You are on page 1of 50

ระดับความเหนียว ระดับตาง ๆ ตาม มยผ.

1301-1302-61
รองศาสตราจารย ดร สายันต ศิริมนตรี
หลักการออกแบบอาคาร

1 โครงสรางตอง มีกําลังตานทานเพียงพอ (Strength)

2 โครงสรางตอง ไมมีการเคลื่อนที่ดานขางมากเกินกําหนด (Stiffness)

3 โครงสรางตอง มีความสามารถในการเสียรูปในชวงที่เกินกวา Elastic


กอนการวิบัติ (Ductility)
ความเหนียว (Ductility)

ความสามารถในการเสียรูปของโครงสรางกอนที่จะเกิดการวิบัติ หรือ
ความสามารถในการดูดซับพลังงานที่เกิดจากรับแรงเกินกวาชวง Elastic ของ
โครงสราง

การออกแบบนอกจากจะคํานึงถึง Strength , Stiffness แลวยังตอง


พิจารณาออกแบบใหโครงสรางมีความเหนียวตามมาตรฐาน การใหรายละเอียดของ
โครงสรางมีผลตอ ความเหนียว ของโครงสราง
คานทั้ง 3 Fail ดวย Bending

เสริมเหล็กปลอกเพียงพอตอการตานแรงเฉือน
Spacing =S

เสริมเหล็กปลอกเพียงพอตอการตานแรงเฉือน
Spacing =S/2

เสริมเหล็กปลอกเพียงพอตอการตานแรงเฉือน
Spacing =S/4

แหลงที่มา : Seismic Design Applications of Building structure, Dr Mongkol Jirawacharadet


การวัดค่าของความเหนียว


Ductility  1
y

u
Ductility at failure u 
y

Ductility Demand m
m 
ขณะเกินแผ่นดินไหว y

แหลงที่มา : Seismic Design Applications of Building structure, Dr Mongkol Jirawacharadet


มยผ1301-1302-61
“โครงตานแรงดัดที่มีความเหนียวปานกลางหรือความเหนียวจํากัด” (Ductile
Moment-Resisting Frame with Limited Ductility/ Intermediate Moment-
Resisting Frame) หมายถึง โครงตานแรงดัด ที่มีรายละเอียดการเสริมเหล็กเพื่อให
โครงสรางมีความเหนียวปานกลางหรือความเหนียวจํากัด โดย รายละเอียดการเสริมเหล็ก
ของโครงตานแรงดัดคอนกรีตเสริมเหล็กที่มีความเหนียวดังกลาวใหเปนไปตาม บทที่ 5 ของ
มาตรฐานนี้
“โครงตานแรงดัดที่มีความเหนียวพิเศษ” (Ductile/Special Moment-Resisting
Frame: SMRF) หมายถึง โครงตานแรงดัดของอาคารที่ไดรับการจัดระบบโครงสรางที่ดี มี
การออกแบบเพื่อใหการวิบัติเชิงดัด (Flexural Failure) เกิดขึ้นในคานเปนสําคัญ โดย
รายละเอียดการเสริมเหล็กของโครงตานแรงดัดคอนกรีตเสริมเหล็กที่ มีความเหนียวดังกลาว
ใหเปนไปตามบทที่ 5 ของมาตรฐานนี้
ชนิดของโครงตานการดัดตามประเภทการออกแบบแผนดินไหว
ประเภทของการออกแบบ ชนิดของโครงสร้างต้านการดัด
แผ่นดินไหวตามระดับความรุ นแรง
ก ไม่ตอ้ งพิจารณาออกแบบแผ่นดินไหว
ข โครงธรรมดา หรือ
โครงเหนียวปานกลาง หรือ
โครงเหนียวพิเศษ
ค โครงเหนียวปานกลาง หรือ
โครงเหนียวพิเศษ
ง โครงเหนียวพิเศษ
โครงตานการดัดแบบธรรมดา
( แบบ ข )
เหล็กเสริมตามยาวรับ M ใน คาน ทั้งบนและลาง ตองมีเหล็กเสริมอยางนอย 2
เสน วางตลอดแนวคานโดยตองมีระยะฝง (Development length) เพียงพอที่
หนวยแรงในเหล็กเสริมจะสามารถ Develop หนวยแรงจนถึง fy ได

