You are on page 1of 10

เฟืองดอกจอก (Bevel gear)

รูปที่3. แสดงลักษณะของเฟืองดอกจอก (a) ฟันตรง (b) ฟันเกลียว

เฟืองดอกจอกฟันตรง (Straight bevel gear) เปรียบได้กับเฟืองฟันตรง

หากวางตัวทามุมกับแกนของกรวย  เรียกเฟืองนี้ว่า เฟืองดอกจอกฟันเกลียว


(Spiral bevel gear) เปรียบได้กับเฟืองฟันเฉียง
ศัพท์ที่ใช้เกี่ยวกับเฟืองดอกจอก

รูปที่ 4. แสดงลักษณะฟันและมุมต่างๆของ Bevel gear

1. Pitch cone angle เป็นมุมระหว่างแกนกลางกรวยกับแนวสูงเอียงของกรวยเฟือกดอกจอก โดยแยกเป็น


ของเฟืองขับ,  p และของเฟืองตาม,  g

2. ระยะ L หรือระยะความยาวสูงเอียงของกรวย เป็นขนาดความยาวจาดยอดกรวยถึงขอบปลายของเฟือง


ดอกจอก

3. ความกว้างหน้าฟัน, F ของเฟืองดอกจอกกาหนดให้มีค่าไม่เกินกว่าระยะ L 3
สมการที่สาคัญ
ระยะความยาวสูงเอียง , L

rp dp dg
L   (21)
sin  p 2 sin  p 2 sin  g

Gear ratio, mG ของเฟืองดอกจอกที่แกนทามุมกัน 90 องศาสามารถนิยามในรูปของ Pitch cone angle


คือ

 p Ng dg
mG     tan  g  cot p (22)
g Np dp

3.2 การติดตั้งเฟืองดอกจอก
Straddle mounting เป็นการติดตั้งที่มี bearing อยู่ทั้งสองฝั่งของระนาบฟันเฟือง

Cantilever mounting เป็นการติดตั้งที่เหมือนลักษณะของคาน โดยใช้เฟืองอยู่ตรงปลายของคานยื่น


ทั้งนี้ควรที่จะให้ความยาวของคานยื่นให้น้อยที่สุดเพื่อลดผลของ bending ขณะใช้งาน
Straddle mounting ซึ่งถือเป็น Support ที่ดีที่สุดแต่มีข้อเสียคือ ยากในการใช้งานของเฟืองขับและ
เฟืองตามเนื่องจากกรณีแนวของแกนเพลาของเฟืองตัดกัน ส่วนใหญ่จะให้เฟืองตามติดตั้งแบบ Straddle
เฟืองขับติดตั้งแบบ Cantilever mounting

3.3 การคิดภาระกรรมของเฟืองดอกจอก (Loading on Bevel gear)


ภาระกรรมที่เกิดขึ้นกับเฟืองดอกจอกเมื่อส่งถ่ายกาลัง จะเกิดแรงเช่นเดียวกับในเฟืองฟันเฉียงคือ แรงใน
แนวสัมผัส แรงในแนวรัศมี และแรงในแนวแกนเพลา โดยเฟืองดอกจอกฟันตรงและฟันเกลียวจะมีความแตกต่าง
ของสองแรงคือแรงในแนวรัศมีและแรงในแนวแกน โดยแรงในแนวต่างๆ ของเฟืองดอกจอกฟันตรงแสดงดังสมการ
(23)

Wa  Wt tan  sin 
Wa  Wt tan  cos (23)
W  Wt cos

และสมการที(่ 24) สาหรับเฟืองดอกจอกฟันเกลียว

Wt
Wa  tan n sin   sin cos 
cos
(24)
Wt
Wa  tan n sin   sin cos 
cos

เมื่อ เครื่องหมาย  และ  ใช้เครื่องหมายตัวบนเมื่อเฟืองขับมีทิศทางเกลียวแบบ RH และหมุนตามเข็ม


นาฬิกา(CW) หรือเฟืองขับมีทิศทางเกลียวแบบ LH และหมุนทวนเข็มนาฬิกา(CCW) และเครื่องหมายตัวล่าง ใน
เงื่อนไขที่ตรงข้ามกัน

สมการที่ (23) และ (24) เมื่อพิจารณาแรงในแนวสัมผัส , Wt ของเฟืองดอกจอกที่มีมุมกรวยพิทซ์ (Cone


pitch angle) ของทั้งเฟืองขับ (Pinion) และเฟืองตาม (Gear) คือ  p และ  g ตามลาดับ โดยแทนที่ในตัวแปร 
และค่าแรงในแนวสัมผัสสามารถหาได้จากขนาดของโมเมนต์บิดที่กระทา โดยใช้ขนาดของเส้นผ่านศูนย์กลางเฉลี่ย ,
d m ของเฟืองตัวขับ

2T
Wt  (25)
dm

ความเค้นในเฟืองฟันเฉียง (Stresses in Bevel gear)


 ความเค้นดัดในเฟืองดอกจอก (Bending stress in bevel gears)

2Tp pd K a K mK s
b  Psi (26- us)
d FJ Kv K x

2000Tp 1 K a K mK s
b  MPa (26- si)
d FmJ K v K x

เมื่อ d คือขนาดของ pitch diameter ของเฟืองขับ (pinion)

