You are on page 1of 14

POSN Physics 2566

ตอนที่ 1 ข้อที่ 1 ­ 20 เลือกข้อที่ถูกต้อง


1. วงแหวนมวล m สวมไว้อย่างเครือ ๆ รอบเชือกที่ห้อยอยู่นิ่ง ๆ m กำลังตกด้วยความเร่งขนาด a แรง
เสียดทานที่กระทำต่อมวล m มีขนาดเท่าใด

A. ma
B. mg
C. m(a − g)
D. m(g − a)

2. ท่อนโตสม่ำเสมอมวล M ยาว L ถูกค้ำให้วางตัวในแนวระดับที่จุด A กับ B ต่อมา ทันทีที่ดึงตัวค้ำ


B หนี แล้วตัวค้ำที่ A จะต้องรับแรงขนาดเท่าใด (คำแนะนำ : รับเบาลง)

A. 4
7
Mg
B. 5
7
Mg
C. 3
4
Mg
D. Mg
3. จังหวะที่มวล m กำลังเคลื่อนที่เร็ว u ในทิศบวกของแกน OX ของระบบเฉื่อย OXY นั้น มันระเบิด
ออกเป็น สองชิ้น คือ αm และ (1 − α)m โดย αm มี ความเร็ว v ในทิศ OY จงหาทิศทางที่ ชิ้น
(1 − α)m เคลื่อนที่ว่าทำมุม θ เท่าใดกับแกน OX

A. tan θ = αuv
B. tan θ = αvu
C. tan θ = αvu
D. tan θ = αuv
4. ก้อนน้ำเหลวทรงกลมมวล m รัศมี r กำลังเคลื่อนที่ด้วยความเร็ว v ขนานกับพื้นระดับก่อนกระทบ
กำแพงแข็ง จงหาขนาดของแรงปฏิกิริยาเฉลี่ยที่กำแพงกระทำต่อ m

A. 3 mvr
2

B. 2 mvr
2

C. 4 mvr
2

D. 1 mv 2
2 r
5. ทฤษฎีจลน์ดั้งเดิมของแก๊สอุดมคติ บ่งว่าแก๊สอุดมคติในภาชนะอุณหภูมิ T เคลวินนั้น จำนวนโมเลกุล
Bv 2
ที่มีอัตราเร็ว v เป็นไปตามฟังก์ชัน N (v) = Av2e− กราฟของ N (v) เป็นตามรูปใด
T

A B

C D

6. มวล M มีความเร็วต้น u เคลื่อนที่ตามแนวแกน OX บนพื้นระดับที่ลื่นแบบชนแล้วติดกันไป ทันที


หลังชนลูกที่ N มันจะมีความเร็วเป็นเท่าใด

A. u
N
B. M
Nm
u
C. M −N m
m
u
D. M
M +N m
u

7. จำนวนโมเลกุลทั้งหมดในชั้นบรรยากาศของโลกมีค่าประมาณ เท่าใด กำหนดว่า ความดันบรรยากาศ


ที่ระดับน้ำทะเลเป็น P ≈ 1 × 105 Nm−1 มวลของหนึ่งโมเลกุล m ≈ 5 × 10−26 kg ค่าความเร่ง
โน้มถ่วง g ≈ 10 ms−2 รัศมีของโลก R ≈ 6 × 106 m
A. 1023 ตัว
B. 1044 ตัว
C. 1065 ตัว
D. 1086 ตัว
8. กำหนดว่าค่า I ในทั้งรูป ก และรูป ข เป็นค่าเดียวกัน จงหาค่า x

A. x= r
2
+R
B. x=r+R
C. x = 2r + R
D. x=r+ R
2

9. กำหนดให้คลื่น ψ1(x, t) = sin(x − t)ψ2(x, t) = sin(x + t) ซึ่ง x แทนตำแหน่งบนแกน OX และ


t แทนเวลา กราฟในข้อใดเป็น ψ(x, t) = ψ1 + ψ2 ที่เวลา t = π

A B

C D
10. ABC เป็นเชือกอ่อน (หรือโซ่ก็ได้) วางตัวบนพื้นระดับ จุด B เป็นตำแหน่งวกกลับเมื่อเชือกถูกดึงที่
ปลาย C ถ้าเราเห็นจุด B เคลื่อนที่ไปทางขวาด้วยความเร็ว u ความเร็วของปลาย c จะเป็นเท่าใด

