You are on page 1of 61

การออกแบบโครงสรางและการออกแบบจุ

การออกแบบโครงสร้ างและการออกแบบจดต่
ดตออ
นอกชายฝั่ง
นอกชายฝง

รศ.ดร. พสณฑ
พิสณฑ์ อดมวรรั
อุดมวรรตน
ตน์
ภาควิชาวิศวกรรมโยธา
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
Offshore Structures

•Drilling rigs: Exploration of oil and gas


Stay in a place for a few months (Mobil or movable)
- Jack-up drilling rig
- MODU (Mobil Offshore Drilling Unit)

• Production platforms: Production of oil and gas


Stay in a place for at least a few years (usually 20 -30 years)
- Ground-base structure ( <500~800
<500 800 m)
- Floating Structures (> 800 m)
Offshore Structures
Tubular Structures

Advantages of Tubular Structures

• Architectural Aesthetics
• Close Section
• Drag Coefficient
• Stability
Steel Tubular Structures
ประเภทจดต่
ประเภทจุ ดตออ (ทอกลม
ท่ อกลม)

จุดต่ อรูปตัว T จุดต่ อรูปตัว Y จุดต่ อรูปตัว X

จุดต่ อรูปตัว K จุดต่ อรูปตัว N จุดต่ อรูปตัว KT


พารามิเตอร์ จดดต่ตออ
พารามเตอรจุ

θ θ θ

N0  N1,2
1 2  cosθ1,2
1 2  Nop

N0,gap  N1  cosθ1  Nop

2 2
α oor for
o T-,Y-
, aandd X- jo
joints
ts
do ho
d1 d b
β or 1 or 1 for T-,Y- and X- joints
do bo bo
d1  d 2 d d b  b +h  h 2
β or β  1 2 or β  1 2 1 for K- and N- joints
2d o 2b o 4b o
d1  d 2  d 3 d  d  d3 b  b  b3 +h1  h 2  h 3
β or β  1 2 or β  1 2 for KT- joints
3d o 3b o 6b o
d b t g  
γ or , τ  i , g '  , n= o , n'= op
2t o 2t o to to f yo f yo
พารามิเตอร์ จดดต่ตออ
พารามเตอรจุ
g g

e=0 e>0

e<0 e<0
พารามิเตอร์ จดดต่ตออ
พารามเตอรจุ
g

gap g

e<0

q
p
definition gap difinition overlap

 d1  sin 1  sin 2 d o
e = 
d2
g  สําหรับจุดต่อประเภทท่อกลม
 2sin 1 2sin 2  sin  1  2  2

 h1 h2  sin 1  sin 2 h o
e =   g  สําหรับจุดต่อประเภทท่อสี่ เหลี่ยม
 2sin 1 2sin 2  sin  1  2  2

 d  sin  1  2  d1 d2 สําหรับจุดต่อประเภทท่อกลม
g =e  o  sin sin  2sin  2sin
 2  1  2 1 2

 h  sin  1  2  h1 h2
g =e  o   
 2  sin 1  sin 2 2sin 1 2sin 2 สําํ หรัับจุดต่่อประเภทท่
ป ่อสีี่ เหลีี่ยม
การกระจายตัวของหน่ วยแรงบนเส้ นรอบจุดตัด
ท่่ อแกนหลัักและท่่ อแกนรอง

