You are on page 1of 12

6.

Shear Strength Design


1

6.1ลักษณะการวิบตั ขิ องคานซึ่งไม่เสริมเหล็กรับแรงเฉือน
 สาหรับคานที่ไม่ใช่คานลึก (อัตราส่วนความยาวช่วงต่อความลึกของหน้าตัด

คานไม่นอ้ ยกว่า 5.0)


(1) เมื่อเพิ่มแรงกระทาจนโมเมนต์ดดั กลางคานมากกว่า Mcr (Cracking
Moment) คานจะเริ่มแตกร้าวในแนวดิ่งบริเวณช่วงกลางคาน

(1.2)

(1.1)

Prepared by Assist. Prof. Dr. Krit Chaimoon


2

(2) เมื่อแรงเพิ่มขึ้ น รอยแตกร้าวจะเริ่มเกิดขึ้ นในช่วงการเฉือนของคาน ในตอนแรก


รอยร้าวจะอยูใ่ นแนวดิ่ง เมื่อเคลื่อนตัวสูงขึ้ นอิทธิพลของหน่ วยแรงเฉือนจะทาให้
รอยร้าวเบนออกในแนวทแยงมุม
รอยร้าวเฉือนดัดวิกฤต
(2.1) (2.2) (2.3)

เมื่อแรงมากขึ้ น รอยร้าวทแยงมุมที่ระยะห่างจากแรงกระทาอย่างน้อย d จะเป็ น


รอยร้าววิกฤต รอยร้าวนี้ จะเคลื่อนตัวผ่านบริเวณส่วนอัดจนถึงผิวบนของคาน ทา
ให้คานวิบตั ิ (การเฉือนดัด)ก่อนที่โมเมนต์ดดั จะมีค่าเท่ากับกาลังดัดประลัย

Prepared by Assist. Prof. Dr. Krit Chaimoon


3

การวิบตั ิของคานอีกลักษณะหนึ่ งเรียกว่า การเฉือนส่วนตัวแกน มักจะเกิดขึ้ นใน


คานที่ส่วนตัวแกนมีความหนาน้อย ในกรณีนี้จะเกิดรอยร้าวทแยงมุมในบริเวณ
ใกล้ๆ จุดรองรับที่ระดับจุดศูนย์ถ่วงคาน เนื่ องจากที่จุดรองรับ แรงเฉือนมีค่ามาก
และที่จุดศูนย์ถ่วงหน่ วยแรงเฉือนมีค่าสูงสุด รอยร้าวทแยงมุมลักษณะนี้ เรียกว่า
รอยร้าวเฉือนส่วนตัวแกน โดยจะเกิดในแนวทามุม 45 กับแนวแกนและ
เคลื่อนตัวไปยังปี กบนและปี กล่างของคาน ในที่สุดคานจะวิบตั ิเนื่ องจากการ
สูญเสียการยึดเหนี่ ยวของเหล็กเสริม หรือคานอาจจะวิบตั ิเนื่ องจากการปริของ
เนื้ อคอนกรีตใต้ปีกบน
Prepared by Assist. Prof. Dr. Krit Chaimoon
4

6.2 กาลังเฉือนตามวิธีของ Macgregor และ Hanson


 โดยหลัก การ ในการวิ เ คราะห์ห าก าลั ง เฉื อ นที่ ห น้ า ตัด ใดๆ เราจะต้อ ง

คานวณทั้งกาลังเฉือนดัด และกาลังเฉือนส่วนตัวแกนแล้วใช้ค่าที่น้อยกว่า
เป็ นตัวควบคุม อย่างไรก็ตาม กาลังเฉือนของคานที่หน้าตัดใดๆ สามารถ
ประมาณได้โดยใช้วธิ ีของ Macgregor และ Hanson

Prepared by Assist. Prof. Dr. Krit Chaimoon


5

 วิธีของ Macgregor และ Hanson มีขอ้ จากัดว่า แรงดึงประสิทธิผลใน


เหล็กเสริมจะต้องมีคา่ ไม่น้อยกว่า 40% ของแรงดึงประลัย

0.53 fc  vc  0.16 fc  49Vu d / Mu  1.33 fc

เมื่อ vc = หน่ วยแรงเฉือนที่คอนกรีตจะรับได้ ณ ตาแหน่ งที่พิจารณา (ksc)


Vu = แรงเฉือนสูงสุดที่หน้าตัดที่พิจารณา (kg)
Mu = โมเมนต์ดดั สูงสุดที่หน้าตัดที่พิจารณา (kg-cm)
d = ความลึกประสิทธิผลของหน้าตัด (cm)