เสาทีมีความสูงจากพื้นถึงทองคาน (Clear length) ไมเกิน 5 เทาของ C1 ตอง


ตรวจสอบกําลังตานแรงเฉือนของเสา เหมือนในกรณี โครงตานการดัดเหนียวปาน
กลาง

เมื่อ C1 คือ ระยะของเสาตามทิศทางของชวงที่กําลังพิจารณา


โครงตานการดัดแบบเหนียวปานกลาง
( แบบ ค )
Ag f c'
กรณีแรงตามแนวแกนที่เพิ่มคาแลว (Factored Load) Pu 
10
ให เสริมเหล็กแบบคาน
แตถาเกินกวานั้น ใหเสริมเหล็กแบบเสา

กําลังตานแรงเฉือน Vn ของ คานและเสา สําหรับตานทานแรงแผนดินไหว E


ตองไมนอ ยกวา คานอยของสองคาดังนี้
1 ผลรวมของแรงเฉือนที่เกิดจาก กําลังตานโมเมนตดัด ที่ปลายคานหรือเสา และ
แรงเฉือน ที่เกิดจากน้ําหนักบรรทุกเนื่องจากแรงโนมถวง (Gravity load)

2 แรงเฉือน สูงสุดที่ไดจาก Design Load Combination ที่มแี รงแผนดินไหว E


โดยการสมมติให E มีคาเปนสองเทาของที่กําหนดในมาตรฐาน
Vu  Vn
Vn   0.53 f c'

แหลงที่มา : Seismic Design Applications of Building structure, Dr Mongkol Jirawacharadet


การเสริมเหล็กในคานในโครงสรางแบบเหนียวปานกลาง

กําลังตานโมเมนตบวกที่ขอบของจุดตอ จะตองไมนอยกวา 1/3 ของกําลังตาน


โมเมนตลบที่ตําแหนงเดียวกัน

กําลังตานโมเมนตลบและบวกที่หนาตัดใดตลอดความยาวคานคาน ตองไมนอย
กวา 1/5 ของกําลังตานโมเมนตสงู สุดที่ขอบของจุดตอ
ระยะที่ปลายคานวัดจากผิวจุดตอเปนระยะ 2 เทาของความลึกคาน (2h) ตองเสริม
เหล็กปลอกให ระยะเรียงของเหล็กปลอก S1 ไมเกินกวาคานอยที่สุดของคาดังตอไปนี้

- 3/4 เทาของความลึกประสิทธิผลของคาน (3/4d)


- 8 เทาของเสนผาศูนยกลางที่เล็กที่สุดของเหล็กเสริมตามยาว
- 24 เทาของเสนผาศูนยกลางของเหล็กปลอก
- 300 มม.
การเสริมเหล็กคานในโครงสรางแบบ ความเหนียวจํากัดหรือปานกลาง

แหลงที่มา : Seismic Design Applications of Building structure, Dr Mongkol Jirawacharadet


การเสริมเหล็กในเสาในโครงสรางแบบเหนียวปานกลาง
เสาปลอกเดี่ยว
ที่ปลายทั้งสองขางของเสาใหเสริมเหล็กปลอกปด (Closed stirrup) ระยะเรียง
So ตลอดความยาว lo วัดจากผิวของจุดตอ

So ตองไมเกินคานอยที่สุดของคาตอไปนี้
- 1/2 เทาของหนาเสาที่เล็กที่สุด
- 8 เทาของเสนผาศูนยกลางที่เล็กที่สดุ ของเหล็กเสริมตามยาว
- 24 เทาของเสนผาศูนยกลางของเหล็กปลอก
- 300 มม.
เหล็กปลอกแรกจะตองอยูหางจากผิวจุดตอไมเกิน 0.5So
lo ตองไมนอยกวาคามากที่สุดของคาตอไปนี้
- 1/6 ของความสูงเสาวัดจากพื้นถึงทองคาน (Clear length)
- ขนาดใหญสุดของหนาตัดเสา
- 500 มม.
กรณีเสาปลอกเกลียวการเสริมเหล็กรับแรงอัดใหเปนไปตามมาตรฐาน วสท

