You are on page 1of 27

3.

Partial Loss of Prestress


1

… แบงออกเปน 2 ประเภท คือื


† การเสื่อมลดทันทีทันใด
† การเสื่อมลดแรงอัดตามเวลา

Prepared by Assist. Prof. Dr. Krit Chaimoon


2

… ใ
ในคอนกรี ตี อัดแรงแบบดึงึ เหล็ก็ ทีหี ลังั การเสือื่ มลดแรงอัดจะเกิดขึนึ้ จาก
† ความเสียดทาน ในทอรอยเหล็ก
† การเคลื่อนตัวของลิ่มในสมอยึด ทันทีทนั ใด
† การหดตัวแบบอิลาสติกของคาน
† การคืบของคอนกรีต
† การหดตัวของคอนกรีต
การหดตวของคอนกรต ตามเวลา
† การคลายแรงดึงในเหล็กกําลังสูง

Prepared by Assist. Prof. Dr. Krit Chaimoon


3

… ในคอนกรีตอัดแรงแบบดึงเหล็กกอน การเสื่อมลดแรงอัดจะเกิดขึ้นจาก
† การหดตัวแบบอิลาสติกของคาน ทันทีทนั ใด
† การคืบของคอนกรีต
† การหดตัวของคอนกรีต ตามเวลา
† การคลายแรงดึงในเหล็กกําลังสูง

Prepared by Assist. Prof. Dr. Krit Chaimoon


4

… แรงที่เกี่ยวของและสัญลักษณ
† แรงดึงหรืออัดแมแรง (Pj) ในคอนกรีตอัดแรงแบบดึงเหล็กทีหลัง
เทยบเทากน
ี  ั
† แรงดึงแรกเริ่ม (Pi) ในคอนกรีตอัดแรงแบบดึงเหล็กกอน
† แรงอัดแรกเริ่ม ((Po) = Pj – แรงเสื่อมลดทันทีทันใด
หรือ = Pi – แรงเสื่อมลดทันทีทันใด
† แรงอัดประสิทธิผล (Pe) = Po – แรงเสอมลดตามเวลา
แรงอดประสทธผล แรงเสื่อมลดตามเวลา
† มาตรฐาน ACI กําหนดให
0.80f
0 80f pu
f pj or f pi ≤
0.94f py

Prepared by Assist. Prof. Dr. Krit Chaimoon


5

… การวิเคราะหหนวยแรงเสื่อมลดทั้งหมดทําไดโดยการคํานวณทีละสาเหตุ
แลวนํามารวมกัน การวิเคราะหละเอียดนี้คอนขางจะใชเวลามากแตจําเปน
สําหรับโครงสรางพิเศษ
… ในกรณี อ งค อ าคารมี ข นาดและช ว งความยาวปกติ ผูู อ อกแบบสามารถ
ประมาณหนวยแรงเสื่อมลดทั้งหมดคราวๆได ถาทราบชนิดขององคอาคาร
และวิธีดึงเหล็ก
และวธดงเหลก
… การเสื่อมลดแรงอัดอาจประมาณเปนคารอยละของแรงอัดแรกเริ่ม (Po)

Prepared by Assist. Prof. Dr. Krit Chaimoon


6

ตารางที่ 3.1 การประมาณหนวยแรงเสื่อมลดทั้งหมดตามมาตรฐาน AASHTO

ชนิดของเหล็กเสริม
ชนดของเหลกเสรม หนวยแรงเสื่อมลดทั้งหมด
หนวยแรงเสอมลดทงหมด
fc' = 27.6 N/mm2 fc' = 34.5 N/mm2
(279.8 ksc) (349.7 ksc)
310 N/mm2
ลวดเกลียวอัดแรงแบบดึงเหล็กกอน -
(3,147 ksc)
ลวดอดแรงและลวดเกลยวอดแรงแบบดง
ลวดอั ดแรงและลวดเกลียวอัดแรงแบบดึง 221 N/mm2 228 N/mm2
เหล็กทีหลัง (ไมรวมแรงเสียดทาน) (2,238 ksc) (2,308 ksc)