A. 3u
B. 2u
C. u
D. 1
2
u

11. น้ำแข็งความหนาแน่น 0.92g · cm−3 ปริมาตร 200 cm3 ในน้ำเหลวในถ้วยทรงกระบอกพื้นที่ภาคตัด


ขวาง 100 cm2 เมื่อน้ำแข็งก้อนนี้ละลายเป็นน้ำเหลวหมดแล้ว ระดับน้ำในถ้วยจะเปลี่ยนแปลงจาก
ระดับเดิมเท่าใด
A. ไม่เปลี่ยนแปลง
B. เพิ่มขึ้น 0.16 cm
C. ลดลง 0.16 cm
D. เพิ่มขึ้น 2.0 cm
12. วงกลมลวดรัศมี R วางตัวในระนาบ Y Z ในระบบฉาก OXY Z ดังภาพ ลวดมีประจุบวกต่อหน่วย

ความยาวคงที่ตลอดทั้งวง กราฟของสนามไฟฟ้า E(x, 0, 0) ที่จุด x เป็นตามรูปใด

A B

C D
13. กำหนดว่าที่จังหวะเริ่มต้น t = 0 นั้นไม่มีประจุอยู่ในตัวเก็บประจุ และสวิตซ์ SW ถูกสับลงที่จังหวะ
t = 0 ดังภาพ

กราฟใดแสดงการเปลี่ยนแปลงกับเวลาของประจุไฟฟ้า q ในตัวเก็บประจุตัวขวาสุด (ตัวที่มีเครื่องหมาย


* กำกับ)

A B

C D
14. น้ำในถ้วยกำลังหมุนไปรอบแกนกลางถ้วยพร้อมกับถ้วย ด้วยอัตราเร็วเชิงมุม ω ดังภาพ OY เป็นแกน

กลางของถ้วย ภาคตัดขวางของผิวน้ำสามารถบรรยายได้ด้วยฟังก์ชัน y = y(x) ตามข้อใด


A. y = HR x + h
B. y = − HR x + h
C. y = ω2g x2 + h
2

D. y = − ω2g x2 + h
2

15. เลนส์บางขิ้นนี้มีความยาวโฟกัส f เป็นไปตามสูตร f1 = (µ − 1) R1 ถ้าเพิ่มค่ารัศมีความโค้งจาก R ไป


เป็น R + ∆R ค่าความยาวโฟกัสจะเพิ่มจาก f ไปเป็น f + ∆f ค่าของ ∆ff เท่ากับข้อใด

A. ∆R
R
B. R
∆R

C. µ∆R
R

D. (µ−1)∆R
R
16. ปริซึมฉากที่ใช้สำหรับสะท้อนกลับหลังทิศทางของแสง จะต้องทำด้วยสารโปร่งใสที่มีค่าดรรชนีหักเห
ของแสง (µ) อย่างน้อยที่สุดเท่าใด (น้อยกว่านี้ไม่ได้)

A. 1.50

B. 2

C. 3
2

D. 3

17. เลนส์ในรูป A มีความยาวโฟกัส fA ซึ่ง f1 A


= (µ − 1)( R11 − R12 ) จงหาความยาวโฟกัส fB ของเลนส์
ในรูป B

A. 1
fB
= (µ − 1)( R11 + 1
R2
)
B. 1
fB
= (µ − 1)( R11 − 1
R2
)
C. 1
fB
= (1 − µ)( R11 − 1
R2
)
D. 1
fB
= (1 − µ)( R11 + 1
R2
)
18. สำหรับระบบดาว M กับ m ซึ่งโคจรรอบจุดศูนย์กลางร่วมที่ระยะห่าง R คงที่นั้น รัศมีของวงโคจร
ของ m เป็นเท่าใด

A. R
B. M
M +m
R
C. M −m
M
R
D. M −m
M +m
R

19. ความต้านทานรวมระหว่างปลาย A กับ B มีค่าเป็นเท่าใด

A. R
4
B. R
2
C. 2R
D. 4R
20. ปฏิกิริยาฟิวชันที่ศูนย์กลางของดวงอาทิตย์หลอมรวมนิวเคลียสของไฮโดรเจนไปเป็นฮีเลียม และปล่อย
พลังงานออกมาต่อหนึ่งสมการด้านล่างเท่ากับ 26 × 106 × 1.6 × 10−19 ≈ 42 × 10−13 J