Tension
Compression Crown toe diagonal
diagonal

Crown heel Crown heel

C AD F
P
B E

Saddle

Principal Stress
รู ปแบบการวิบตั ิ

1. การวิบต
ั ขิ องท่ อแกนหลัก (Chord failure)
- การเกิดพลาสติกที่ผนังท่ อแกนหลัก ((Chord plastification))
- การโก่ งเดาะเฉพาะที่ของผนังท่ อแกนหลัก (Chord local buckling)
- การเฉือนทะลุของผนังท่ อแกนหลัก (Chord punching shear failure)
- การเฉือนครากของท่ อแกนหลัก (Chord shear failure)
2. การวิบต
ั ขิ องท่ อแกนรอง (Brace failure)
- การโก่
โ ่ งเดาะเฉพาะที่ ขี องผนัังท่่ อแกนรอง (Brace
(B llocall b
buckling)
kli )
- การยืดครากของท่ อแกนรอง (Brace yielding)
3 การวบตของรอยเชอม
3. การวิบตั ขิ องรอยเชื่อม (Weld failure)
4. การวิบต
ั แิ บบ Lamellar tearing
รู ปแบบการวิบตั ิ
- การเกิดพลาสติกที่ผนังท่ อแกนหลัก (Chord plasticfication)
การเกิดพลาสติกที่ผนังท่ อคือในกรณีท่ที ่ อแกนหลักรับแรงอัดหรือแรง
ดึงมากเกินไป ทําให้ ผนังของท่ อแกนหลักเกิดการครากและเสียรูป
พารามิเตอร์ ท่ สี าํ คัญต่ อการเกิดสภาพดังกล่ าวได้ แก่ ความหนาของท่ อแกน
หลัก to และ กําลังจุดครากของท่ อแกนหลัก fyo
รู ปแบบการวิบตั ิ
- การโก่ งเดาะเฉพาะที่ของผนังท่ อแกนหลัก (Chord local buckling)
กรณทความหนาของผนงทอแกนหลกคอนขางบางและอตราสวน
กรณี ท่ ีความหนาของผนั ง ท่ อแกนหลั กค่ อนข้ างบางและอัตราส่ ว น
do/to มีค่ามากทําให้ ค่าความชะลูดของผนั งท่ อมีค่ามากตามไปด้ วย เมื่อเกิด
แรงอั ด กระทํา ผนั ง ท่ อ แกนหลั ก อาจเกิ ด การโก่ ง เดาะเฉพาะที่ก่ อ นการเกิ ด
พลาสติ ก ดั ง นั ้น เพื่ อ ป้ องกั น การวิ บั ติ แ บบโก่ ง เดาะเฉพาะที่ จึ ง จํ า เป็ นต้ อ ง
ควบคุมค่ าอัตราส่ วน do/to ตามมาตรฐานการออกแบบ Eurocode 3
Minimum Yielding เส้ นผ่านศูนย์กลางต่อ
Grade Strength ; fy ความหนาของท่อ
(N/mm2) (do / to)
S 235 235 do / to ≤ 50.0
50 0
S 275 275 do / to ≤ 42.7
S 355 355 do / to ≤ 33.1
33 1
รู ปแบบการวิบตั ิ
- การเฉือนทะลุของผนังท่ อแกนหลัก (Chord punching shear failure)
การเฉอนทะลุ
การเฉื อนทะลของผนั
ของผนงทอแกนหลกอาจเกดขนไดทงในกรณทมแรงกระทา
งท่ อแกนหลักอาจเกิดขึน้ ได้ ทัง้ ในกรณีท่ ีมีแรงกระทํา
ทัง้ แรงดึงและแรงกดอัดในท่ อแกนรอง พารามิเตอร์ ท่ ีสําคัญต่ อการวิบัติแบบเฉือน
ทะลได้
ทะลุ ไดแก
แก่ เสนผานศู
เส้ นผ่ านศนย์
นยกลางของทอแกนรองและความหนาของทอแกนหลก
กลางของท่ อแกนรองและความหนาของท่ อแกนหลัก d1/do
จุดต่ อที่มีอัตราส่ วนเส้ นผ่ านศูนย์ กลางของท่ อแกนรองต่ อท่ อแกนหลักน้ อยๆ หรื อ
ขนาดของท่ อแกนรองเล็กมากๆ เมื่อเทียบกับท่ อแกนหลัก การวิบัติแบบการเฉือน
ทะลุอาจเกิดได้ ง่าย
รู ปแบบการวิบตั ิ
- การเฉือนครากของท่ อแกนหลัก (Chord shear failure)
การเฉอนครากของทอแกนหลกสามารถเกดไดโดยเฉพาะจุ
การเฉื อนครากของท่ อแกนหลักสามารถเกิดได้ โดยเฉพาะจดต่ ดตอแบบตว
อแบบตัว K
และที่มีช่องว่ างระหว่ างท่ อแกนรอง บริ เวณผนังท่ อแกนหลักจะเกิดการครากและเสีย
รปเนื
ู ่ องจากแรงเฉือนหรื อแรงในแนวแกนหรื อโมเมนต์ ดัดที่เกิดขึน้ ระหว่ างท่ อแกน
รองทัง้ สอง นอกนัน้ แล้ วการครากมักเกิดในจุดต่ อที่มีค่า  = (d1+d2)/2do มากและมี
ระยะช่ องว่ าง (Gap) ที่กว้ างเพียงพอ
รู ปแบบการวิบตั ิ
- การโก่ งเดาะเฉพาะที่ของผนังท่ อแกนรอง (Brace local buckling)
การโกงเดาะเฉพาะทของผนงทอแกนรองเกดจากการทอตราสวนขนาดเสน
การโก่ งเดาะเฉพาะที่ของผนังท่ อแกนรองเกิดจากการที่อัตราส่ วนขนาดเส้ น
ผ่ านศูนย์ กลางต่ อความหนาของท่ อแกนรองที่มาก ทําให้ ผนั งของท่ อมีความชะลูด
มาก เมื่อรั บแรงกดอัดสามารถเกิดการวิบัติแบบโก่ งเดาะเฉพาะที่ได้ การป้องกันการ
วิบัติท่ เี กิดจากการโก่ งเดาะเฉพาะที่ของท่ อแกนรองคือการควบคุมอัตราส่ วน di/ti ให้
มีค่ามากกว่ าที่มาตรฐาน Eurocode 3 กําหนด