จุดตอระหวางเสาและคาน หรือ ระหวางเสาและแผนพื้นไรคาน ตองเสริมเหล็ก


ปลอกเปนปริมาณไมนอยกวา
c1 s
Av  3.5
fy

เสริมในเสาใหมีระยะไมนอยกวาความลึกของคานที่มากที่สุดที่จุดตอนั้น
แหลงที่มา : Seismic Design Applications of Building structure, Dr Mongkol Jirawacharadet
จุดตอระหวางคานและเสา ในโครงเหนียวปานกลาง

ตองตรวจสอบแรงเฉือนในจุดตอระหวางคานและเสา โดยเฉพาะอยางยิ่ง
โครงตานการดัด (Moment Resisting Frame) ขนาดของเสาจะถูกควบคุม
ดวยแรงเฉือนที่จดุ ตอ

แรงเฉือนที่จุดตอไดจากการพิจารณากําลังตานโมเมนตดัดของคานที่จุด
ตอ (ดูรูปประกอบ)
V j  Vn
แหลงที่มา : Seismic Design Applications of Building structure, Dr Mongkol Jirawacharadet
  0.85

Vn  5.3 f A j c
' Vn  4.0 f c' A j

พืนทีต้านแรงเฉือนในแนวนอน
ประสิทธิผลของจุดต่อ
Vn  3.2 f c' A j
แหลงที่มา : Seismic Design Applications of Building structure, Dr Mongkol Jirawacharadet
พืนทีต้านแรงเฉือนในแนวนอน
ประสิทธิผลของจุดต่อ

แหลงที่มา : Seismic Design Applications of Building structure, Dr Mongkol Jirawacharadet


จุดตอจะถือวาไดรับการยึดจากคานเมื่อ

คานที่มาตอมีความกวางไมนอยกวา ¾ ของความกวางของเสาดานที่
คานมาตอ

ความลึกไมนอยกวา ¾ ของความลึกคานที่มากที่สุดที่มาตอกัน
โครงสร้ างต้ านการดัดแบบเหนียวพิเศษ
(Special Moment Resisting Frame : SMRF )
โครงสร้างต้องมีความสามารถต้านทานแรงกระทําด้านข้างเนืองจาก
แผ่นดินไหวในช่วงทีเกินกว่า Elastic และต้องมีความสามารถในการเคลือนที
ได้มาก หรื อ Absorb พลังงานได้มาก ก่อนการวิบตั ิ
การโอบรัดของเหล็กปลอก (Confinement) จะช่วยเพิมความสามารถใน
การเสี ยรู ปก่อนการวิบตั ิ
เสาปลอกเกลียวจะเหนียวกว่าเสาปลอกเดียวเนืองจากประสิ ทธิภาพการ
โอบรัดของเหล็กปลอกต่อคอนกรี ตแกนกลางจะดีกว่า
ระยะเรี ยงของเหล็กปลอกจะต้องไม่มากจนส่งผลต่อประสิ ทธิ ภาพของการ
โอบรัดของเหล็กปลอก
เสาแข็งแรง/คานออนแอ
(Strong Column/Weak beam )

แหลงที่มา : Seismic Design Applications of Building structure, Dr Mongkol Jirawacharadet


เสาในอาคารที่มีความออนแอการเคลื่อนตัวสัมพัทธจะมีมากที่บางชั้น
และอาจเกินคาความสามารถในการโยกตัวของเสา

แตถาเสาแข็งแรงตลอดความสูงของอาคารการโยกตัวจะกระจาย
สม่ําเสมอ

การวิบัติของเสามีความรายแรงมากกวาคาน มาตรฐานจึงกําหนดใหเสามี
ความแข็งแรงมากกวาคานที่มาตอกัน
กําลังตานโมเมนตดดั
ในการออกแบบตานแผนดินไหวจะมีกาํ ลังตานโมเมนตดัด สองระดับ