Prepared by Assist. Prof. Dr. Krit Chaimoon


7

ตารางทีี่ 3.2 การประมาณหนว ยแรงเสืือ่ มลดทังั้ หมดสําํ หรับั แผนพืืน้ และคาน


ตามขอกําหนด Posttensioning Institute

ชนิดของเหล็กเสริมแบบดึงเหล็กทีหลัง หนวยแรงเสื่อมลดทั้งหมด
(ไมรวมแรงเสียดทาน)
(ไมรวมแรงเสยดทาน)
แผนพื้น คานหรือคานยอย
/ 2
207 N/mm / 2
241 N/mm
ลวดเกลียวอัดแรงเกรด 270 K
ลวดเกลยวอดแรงเกรด (2,100 ksc) (2,445 ksc)

Prepared by Assist. Prof. Dr. Krit Chaimoon


8

3.1 แรงเสือ่ มลดเนือ่ งจากการเสียดทาน


… เกิดขึ้นเฉพาะในคอนกรีตอัดแรงแบบดึงเหล็กทีหลัง

… เกิดขึ้นจากสาเหตุสองประการ

† ผลของความโคงง (friction effect) ทอรอยเหลกทวางเปนแนวโคง


ผลของความโค ทอรอยเหล็กที่วางเปนแนวโคง ขณะ
ดึงเหล็กผิวของเหล็กจะสัมผัสกับผนังดานในของทอทําใหเกิดแรงเสียดทาน
† การคดของทอรอยเหล็ก (wobble effect) ทอรอยเหลกอาจเบยงเบนไป
การคดของทอรอยเหลก ทอรอยเหล็กอาจเบี่ยงเบนไป
จากแนวที่ออกแบบไว ดังนั้นขณะดึงเหล็กจะมีแรงเสียดทานเกิดขึ้น
… ทําใหแรงดึงที่บริเวณกลางคานนอยกวาแรงดึงที่ปลาย
ทาใหแรงดงทบรเวณกลางคานนอยกวาแรงดงทปลาย

Prepared by Assist. Prof. Dr. Krit Chaimoon


9

dθ … µp เปนคาเฉลีี่ยของแรงเสีียดทานตอหนึึ่ง
P
หนวยความยาว จะไดวา µp มีคาเทากับ
µPdθ / ds
… µ เ ป น สั ม ป ร ะ สิ ท ธิ์ ก า ร เ สี ย ด ท า น
(µp + kP)ds P+dP
ระหว า งเหล็ ก เสริ ม กั บ ผิ ว ท อ ร อ ยเหล็ ก
ระหวางเหลกเสรมกบผวทอรอยเหลก
เสริม
dx
… k เป น สั ม ประสิ ท ธิ์ ก ารคด ซึ่ ง หมายถึ ง
P Pdθ แรงเสียดทานตอแรงดึงหนึ่งหนวยบนความ
dθ ยาวหนึ่งหนวย

P+dP

Prepared by Assist. Prof. Dr. Krit Chaimoon


P + dP + (µ p + kP)ds − P = 0
dP / P + µdθ + kds = 0
10
Px α s

P
∫ dP / P + ∫ µdθ + ∫ kds = 0
Pj 0 0

ln ( Px / Pj ) + µα + ks = 0
(µp + kP)ds P+dP
−( µα+ ks ) −( µα+ kx )
Px = Pje ≈ Pje