Minimum
เส้ นผ่านศูนย์กลางต่อ
Grade yielding strength
ความหนาของท่อ (di / ti)
(N/mm ) 2

S 235 235 di / ti ≤ 43
S 275 275 di / ti ≤ 37
S 355 355 di / ti ≤ 28
รู ปแบบการวิบตั ิ
- การยืดครากของท่ อกลมแกนรอง (Brace yielding)
การยืดครากของท่ อกลมแกนรอง เกิดจากเนือ้ ที่หน้ าตัดไม่ เพียงพอ เมื่อมี
แรงดึงกระทําเกินกว่ าหน่ วยแรงครากของวัสดุเหล็ก ท่ อแกนรองเกิดการเสียรู ป
รู ปแบบการวิบตั ิ
- การวิบต
ั ขิ องรอยเชื่อม
การวบตของรอยเชอมเกดจากความสามารถในการรบแรงของรอยเชอมท
การวิ บัติของรอยเชื่อมเกิดจากความสามารถในการรั บแรงของรอยเชื่อมที่
ไม่ เพียงพอ ทําให้ เกิดการแตกร้ าวที่บริ เวณรอยเชื่อม เพื่อหลีกเลี่ยงการวิบัติของรอย
เชื่ อม มาตรฐาน
ฐ Eurocode 3 จึงแนะนํ าให้ ออกแบบรอยเชื่ อมให้ มีความแข็งแรง
มากกว่ า องค์ อ าคารที่ นํ า มาเชื่ อ มต่ อ กั น นั่ นคื อ ความหนาของรอยเชื่ อ ม (Throat
thickness, a) จะต้ องเป็ นไปตามมาตรฐาน