 a f y As
Nominal Moment Strength M n  f y As  d   , a 
 2 0.85 f c b

 a 1.25 f y As
Probable Moment Strength M pr  1.25 f y As  d   , a 
 2 0.85 f c b

เนื่องจากผลการทดสอบแรงดึงเหล็กสวนใหญ fs มีคา มากกวา fy และมีผลของ


Strain hardening เมื่อจุดตอเปนแบบ Plastic fs ที่ใชคํานวณจึงใช 1.25fy
Mpr จะใชในการคํานวณแรงเฉือนออกแบบสําหรับโครงตานการดัดแบบเหนียว
พิเศษ
องคอาคารดัดในโครงตานการดัดแบบเหนียวพิเศษ
Ag f c'
ถา Factored axial load P 
u ใหเสริมเหล็กแบบคาน ถามากกวา
10
ใหเสริมใหเสริมเหล็กแบบเสา
Clear Span (ln) ตองไมนอยกวา 4d เมื่อ d = Effective depth
แหลงที่มา : Seismic Design Applications of Building structure, Dr Mongkol Jirawacharadet
การเสริมเหล็กตามยาวในคาน
เหล็กเสริมตามยาวรับ M ในคานทั้งบนและลาง ตองมีเหล็กเสริมอยางนอย 2
เสน วางตลอดแนวคานโดยตองมีระยะฝง (Development length) เพียงพอที่หนวย
แรงในเหล็กเสริมจะสามารถ Develop หนวยแรงจนถึง fy ได
f c' 14
As และ As’ ที่หนาตัดใด ตองไมนอยกวา 0.8 bw d แตไมนอยกวา bw d
fy fy
As
อัตราสวนเหล็กเสริม  ตองมีคาไมเกิน 0.025
bd

กําลังรับโมเมนตบวกที่ผิวจุดตอคาน-เสา ตองมีคาไมนอยกวา ½ เทาของกําลังตาน


โมเมนตลบ
กําลังตานโมเมนตลบและบวกที่หนาตัดใดๆตลอดความยาวคานตอง ไมนอยกวา
¼ ของกําลังตานโมเมนตดัดที่มากที่สุดที่ผิวของจุดรองรับ

การตอทาบเหล็กตองมีระยะทาบเพียงพอที่จะถายแรงดึงไดมากที่สุด โดยมีเหล็กปลอกปด หรือ


เหล็กปลอกเกลียวตลอดระยะทาบ ระยะหางของเหล็กปลอกตองไมเกิน d/4 หรือ 10cm (เอาคา
นอย)

การตอทาบตองไมทาํ :
ภายในจุดตอ
ภายในชวง 2h จากผิวเสา (h=ความลึกคาน)
ตําแหนงที่เกิดการครากจากการดัดที่ไดจากผลการวิเคราะหโครงสรางในชวงอินอิลาสติก
การเสริมเหล็กตามยาวในคานสําหรับโครงตานการดัดแบบเหนียวพิเศษ

แหลงที่มา : Seismic Design Applications of Building structure, Dr Mongkol Jirawacharadet


คานค่อนข้างยาว
คานค่อนข้างสันและ Gravity Load
หรื อGravity Load ค่อนข้างมากเมือเทียบ
ค่อนข้างตําเมือเทียบ กับแรงแผ่นดินไหว
กับแรงแผ่นดินไหว จะเกิดพฤติกรรมไม่
พึงประสงค์ความ
เสี ยหายรุ นแรงภายใต้
แผ่นดินไหวช่วงยาว

เพือหลีกเลียงพฤติกรรมทีไม่พึงประสงค์ M pr  M pr  wu  2n / 2


แหลงที่มา : Seismic Design Applications of Building structure, Dr Mongkol Jirawacharadet
เหล็กเสริมตามขวาง
เหล็กปลอกทําหน้าทีหลักคือโอบรัดคอนกรี ตช่วยรองรับด้านข้าสําหรับเหล็กเสริ มตามยาว
ในบริ เวณทีคาดว่าจะมีการครากและเพิมกําลังรับแรงเฉื อน

แหลงที่มา : Seismic Design Applications of Building structure, Dr Mongkol Jirawacharadet


ทีระยะ 2 เท่าของความลึกคาน (2h) วัดจากผิวเสาต้องเสริ มเหล็กปลอกให้มีระยะเรี ยง s1
ไม่เกินกว่าค่าน้อยทีสุดของ 3 ค่าดังนี
1/4d , 6 เท่าของเส้นผ่าศูนย์กลางเหล็กตามยาวทีเล็กทีสุด และ 150 มิลลิเมตร