Prepared by Assist. Prof. Dr. Krit Chaimoon


6

ตัวอย่างที่ 6.1 คานช่วงเดี่ยวธรรมดาแบบดึงเหล็กก่อนยาว 12 m มีหน้าตัด


เป็ นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าขนาด 5075 cm2 มีแนวจุดศูนย์ถ่วงของเหล็ก
เสริมแสดงในรูป เหล็กเสริมประกอบด้วยเหล็กเกลียวอัดแรงเกรด 270K
ขนาด  12.7 mm จานวน 16 เส้น แรงอัดคานประสิทธิผลเท่ากับ
146,000 kg มีแรงกระทาสมา่ เสมอเท่ากับ 2,000 kg/m ตลอด
ความยาวของคาน นอกเหนื อจากน้ าหนั กคาน คอนกรี ตมีกาลังอัดประลัย
เท่ากับ 350 kg/cm2 จงวิเคราะห์กาลังเฉือนที่หน้าตัด ก-ก ซึ่งมีระยะ
1.20 m จากจุดรองรับโดยวิธีของ Macgregor และ Hanson

Prepared by Assist. Prof. Dr. Krit Chaimoon


7

6.2 การออกแบบเหล็กเสริมรับแรงเฉือน
 หน้าตัดวิกฤตสาหรับแรงเฉือนมีระยะเท่ากับ h/2 จากขอบของฐานรองรับ (h =
ความลึกของหน้าตัด)
 แรงเฉือนจะต้านทานด้วยกาลังเฉือนของคอนกรีตและด้วยเหล็กเสริม
Vu    Vc  Vs 

เมื่อ  = ตัวคูณลดกาลังมีค่า = 0.85 สาหรับการเฉือน


Vu = แรงเฉือนสูงสุด
Vc = กาลังเฉือนของคอนกรีต
Vs = แรงเฉือนส่วนที่รบั ด้วยเหล็กเสริมรับแรงเฉือน
Prepared by Assist. Prof. Dr. Krit Chaimoon
8

 ถ้าเหล็กเสริมรับแรงเฉือนทุกเส้นมีระยะห่างกัน s และเอียงทามุม  กับ


เหล็กเสริมรับแรงดึง ดังรูปจะได้วา่
A vf yd  sin   cos  
Vs 
s

เมื่อ Av = พื้ นที่หน้าตัดของเหล็กเสริมรับแรงเฉือนในหนึ่ งแนว


fy = กาลังดึงที่จุดครากของเหล็กเสริมรับแรงเฉือน

PrestressMSU Prepared by Dr. Krit Chaimoon


9

 สาหรับเหล็กเสริมในรูปของเหล็กลูกตั้งฉาก มุม  = 90 จะได้


A vf yd
Vs =
s
 มาตรฐาน ACI กาหนดค่าสูงสุดของหน่ วยแรงเฉือนในเหล็กไว้ดงั นี้
Vs
vs   2.12 fc
bw d

เมื่อ bw = ความกว้างของส่วนตัวแกน

Prepared by Assist. Prof. Dr. Krit Chaimoon


10

 มาตรฐาน ACI กาหนดระยะห่างระหว่างเหล็กเสริมรับแรงเฉือนไว้ดงั นี้


0.75h
s  
60 cm
แต่ถา้ Vs  1.06 fc bw d ระยะ s ต้องมีค่าไม่เกินครึ่งหนึ่ งของค่าข้างต้น

 มาตรฐาน ACI กาหนดว่าที่หน้าตัดซึ่งมีค่า Vu มากกว่า 0.5Vc แต่


น้อยกว่า Vc ให้เสริมเหล็กรับแรงเฉือนด้วยปริมาณเหล็กเสริมรับแรง
เฉือนตา่ สุด Av,min

Prepared by Assist. Prof. Dr. Krit Chaimoon


11

 ปริมาณเหล็กเสริมรับแรงเฉือนตา่ สุด Av,min กาหนดโดยมาตรฐาน ACI


3.5b w s
A v,min  ; fpe  0.40fpu
fy

 A ps   f pu  s  d
A v,min      ; f pe  0.40f pu
 80   f y   d  bw

เมื่อ Aps = พื้ นที่เหล็กเสริมตามยาว (cm2)


fpu = กาลังดึงประลัยของเหล็กเสริมตามยาว (ksc)

Prepared by Assist. Prof. Dr. Krit Chaimoon


12

ตัวอย่างที่ 6.2 จงออกแบบเหล็กเสริมรับแรงเฉือนที่หน้าตัด ก-ก ของคานใน


ตัวอย่าง 6.1 ถ้ากาหนดให้ fy = 2800 kg/cm2

Prepared by Assist. Prof. Dr. Krit Chaimoon

You might also like