Px = Pj {1 − ( µ
µα + kx )}
dx

… Pj เปนแรงดึงในเหล็กที่ปลาย
… Px เปนแรงดึงที่ระยะ x
… α เปนมุมรองรับสวนโคง

Prepared by Assist. Prof. Dr. Krit Chaimoon


11

ตารางที่ 3.3 คาสัมประสิทธิ์ µ และ k

ชนิดิ ของเหล็ก็ เสริมิ ชว งพิิกัดของคา สัมั ประสิ


ป ทิ ธิิ์ คา สััมปประสิิทธิิท์ ีใ่ ชอ อกแบบ
k (/kg/m) µ k (/kg/m) µ
ลวดอดแรง
ลวดอั ดแรง 0 0016 0 0100 0.15-0.35
0.0016-0.0100 0 15 0 35 0 0049
0.0049 0 25
0.25
ลวดเกลียวอัดแรงอาบ
0.0016-0.0065 0.15-0.30 0.0049 0.25
สังกะสี

Prepared by Assist. Prof. Dr. Krit Chaimoon


12

ตัวอยางที่ 3.1 คานตอเนื่องสองชวง การดึงเหล็็กกระทําที่ปลาย A ซึ่งมีแรงดึง


เทากับ 45,000 kg จงหาขนาดของแรงดึงที่ตําแหนงตางๆ ถาสัมประสิทธิ์
แรงเสียดทาน µ =0.3 และสัมประสิทธิ์ความคด k=0.0007 /kg/m / /
C
P A E
60 cm 60 cm
60 cm
B D

18 m 18 m 18 m 18 m

Prepared by Assist. Prof. Dr. Krit Chaimoon


… กรณีแนวเหล็กเสริมเปนเสนโคงพาราโบลา เราจะหาคามุมระหวางจุดตัด
ของเสนสัมผัสที่ปลายคานทั้งสองขางไดดังนี้
13

A ex ec B
θ θ
α = 2θ
x L/2-x
L
L

( ec − e x ) / ( L / 2 − x ) = ec / ( L / 2 ) θ ( x ) = ((4ec / L2 ) ( L − 2x )
2 2

e x = 4ec / L2 ⎡⎣ L2 / 4 − (L / 2 − x) 2 ⎤⎦ θ ( 0 ) = 4ec / L

θ ( x ) = de x / dx α = 2θ ( 0 ) = 8ec / L

Prepared by Assist. Prof. Dr. Krit Chaimoon


14

3.2 แรงเสือ่ มลดเนือ่ งจากการเคลือ่ นตัวในสมอยึ


ใ ด
… เกิดขึ้นเฉพาะในคอนกรีตอัดแรงแบบดึงเหล็กทีหลัง

… ภายใต แ รงอั ด สมอยึ ด จะเกิ ด การเคลื่ อ นตั ว ซึ่ ง เรี ย กว า ระยะเข า ที่ เป น

สาเหตทํทาใหเกดแรงเสอมลดแรงอด
สาเหตุ าใหเกิดแรงเสื่อมลดแรงอัด
… ในสมอยึดที่มีรูปกรวยตัวลิ่มผาซีกจะเคลื่อนที่ประมาณ 3 mm กอนที่ฟน
ลิ่ ม จ ยึ ด แน น สาหรบสมอยดชนดแผนแบกทานการเคลอนตวม
ลมจะยดแนน สํ า หรั บ สมอยึ ด ชนิ ด แผ น แบกทานการเคลื่ อ นตั ว มี
คาประมาณ 0.75 mm
… หนวยแรงเสื่อมลดคํานวณไดจาก

C = ∆f s = E s ∆εεs = E s ∆ a / l
ANC
Prepared by Assist. Prof. Dr. Krit Chaimoon
3 3 แรงเสือื่ มลดเนือื่ งจากการหดตััดแบบอิลิ าสติกิ
3.3
15

… ขณะถายแรง คานจะหดตัวทันทีภายใตแรงอัด เหล็กเสริมอัดแรงจะหดตัว


ตามไปด ว ย โดยการเปลี่ ย นแปลงความเครี ย ดของเหล็ ก จะเท า กั บ ของ
คอนกรีตที่ระดับจุดศูนยถวงของเหล็กเสริม นั่นคือ
∆εs = ∆ε cs = f cs / E ci
ES = E s ∆εs = (E s / E ci )f cs = nf cs
ES คืคออ หนวยแรงเสอมลดเนองจากการหดตวแบบอลาสตก
หนวยแรงเสื่อมลดเนื่องจากการหดตัวแบบอิลาสติก
Eci คือ โมดูลัสยืดหยุนของคอนกรีตขณะถายแรง
f cs = P0 / A + P0 e 2 / I − M g e / I
P0 คือ แรงอัดแรกเริ่ม
Prepared by Assist. Prof. Dr. Krit Chaimoon
16