เหล็กปลอกแรกอยูห่ ่ างจากผิวจุดต่อไม่เกิน 50 มิลลิเมตร

เหล็กปลอกต้องมีการงอขอสําหรับปลอกปิ ด (Hoop) หรื อเหล็กยึดข้าม (Crosstie) ด้วย


การดัดมุมไม่นอ้ ยกว่า 135 องศาโดยมีส่วนปลายยืนออกไปไม่นอ้ ยกว่า 6เท่าของ
เส้นผ่าศูนย์กลางของเหล็กปลอกและไม่นอ้ ยกว่า 7.5 ซม
แรงเฉือนออกแบบ
เมือโครงสร้างเคลือนตัวในช่วง Inelastic จะสมมติให้เหล็กเสริ มมีการครากซึงเป็ น Upper
bound เพือใช้ในการคํานวณแรงเฉื อน Ve โดยสมมติวา่ ปลายคานจะเกิดโมเมนต์ Mpr ขึน
ทีปลายคานติดกับผิวเสา

แหลงที่มา : Seismic Design Applications of Building structure, Dr Mongkol Jirawacharadet


แหลงที่มา : Seismic Design Applications of Building structure, Dr Mongkol Jirawacharadet
 a 1.25 f y As
Probable moment strength M pr  1.25 f y As  d   , a 
 2 0.85 f c b

แทนค่า a แล้วจัดเทอมใหม่จะได้   fy 
M pr  1.25  f y bd 1 
2

 1.36 f 
c 

M pr1  M pr 2
แรงเฉื อนคํานวณจากกําลังรับโมเมนต์ทีปลายคาน Vsway 
n

แรงเฉื อนจาก Factored gravity load wu  n


Vg 
2

แรงเฉื อนทีใช้ออกแบบ Ve  Vg  Vsway


การออกแบบเสาในโครงแบบเหนียวพิเศษ
ขนาดเล็กทีสุดของเสาวัดผ่านจุด CG ของเสา 30ซม
อัตราส่วนระหว่างด้านสันต่อด้านยาวไม่นอ้ ยกว่า 0.4

เสาแข็งแรงคานอ่อนแอ ( Strong column-Weak beam)


ต้องการให้ Plastic hinge เกิดขึนในคาน เพราะเสาต้องรับนําหนักสะสม การวิบตั ิทีเสาจะ
ส่งผลต่อการพังของโครงสร้าง

การทีเสาจะเป็ นไปตามเงือนไขนี ผลรวมของกําลังต้านโมเมนต์ดดั ระบุในเสาต้องไม่นอ้ ย


กว่า 1.2 เท่า ของผลรวมของกําลังต้านโมเมนต์ดดั ระบุของคาน
แหลงที่มา : Seismic Design Applications of Building structure, Dr Mongkol Jirawacharadet
เหล็กเสริมยืนในเสา
-อัตราส่วนเหล็กเสริ มยืนต่อหน้าตัดเสาต้องไม่นอ้ ยกว่า 1% และไม่เกิน 6%
-เสาปลอกเกลียวต้องมีเหล็กยืนอย่างน้อย 6 เส้น
-เนืองจาก Plastic hinge มักเกิดขึนทีปลายเสา การต่อเหล็กจึงควรทําบริ เวณกึงกลางความ
สูงเสาการกลับทิศของแรงจะน้อยกว่าทีปลายเสา
เหล็กเสริมทางขวาง (เหล็กปลอก) ในเสา
-ทีระยะ lo วัดจากแต่ละปลายเสาต้องเสริ มเหล็กปลอกปิ ดหรื อปลอกเกลียว เพือโอบรัด
คอนกรี ตและช่วยชะลอการโก่งเดาะของเหล็กยืน lo ต้องมีระยะไม่นอ้ ยกว่า
1/6 ของความสู งของเสาจากพืนถึงท้องคาน (Clear height)
ขนาดใหญ่สุดของหน้าตัดเสา
500 มม
แหลงที่มา : Seismic Design Applications of Building structure, Dr Mongkol Jirawacharadet
- ระยะห่างของเหล็กปลอกในช่วง lo ต้องไม่เกินกว่าค่าทีน้อยทีสุดของค่าต่อไปนี
- ¼ ของด้านแคบเสา
- 6 เท่าของขนาดเหล็กเสริ มตามยาวทีเล็กทีสุด
 35  hx 
- ระยะ so เมือ 10cm  so  10     15cm
 3 