Minimum yielding
ความหนาของรอย
Grade strength (fy)
เชื่อม (a)
(N/mm )2

S 235 235 a  0.84


0 84 t
S 275 275 a  0.91 t
S 355 355 a  1.05
1 05 t
รู ปแบบการวิบตั ิ
-การวิบต
ั แิ บบ Lamellar tearing
การวิบิ ัตแิ บบ Lamellar
ll tearing
i เป็ป็ นการวิิบัตทิ ่ เี กิดิ ขึึน้ กัับเนืือ้ วััสดุซ่ งึ เกิดิ
จากสารประกอบอโลหะ เช่ น ซัลเฟอร์ ท่ ปี ะปนมากับสินแร่ เหล็ก สารประกอบดังกล่ าว
เมื่อผ่ านกระบวนการรี ดร้ อนจะจับตัวกันเป็ นแผ่ น บรเวณทสารประกอบเหลานจบตว
เมอผานกระบวนการรดรอนจะจบตวกนเปนแผน บริเวณที่สารประกอบเหล่ านีจ้ ับตัว
กันอยู่มากจะส่ งผลให้ ความสามารถในการจับตัวกันของเนื อ้ วัสดุมีค่าตํ่า เมื่อได้ รับ
ความร้ อนจากการเชื่อมจะทําให้ เกิดการฉีกร้ าวได้ การป้องกันการวิบัติแบบฉีกร้ าว
จะต้ องเลือกเหล็กที่มีคุณภาพและมีการควบคุมปริ มาณซัลเฟอร์ ท่ ีใช้ ผลิตเหล็กให้ ต่ าํ
กว่ า 0.005%
สมการการออกแบบและข้ อกําหนดของการออกแบบจุดต่ อ
โครงสร้ างเหล็ก็ ประเภทท่ อกลม

ชนิดของจดต่
ชนดของจุ ดตออ กําลังของจดต่
กาลงของจุ ดตออ (i = 1,1 2)
จุดต่อแบบ T และ Y Chord plastification
2
fyo  t o

N1 
sinθ1
 
 2.8  14.2β  γ  f  n'
2 02
0.2
สมการการออกแบบและข้ อกําหนดของการออกแบบจุดต่ อ
โครงสร้ างเหล็ก็ ประเภทท่ อกลม
จุจดต่
ดตอแบบ
อแบบ X Chord plastification
2
f yo  t o  5.2 
  f  n'

N1   
sinθ1  10.81β 

จุดต่อแบบ K และ N (gap หรือ overlap joints) Chord plastification


2
f yo  t o  d1 
  f  γ,g'  f  n'
*
N1 =   1.8+10.2
sinθ1  do 

* * sinθ1
N 2 =N1 
sinθ 2
สมการการออกแบบและข้ อกําหนดของการออกแบบจุดต่ อ
โครงสร้ างเหล็ก็ ประเภทท่ อกลม
ตัวอย่ างการออกแบบจุดต่ อโครงสร้ างเหล็กประเภทท่ อกลม
จงออกแบบจุดต่ อโครงสร้ างเหล็กประเภทท่ อกลมแบบ K ชนิดมีช่องว่ างระหว่ างท่ อ
แกนรองดังนี ้ ทอแกนหลก
แกนรองดงน ท่ อแกนหลัก;CHS 300x10.3
300x10 3 mm ทอแกนรอง
ท่ อแกนรอง;CHS 300x10.3
300x10 3 mm
ท่ อแกนรอง 2;CHS 300x10.3 mm

CHS 300x10.3 mm
do =318.5mm , t o =10.3mm , Ao = 9972.9mm2 , f yo = 235MPa , No = -1500kN
CHS 300x10.3 mm
d1  318.5 mm , t1  10.3mm , f y1  235 MPa , N1  354 kN , θ1 = 45
CHS 300x10.3 mm
d 2  318.5 mm , t 2  10.3mm , f y 2  235 MPa , N 2  212 kN , θ 2 = 45
ตัวอย่ างการออกแบบจุดต่ อโครงสร้ างเหล็กประเภทท่ อกลม
คํานวณหาค่าพารามิเตอร์
d1 +d 2 318.5  318.5
d β   1 ; 0.2  β  1
0.2  i  1.0 2d o 2  318.5
d
o g 21
g'   2.04
g  21mm > t1  t 2 t o 10.3

do 318.5 f op No 1000x(-1500)
γ   15.461  25 n' =  1000    0.64
2t o 2 10.3 f yo A o f yo 9972.9x235