… ใในแบบดึงเหล็็กกอน ปกติจะเริ่มจากการสมมุติให P0 = 0.9Pi แลว


คอยตรวจสอบและสมมุติใหมจนกวาคาที่สมมุติจะใกลเคียงกับคาที่ไดจาก
การคํานวณ สวนคานแบบดึงเหล็กทีหลัง มักจะให P0 มีคาเทากับ
แรงอัดที่เหลือหลังจากหักแรงเสื่อมลดเนื่องจากการเคลื่อนตัวของลิ่มแลว
และไมตองทําการตรวจสอบ
… การวิเคราะหแรงเสื่อมลดเนื่องจากการหดตัวแบบอิลาสติก ตามปกติจะ
คํานวณที่หนาตัดซึ่งเกิดโมเมนตดัดมากที่สดุ
… สําหรับแบบดึงเหล็กทีหลัง แรงเสอมลดในเหลกเสรมอดแรงเสนตางๆ
สาหรบแบบดงเหลกทหลง แรงเสื่อมลดในเหล็กเสริมอัดแรงเสนตางๆ มีม
คาไมเทากัน

Prepared by Assist. Prof. Dr. Krit Chaimoon


17

… ขณะทีดี่ ึงเหล็ก็ เสนหนึง่ึ ๆ จะไม


ไ เกิดแรงเสืือ่ มลดในเหล็
ใ ็กเสนนั้น ทั้งนีเี้ พราะ
เราวัดแรงดึงภายหลังที่การหดตัวเกิดขึ้นแลว แรงเสื่อมลดจะเกิดขึ้นเมื่อเรา
ดึงเหล็กเสนถัดไปแตละเสน เชน ในเหล็กเสนที่หนึ่ง จะเกิดแรงเสื่อมลด
เมื่อดึงเหล็กเสนที่สองจนถึงเสนสุดทาย ดังนั้นจะเกิดแรงเสื่อมลดมากที่สุด
และเหล็กเสนสุดทายจะไมมีแรงเสื่อมลดเลย
… คาแรงเสื่อมลดเฉลี่ยในเหล็กเสริมทั้งหมดในคานแบบดึงเหล็กทีหลังจะ
นอยกวาคานแบบดึงเหล็กกอน
… ในทางปฏิบัติเราถือวาคาเฉลี่ยของแรงเสื่อมลดในเหล็กทกเส
ในทางปฏบตเราถอวาคาเฉลยของแรงเสอมลดในเหลกทุ กเสนมคาเปน
นมีคาเปน
ครึ่งหนึ่งของแรงเสื่อมลดที่เกิดขึ้นในเหล็กเสนที่หนึ่ง

Prepared by Assist. Prof. Dr. Krit Chaimoon


3 4 แรงเสอมลดเนองจากการคบ
3.4 แรงเสื่อมลดเนือ่ งจากการคืบ
18

… ACI-ASCE เสนอสูตรการคํานวณหนวยแรงเสื่อมลดดังนี้
CR = K cr ( E s / E c )( f cs − f cds
d )

CR = หนวยแรงเสื่อมลดเนื่องจากการคืบ
Kcr = 2.0 สําหรับคานแบบดึงเหล็กกอน
6 สําหรับคานแบบดึงเหล็กทีหลัง
1.6
fcds = หนวยแรงในคอนกรีตที่ระดับจุดศูนยถวงของเหล็กเสริม
เนือื่ งจากแรงถาวรทงหมดภายหลงจากสภาวะถายแรงอด
ั้ ั  ั
Ec = โมดูลัสยืดหยุน ของคอนกรีตทีอ่ ายุ 28 วัน
Prepared by Assist. Prof. Dr. Krit Chaimoon
3 5 แรงเสอมลดเนองจากการหดตว
3.5 แรงเสื่อมลดเนือ่ งจากการหดตัว
19