แหลงที่มา : Seismic Design Applications of Building structure, Dr Mongkol Jirawacharadet


แหลงที่มา : Seismic Design Applications of Building structure, Dr Mongkol Jirawacharadet
ปริ มาณเหล็กปลอกตําทีสุดแม้วา่ จากการคํานวณการต้านแรงเฉือนแล้วจะไม่ตอ้ งการ
ก็ตาม มาตรฐานให้เสริ มเหล็กในปริ มาณตําสุ ดดังนี

เสาปลอกเกลียว อัตราส่วนโดยปริ มาตรของเหล็กปลอกต่อคอนกรี ตแกนกลางต้องไม่


f f A  f
น้อยกว่า 0.12 หรื อ
c   0.12s
f
ทังนีต้องไม่นอ้ ยกว่า
c
0.45 
g

A
 1 
f
c

fy y  ch  y

 DAs  D2
s  Ach 
Ach s 4

D=เส้นผ่าศูนย์กลางของคอนกรี ตทีอยูแ่ กนกลางรัดด้วยเหล็กปลอกเกลียววัดจาก CG


ของเหล็กปลอกเกลียว
S=ระยะห่างของเหล็กปลอกเกลียว
พืนทีหน้าตัดทังหมดของเหล็กปลอกสี เหลียมต้องไม่นอ้ ยกว่า
sbc f c  Ag  sbc f c
Ash  0.3 
f y  Ach 
 1 และ Ash  0.09
fy

พืนทีหน้าตัดทังหมดของเหล็กทางขวางทุกเส้นภายในระยะ s และตังฉากกับ
ขนาด
= ขนาดของแกนเสาวัดระหว่างศูนย์กลางของเหล็กปลอก
s = ระยะห่างของเหล็กปลอก
พืนทีหน้าตัดทังหมดของเสา
ระยะห่างของเหล็กเสริ มตามขวาง s2 ภายนอกความยาว lo ต้องไม่เกินกว่า 6 เท่าของ
เส้นผ่าศูนย์กลางทีเล็กทีสุดของเหล็กเสริ มยืนในเสา และไม่นอ้ ยกว่า 15ซม
การออกแบบกําลังรั บแรงเฉือนในเสา
มาตรฐาน ACI ให้ใช้แรงเฉือนออกแบบ

M prc ,top  M prc ,btm


Ve 
c

คือกําลังรับโมเมนต์ดดั ทีปลายบนและล่างของเสาทีได้จากการ
M prc ,top , M prc ,btm
พิจารณาจาก Interaction Diagram ของเสา เมือพิจารณาผลของแรงตามแนวแกนร่ วม
ด้วย
แรงเฉือนทีออกแบบต้องไม่นอ้ ยกว่า แรงเฉื อนออกแบบ (Factored Shear) ทีได้จาก
การวิเคราะห์โครงสร้าง
แหลงที่มา : Seismic Design Applications of Building structure, Dr Mongkol Jirawacharadet
จุดต่ อในโครงสร้ างแบบเหนียวพิเศษ
แรงเฉือนในแนวนอนสู งสุดของจุดต่อ Vj ได้จากการพิจารณากําลังต้านโมเมนต์ดดั ที
ปลายคานโดยให้หน่วยแรงในเหล็กเสริ มเท่ากับ 1.25 เท่าของ fy

V j  Vn
V j  Vn

  0.85

Vn  5.3 f A j c
' Vn  4.0 f c' A j

พืนทีต้านแรงเฉือนในแนวนอน
ประสิทธิผลของจุดต่อ
Vn  3.2 f c' A j
แหลงที่มา : Seismic Design Applications of Building structure, Dr Mongkol Jirawacharadet

You might also like