ส่วนตัวแปลอื่นๆ ยังคงมีวิธีการหาเช่นเดิมในของเฟืองฟันตรง

มีค่า Factor ตัวใหม่คือ

K x เป็น Factor ที่เป็นผลของความเอียงของฟันเฟืองดอกจอก

ถ้าเป็นเฟืองดอกจอกฟันตรง (Straight bevel gear) K x  1

ถ้าฟันของเฟืองดอกจอกเป็นแบบ เกลียว (Spiral) หรือ Zerol gear ค่า K x  1.15


J แบ่งออกเป็นสองส่วนคือ

เฟืองดอกจอกฟันตรง หาค่าได้จากรูปที่ 5

เฟืองดอกจอกฟันเกลียวหาค่าได้จากรูปที่ 6

วิธีการหาค่า J พิจารณา ค่า J ตามแนวแกนนอน โดยแกนตั้งคือจานวนฟันของเฟืองที่ต้องการหาค่า J


และเส้นแต่ละเส้นแทนจานวนฟันของเฟืองที่มาขบ ดังตัวอย่างต่อไปนี้

เฟืองดอกจอกฟันตรง จานวนฟันของเฟืองที่ต้องการหาค่า J คือ 40 ฟัน และจานวนฟันของเฟืองที่มาขบ


คือ 70 ฟัน ฉะนั้นจากรูปที่ 5 จะได้ค่า J = 0.300

หากต้องการหาค่าของ J ของเฟืองที่มาขบ ก็ใช้วิธีเดียวกันจะได้ค่า J = 0.264 เป็นต้น


รูปที่ 5. Geometry factor, J ของเฟืองดอกจอกฟันตรงที่  =20 องศา
และ Tool-edge radius = 0.120 pd

รูปที่ 6. Geometry factor, J ของเฟืองดอกจอกฟันเกลียวที่  =20 องศา  =35 องศา


และ Tool-edge radius = 0.240 pd

 ความเค้นที่ผิวในเฟืองดอกจอก (Surface stress in bevel gears)

z
2TD  Tp  CaCm
 c  C pCb   Cs C f Cxc (27)
FId 2  TD  Cv

จากสมการที่ (27) จะพบว่า มีตัวแปรใหม่คือ C b , T p , TD , z และ C xc โดยตัวแปรที่เหลือ มีวิธีการหาค่า


เช่นเดียวกับในเฟืองฟันตรง ยกเว้นค่า Surface geometry factor, I หาค่าได้จากรูปที่ 7 และ 8
สาหรับตัวแปรใหม่ที่เพิ่มมา มีรายละเอียดการหาค่าดังนี้

Cb เป็นค่าคงที่สาหรับปรับค่าความเค้น (Stress adjustment constant) AGMA กาหนดให้มีค่าเป็น


0.634

T p คือ Operating pinion torque เป็นโมเมนต์บิดที่ให้งานจริง หาค่าจากกาลัง ( P ) และความเร็วรอบ (


 ) ของอุปกรณ์ขับเคลื่อน

TD คือ Design pinion torque เป็นค่าโมเมนต์บิดต่าสุดที่ใช้ทาให้เกิดการสัมผัสแบบเต็มพื้นที่สัมผัสของ

ฟันเฟือง (Optimum contact) โดยหาค่าได้จากการพิจารณาสมการความเค้นสัมผัสมีค่าเท่ากันกับค่าความ


แข็งแรงของวัสดุ แล้วแก้สมการหาค่าโมเมนต์บิดดังสมการ (28-us, 28-si)

z เรียกว่า Exponent z มีค่าเท่ากับ 0.667 เมื่อ T p  TD และเท่ากับ 1 สาหรับกรณีอื่น

C xc คือ Crowning factor เป็นค่าที่เกี่ยวกับรูปแบบฟันเฟืองคือ Crowned teeth และ Uncrowning


teeth โดยกาหนดค่า C xc = 1.0 สาหรับฟันเฟืองแบบ Uncrowning teeth และ C xc = 1.5 สาหรับ
Crowned teeth
2
F ICv  S fc d 0.774CH 
TD    lb  in (28-us)
2 Cs Cmd C f CaCxc  C pCb CT CR 

2
F ICv  S fc d 0.774CH 
TD    N m (28-si)
2000 Cs Cmd C f CaCxc  C pCb CT CR 

จากสมการ (28-us, 28-si) จะพบว่ายังคงมีตัวแปรชุดเดิมที่หาโดยวิธีเดิม และตัวแปรชุดใหม่มีรายละเอียดดังนี้

C md คือ Factor ของการติดตั้ง (Mounting factor) โดยพิจารณาจากรูปแบบการติดตั้งแบบคานยื่น


(Cantilever mounting) และ Straddle mounting โดยค่า C md มีค่าระหว่าง 1.2 สาหรับการติดตั้งแบบ

Straddle ทั้งคู่ ถึง 1.8 สาหรับติดตั้งแบบคานยื่นทั้งคู่ ฉะนั้นหากมีการติดตั้งทั้งสองแบบก็ใช้ค่า C md ระหว่าง 1.2

ถึง 1.8 และหากรูปแบบของฟันเฟืองเป็นแบบ Uncrowned teeth ให้ใช้ค่า C md เป็นสองเท่าจากค่าที่กล่าวมา

รูปที่ 7. Geometry factor, I ของเฟืองดอกจอกฟันตรงที่  =20 องศา


และ Tool-edge radius = 0.120 pd
รูปที่ 8. Geometry factor, I ของเฟืองดอกจอกฟันเกลียวที่  =20 องศา  =35 องศา
และ Tool-edge radius = 0.240 pd

You might also like