คํานวณหาค่ าฟังก์ ชัน


f  nn'   1  00.3n
3n'-0 3n'2  1  0.3(
-0.3n 0 3(0.64)
0 64)  0.3(
0 3(00.64)
64) 2  00.685
685

 
0.024γ1.2 0.2  0.024x15.4611.2 
f  γ, g '  γ 0.2
1    15.461 1   0.5x2.04-1.33   2.369
 e 0.5 g ' 1.33  1   e  1 

1.การตรวจสอบ Chord plastification


f yo ×t o2  d 
N 
1  1.8  10.2 1   f  γ,g'  f(n')
1000×sinθ1  do 
235 10.3 
2
318.5 
  1.8  10.2    2.369  0.685
1000  sin45  318.5 
 686.58 kN  kN
ตัวอย่ างการออกแบบจุดต่ อโครงสร้ างเหล็กประเภทท่ อกลม
sinθ1
N 2  N1 
sinθ 2
sin45
i 45
 685.58 
sin45
 685.58 kN  kN

2.การตรวจสอบ Punching shear


f yo 1  sin θ1
N1   t o πd1 
1000 3 2sin 2 θ1
235 1+sin45
= 10.3π  318.5 
1000 3 2sin 2 45
 2387 kN  354 kN
f yo 1+sinθ 2
N2   t o πd 2 
1000 3 2sin 2θ 2
235 1+sin45
= 10.3π  318.5 
1000 3 i 2 45
2sin
 2387 kN  212 kN
Steel Structures
Generall Design
G D i :
- Tension Members
- Compression Members
- Beams
- Beam-Columns
- Connections
Connections***
Serviceability :
- Fracture
Fracture***
- Fatigue***
Weld Connections

Poor Welding
Weld Connections
การตัดปลายชิน้ งาน
การตดปลายชนงาน
Weld Connections

Weld connection : Weld defect


What is Fatigue?
: A dynamic failure

• Fluctuation live loads


• Pressure fluctuations
• Temperature fluctuations
• Vibrations
• Atmosphere conditions
Fatigue Failure

Fatigue crack in sign pole


Fatigue Failure

Fatigue failure of tubular truss bridge


How does it occur?
Stress induces Fatigue
g Cracking
g

Tension
σmax

Stress

Compression σmin
Definitions

Stress Range    max   min

 max   min
Mean Stress m 
2
 min
Stress Ratio R
 max
The Effect of Cracks.
Cracks
Failure Stress

Design Stress
Highest Stress Expected
Crack Size

Stress
Typical Range of Stress

S
Typical Stress in Service

Time or Load Cycles


Ti
Time or Load
L dC Cycles
l

Cracks can grow


during the life of a No Failure Failure Failure
component can occur will occur

The strength of an engineering structure


is reduced by crack growth in service
Measuring Fatigue
Fatigue.
• Smooth and notched structures:
– Fatigue involves nucleation and
ti off cracks.
propagation k
– Characterised by the S-N or ε-N fatigue life.
– Notches concentrate stress and strain.
• Cracked structures:
– Fatigue involves propagation of cracks.
– Characterised
Ch i db by ffatigue
i crack
k growth
h rate.
Aim to predict fatigue life or
maximum cyclic loads for infinite life.
Designing for Fatigue
Fatigue.
• Safe-Life: •Fail-Safe:
– Fatigue damage –Fatigue damage
must not occur occurs during design
within design life. life.
– Component
C t –Failure
F il mustt nott
replaced after occur during design
design life.
life life
life.
–Component inspected to
g
There are two principal design assess development of
philosophies for fatigue fatigue damage.
–Component re-used or
replaced after inspection
Safe-Life Fatigue (S-N Curve)
Curve).
• Finite or infinite life:
– Stresses and strains S-N Curve
assessed to
calculate fatigue life