… คาความเครียดหดตัวประสิทธิผลสามารถคํานวณไดจาก
คาความเครยดหดตวประสทธผลสามารถคานวณไดจาก
εsh = 8.2 × 10−6 (1 − 0.024V / S)(100 − H )

… ACI-ASCE เสนอสูตรการคํานวณหนวยแรงเสื่อมลดดังนี้
8 2 × 10−6 K sh E s (1 − 00.024V
SH = 8.2 024V / S)(100 − H )
SH = หนวยแรงเสื่อมลดเนื่องจากการหดตัว
Ksh = คา % ของความเครียดหดตัวประสิทธิผล
V/S = อัตราสวนปริมาตรตอพื้นที่ผิว หน
อตราสวนปรมาตรตอพนทผว วยเปน cm
หนวยเปน
H = ความชื้นสัมพัทธของบรรยากาศ หนวยเปน %

Prepared by Assist. Prof. Dr. Krit Chaimoon


20

ตารางที่ 3.4 คาสัมประสิทธิ์ Ksh สําหรับคานแบบดึงึ เหล็ก็ ทีหลัง

ระยะเวลาหลงการบม
ระยะเวลาหลั งการบม
1 3 5 7 10 20 30
ถึงขณะถายแรง (วัน)
Ksh 0.92 0.85 0.80 0.77 0.73 0.64 0.58

‰ สํสาหรบคานแบบดงเหลกกอน
าหรับคานแบบดึงเหล็กกอน คา คา Ksh = 1.00
1 00 เนองจากการตดลวด
เนือ่ งจากการตัดลวด
เพื่อถายแรงมักจะกระทําเมื่ออายุคอนกรีตนอยๆ ซึ่งการหดตัวมีมาก

Prepared by Assist. Prof. Dr. Krit Chaimoon


3 6 แรงเสอมลดเนองจากการคลายแรงดงของเหลกเสรม
3.6 แรงเสื่อมลดเนือ่ งจากการคลายแรงดึงของเหล็กเสริม
21

… ไ (fps)
ปริมาณแรงดึงทีล่ ดลงขึ้นอยูกับระดับของหนวยแรงดึงที่ดึงคางไว
และระยะเวลาในการคางแรงดึงเหล็ก
… fps = หนวยแรงดึงแรกเริ่ม (fpi) สําหรับแบบดึงเหล็กกอน
หนวยแรงดีงหรืออัดแมแรง (fpjj) ลบหนวยแรงเสอมลด
หนวยแรงดงหรออดแมแรง ลบหนวยแรงเสื่อมลด
เนื่องจากแรงเสียดทานและการเคลื่อนตัวเขาที่ของสมอยึด
สําหรับแบบดึงเหล็ก็ ทีหลัง

Prepared by Assist. Prof. Dr. Krit Chaimoon


22

f ps
f py สําหรับลวดอัดแรง
f pe และลวดเกลียวอัด
,%
f pe / f ps = 1 − log t /10 ( f ps / f py − 0.55 )
f ps แรงชนิดผอนคลาย
หนว ยแรง (stress-
(
relieved)

Prepared by Assist. Prof. Dr. Krit Chaimoon


23

… ใในกรณีีตองการลดแรงเสื่ือมลดเนืื่องจากการคลายแรงดึึงอาจเลืือกใช
ใ ลวด
ชนิดคลายแรงดึงต่ํา (low relaxation) อยางไรก็ตามลวดชนิดนี้มี
ราคาสูงกวาลวดชนิดผอนคลายหนวยแรง (stress-relieved)
… ACI-ASCE เสนอสููตรการคํานวณแรงเสื่อมลดดังนี้
RE = {K re − J ( SH + CR + ES)} C