4 11H → 2 +01e + 2γ + 2ν + 26 MeV


ซึ่ง +01e เป็นอนุภาคโพสิตรอน , γ เป็นอนุภาคแกมมา และ ν เป็นอนุภาคนิวตริโน พลังงานที่ดวง
อาทิตย์ ปล่อยออกมาทั้งหมดต่อ วินาที เท่ากับ 3.8 × 1026 J จำนวนอนุ ภาคนิว ตริ โนทั้งหมดที่ ดวง
อาทิตย์ปลดปล่อยออกมาต่อวินาทีมีค่าเท่าใด
A. 1 × 1012
B. 2 × 1012
C. 1 × 1038
D. 2 × 1038
ตอนที่ 2 : เติมเฉพาะคำตอบ
1. AB เป็นโซ่วางพื้นระดับเป็นแนวเส้นตรงตามแนวแกน OX ถ้ากวาดโซ่ด้วยมือไปในแนว OX ด้วย
ความเร็ว v แรงปฏิกิริยาที่โซ่กระทำต่อมือมีค่าเท่าใด (ไม่ต้องคำนึงถึงถึงแรงเสียดทานระหว่างโซ่กับ
พื้น)

2. M กับ m เป็นดาวที่มีขนาดเล็กเทียบกับระยะห่างที่คงที่ R ระหว่างดาวเอง ทั้งคู่กำลังโคจรเป็นแนว


วงกลมด้วยอัตราเร็วเชิงมุมคงที่ จงวิเคราะห์หาพลังงานจลน์ของการโคจรนี้ (ตอบในรูปของ R, M, m
และ ค่าคงตัวโน้มถ่วงสากล G เท่านั้น)

3. นิวเคลียสกัมมันตรังสีอันหนึ่งเดิมอยู่นิ่ง ๆ ต่อมาหลังจากพ่นอนุภาคอัลฟ่ามวล m ออกมาแล้ว กลาง


เป็น นิวเคลียสตัว ใหม่ มวล M เด้ง ถอยออกไปทางซ้าย ส่วนอนุ ภาคอัล ฟ่ามี พลังงานจลน์ เท่ากับ E
พลังงานจลน์ของมวล M มีค่าเท่าใด

4. น้ำเหลว 1 cm3 ที่อุณหภูมิห้อง เมื่อกลายเป็นไอน้ำหมดที่อุณหภูมิ 267 องศาเซลเซียสภายใต้ความ


ดัน 1 × 105 N · m−2 มี ปริมาตรประมาณกี่ ลูกบาศก์ เซนติเมตร กำหนดให้ ใช้ ค่า Gas Constant
R = 8.314 J/mol · K
5. ปล่อยลูกตุ้มมวล M จากหยุดนิ่งที่ระดับเดียวกันกับจุดที่แขวนให้แกว่งลงมาชนมวล m ที่วางนิ่งกับ
พื้นลื่น ชนแล้วติดกันไปและแกว่งขึ้นไปได้สูงทำมุม 60 องศากับแนวดิ่ง จงหาอัตราส่วน Mm

6. ยิงประจุ +q มวล m จากระยะตั้งต้นไกลมาก เข้าหาประจุ +Q มวล M ซึ่งอยู่นิ่งเมื่อตั้งต้น เพื่อให้


เข้าใกล้กันที่สุดเป็นระยะทาง D จะต้องใช้ m ที่มีพลังงานจลน์เท่าใด

7. ตัว เก็บ ประจุ แบบแผ่น ขนานความจุ C ดึงดูด กัน ด้วยแรงขนาดเท่าใด เมื่อ ต่อ กับ แหล่ง กำเนิด แรง
เคลื่อนไฟฟ้า ϵ (ตอบในรูปของ ϵ, d, C )
ตอนที่ 3 : แสดงวิธีทำ
1. แผ่นสี่เหลี่ยมมุมฉากมวล M หนาสม่ำเสมอยาว L กว้าง b จุด A เป็นจุดกึ่งกลางของขอบบน จุด B
อยู่ที่มุมปลายล่าง ถูกแขวนด้วยเชือกจากจุด A ต่อมา เอามวล m ไปห้อยจากจุด B ทำให้แผ่นนี้เอียง
ทำมุม θ กับแนวระดับ จงหาค่าของ tan θ ในรูปของ M, m, L และ b

You might also like