Stress (MPa)
using S-N curve.
Finite Life Stress
– or

S
– Stresses maintained Fatigue Limit
below fatigue limit. Infinite Life Stress
104 105 106 107 108
Log Stress Cycles
Eurocode 3 Fatigue Curves
(S-N) constant amplitude
Eurocode 3 Fatigue Curves
(S-N) variable amplitude
Member Classifications
Member Classifications
Member Classifications
Detail
m = -3 รายละเอียดด้านรู ปร่ าง คําอธิ บาย

ผลิตภัณฑ์รีดร้อนแบบพ่นออกจากสายการผลิต
160 ชิ้นส่ วนที่ไม่มีการเชื่อม หรื อชิ้นส่ วนที่ทาํ การลบคมหรื อลบตําหนิดว้ ย
วิธิ ี การขัด (Grinding)

ชิ้นส่ วนเชื่อมตามยาวแบบต่อเนื่อง
140 ชิ้นส่ วนที่เชื่อมด้วยเครื่ องอัตโนมัติไม่มีตาํ หนิจากความไม่ต่อเนื่องของ
ชนสวนทเชอมดวยเครองอตโนมตไมมตาหนจากความไมตอเนองของ
รอยเชื่อม

ชิ้นส่ วนเชื่อมแบบชน
สําหรับการเชื่อมต่อปลายแบบชนของท่อกลมมีขอ้ กําหนดเพิ่มเติมดังนี้
- ความนููนส่ วนเกินของรอยเชื่อมต้องน้อยกว่า 10% ของขนาดรอยเชื่อม
71 - การเชื่อมต่อเชื่อมในระนาบที่แบบเรี ยบและต้องไม่มีตาํ หนิจากความ
ไม่ต่อเนื่องอยู่
- สําหรับท่อที่มีความหนามากกว่า 8 มม. สามารถใช้เส้นระดับกําลังที่
เหนือขึ้นไป (71)
Design Example
A fillet connection of a jacket as shown in the
figure below subjected to a repeated live
load Fsr = 100 MPa. The service live of the
jacket is expected for 50 years. The average
number of cycles /day = 200 is recorded.
Investigate the connection of the jacket that
it can pass fatigue design or not?
Design Example

6,000,000
cycles
Design Example
N resistance from Fatigue design curve
~ 6,000,000
6 000 000 cycles
N required = 50 y* 365 d* 200
= 3,650,000 cycles

N resistance > N required


Pass!
K & N Joint Classification Method
Detail
รายละเอียดด้านรปร่
รายละเอยดดานรู ปรางาง คําอธิ บาย
คาอธบาย
m = -5
จุดต่อชนิดมีช่องว่างแบบ K N
90 to
ti
 2.0
ทําจากเหล็กท่อกลม

to
45 ti
 1.0

จุดต่อชนิดมีช่องว่างแบบ K N
to
71 ti
 2.0
ทําจากเหล็กท่อเหลี่ยม และมี

to
36 ti
 1.0

จุดต่อชนิดซ้อนทับแบบ K N
to ทําจากเหล็กท่อกลมหรื อสี่ เหลี่ยม
71 ti
 1.4
และมีีการซ้อ้ นทับั ระหว่า่ ง
30%-100%
Hot Spot Stress Method

Local stress

Brace

Increase in stress
due to the weld toe Local stress

Extrapolation of stress
to weld toe
Increase in stress
due to the geometry Geometric
stress
Norminal stress

Chord
Extrapolation region
Hot Spot
p Stress Method
Stress Concentration Factor
(SCF)

geometrical
SCF 
 no min al
Stress Concentration Factor
Hot Spot Stress Method
Example
Example
p
Example

การจัดรูปผลรวมของแรงใน 2 รูปแบบ
Example
p
Example
Example
Example

You might also like