Kre, J และ C เปนคาสัมประสิทธิ์

Prepared by Assist. Prof. Dr. Krit Chaimoon


24

ตารางที่ 3.5 คาสัมประสิทธิ์ Kre และ J ตามมาตรฐาน ACI-ASCE


Kre
ชนิดิ ของเหล็็กอดแรง*
ั * J
N/mm2 (ksc)
ลวดอัดแรงหรือลวดเกลียวอัดแรงชนิดผอนคลายหนวยแรง เกรด 270 137.9 (1,399) 0.15
ลวดอดแรงหรื
ั อื ลวดเกลีียวอดแรงชนดผอนคลายหนวยแรง
ั ิ   เกรด 250 127 7 (1,295.5)
127.7 (1 295 5) 0 14
0.14
ลวดอัดแรงชนิดผอนคลายหนวยแรง เกรด 240 หรือ 235 121.4 (1,231.6) 0.13
ลวดเกลียวอัดแรงชนิดคลายแรงดึงต่ํา เกรด 270
ลวดเกลยวอดแรงชนดคลายแรงดงตา 34 5 (350)
34.5 0 040
0.040
ลวดเกลียวอัดแรงชนิดคลายแรงดึงต่ํา เกรด 250 31.9 (323.6) 0.037
ลวดเกลียวอัดแรงชนิดคลายแรงดึงต่ํา เกรด 240 หรือ 235 30.3 (307.4) 0.035
* ชนิดของเหล็กอัดแรงเปนไปตามมาตรฐาน ASTM A416-74 หรือ ASTM A421-76 หรือ ASTM A722-75

Prepared by Assist. Prof. Dr. Krit Chaimoon


ตารางที่ 3.6 คาสัมประสิทธิ์ C ตามมาตรฐาน ACI-ASCE
fps / fpu ลวดอัดแรงหรือลวดเกลียวอัด ลวดอัดแรงหรือลวดเกลียวอัด
25
แรงชนิดผอนคลายหนวยแรง แรงชนิดคลายแรงดึงต่าํ
0.80 - 1.28
0.79 - 1.22
0 78
0.78 - 1 16
1.16
0.77 - 1.11
0 76
0.76 - 1 05
1.05
0.75 1.45 1.00
0.74 1.36 0.95
0.73 1.27 0.90
0.72 1.18 0.85
0.71 1.09 0.80
0.70 1.00 0.75

Prepared by Assist. Prof. Dr. Krit Chaimoon


fps / fpu ลวดอัดแรงหรือลวดเกลียวอัด ลวดอัดแรงหรือลวดเกลียวอัด
26
แรงชนิดผอนคลายหนวยแรง แรงชนิดคลายแรงดึงต่าํ
0.69 0.94 0.70
0.68 0.89 0.66
0 67
0.67 0 83
0.83 0 61
0.61
0.66 0.78 0.57
0 65
0.65 0 73
0.73 0 53
0.53
0.64 0.68 0.49
0.63 0.63 0.45
0.62 0.58 0.41
0.61 0.53 0.37
0.60 0.49 0.33

Prepared by Assist. Prof. Dr. Krit Chaimoon


3 7 การเปรยบเทยบแรงเสอมลดทงหมด
3.7 การเปรียบเทียบแรงเสื่อมลดทั้งหมด
27

… คาเฉลี่ยของแรงเสื่อมลดเปนดังนี้ (สําหรับคานแบบดึงเหล็กทีหลัง ยังไม



รวมแรงเสื่อมลดเนื่องจากการเสียดทานและการเขาที่ของลิ่มสมอยึด)
คานแบบดึงเหล็กกอน คานแบบดึงเหล็กทีหลัง
ES 4% 1%
CR 6% 5%
SH 7% 6%
RE 8% 8%
Total 25% 20%

Prepared by Assist. Prof. Dr. Krit Chaimoon

You might also like