่คน้ พบ Neutrino Oscillation ซึ่งแสดงให้เห็นว่านิวตริ โนเป็ นอนุภาคที่มีมวล
ข. รางวัลโนเบลสาขาฟิ สิ กส์ปี ค.ศ. 2014 เป็ นของ Isamu Akasaki , Hiroshi Amano และ
Shuji Nakamura สาหรับนวัตกรรมไดโอดเปล่งแสงสี น้ าเงิน ซึ่งสร้างแหล่งพลังงานแสงขาวที่สว่างจ้า
และประหยัดพลังงาน
ค. รางวัลโนเบลสาขาฟิ สิ กส์ปี ค.ศ. 2013 เป็ นของ Peter Higgs และ Francois Englert
สาหรับการค้นพบทฤษฎีกลไกของฮิกส์ ( Higgs Mechanism ) ซึ่ งสนับสนุนความเข้าใจเรื่ องการกาเนิด
มวลของอนุ ภาคต่าง ๆ โดยทฤษฎีดงั กล่าวได้รับการยืนยันจากการค้นพบอนุภาคมูลฐานฮิกส์ จากการทดลอง
โดยใช้เครื่ องชนอนุ ภาคขนาดใหญ่ LHC ในเซิร์น ตรวจวัดโดยเครื่ อง ATLAS และ CMS

ง. รางวัลโนเบลสาขาเคมี ปี ค.ศ. 2015 เป็ นของ Tomas Lindahl , Paul L.Modrich และ
Aziz Sancar สาหรับการศึกษากลไกการซ่อมแซมดีเอ็นเอ
จ. รางวัลโนเบลสาขาฟิ สิ กส์ปี ค.ศ. 2012 เป็ นของ Saul Perlmutter , Adam Riess และ
Brian Schmidt สาหรับงานวิจยั เกี่ยวกับซูเปอร์ โนวาและการค้นพบว่าเอกภพกาลังขยายด้วยอัตราเร่ งคงที่

58. เฉลยข้อ ง.
ตัวเลือก b ) และ e ) ถูก

59. เฉลยข้อ ข.
Louis Victor de Broglie (พ.ศ. 2435 2530 ) ชาวฝรั่งเศส ได้เสนอความคิดเกี่ยวกับอนุภาค
อิเล็กตรอนมีสมบัติของคลื่น เดอบรอยล์ ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิ สิ กส์ พ.ศ. 2470

60. เฉลยข้อ ก.
CERN หรื อ European Organization for Nuclear Research เป็ นหน่วยงานที่ต้ งั ในประเทศ
สวิตซ์เซอร์แลนด์ มุ่งเน้นวิจยั และพัฒนาด้วยฟิ สิ กส์อนุภาคและฟิ สิ กส์นิวเคลียร์

You might also like