You are on page 1of 5

บทที่ 2

ความเครียด (Strain)
วัตถุประสงค
1. เพื่อทบทวนความรูเรื่องการเปลี่ยนแปลงรูปราง (deformation) ของ
MECHANICS OF MATERIALS วัตถุ
By 2. เพื่อใหทราบและเขาใจถึงแนวคิดของความเครียดตั้งฉาก (normal
Assoc. Prof. Dr. Sittichai Seangatith strain) และความเครียดเฉือน (shear strain)
SCHOOL OF CIVIL ENGINEERING 3. เพื่อใหสามารถวิเคราะหหาคาความเครียดตั้งฉากและความเครียด
INSTITUTE OF ENGINEERING เฉือนจากคาการเปลี่ยนแปลงรูปรางไดอยางถูกตอง
SURANAREE UNIVERSITY OF TECHNOLOGY

2.1 การเปลี่ยนรูปราง (Deformation) การเปลี่ยนตําแหนง (displacement) เปน vector ซึ่งใชวัดหาการเคลื่อนทีข่ อง


วัตถุถกู เรียกวา deformable body เมื่ออนุภาคในวัตถุมีการเปลี่ยน อนุภาคหรือจุด จากตําแหนงหนึ่งไปยังอีกตําแหนงหนึ่ง
ตําแหนงเกิดขึ้นภายใตการกระทําของแรงเทียบกับอนุภาคอื่นๆ ทีอ่ ยูติดกัน
บนวัตถุนั้น 1. การเปลี่ยนตําแหนงเชิงเสน
2. การเปลี่ยนตําแหนงเชิงมุม
ระยะยืด (elongation)
2.2 ความเครียด (Strain) Epsilon ความเครียดเฉือน (shear strain) หรือ γ Gamma

ความเครียดตัง้ ฉาก (normal strain) หรือ ε - เปนการยืดตัว (elongation) ความเครียดเฉือน (shear strain) เปนคาการเปลีย่ นแปลงของมุมที่เกิดขึน้
หรือการหดตัว (contraction) ของสวนของเสนตรงตอหนึ่งหนวยความยาวบน ระหวางสวนของเสนตรงสองเสน ที่เริ่มตนทํามุมตั้งฉากซึ่งกันและกัน ภายใต
วัตถุใดๆ ภายใตการกระทําของแรง และมีหนวยเปน mm/mm การกระทําของแรง และมีหนวยเปน radian
∆s′ − ∆s π
ε avg = γ nt = − lim θ′
∆s 2 CB → A along n
→ A along t

∆s′ ≈ (1 + ε)∆s ถา θ' < π/2 แลว γ มี


คาเปนบวก
∆s′ − ∆s
ε= lim
B → A along n ∆s
ถา θ' > π/2 แลว γ มี
คาเปนลบ

องคประกอบของความเครียดในระบบแกนตั้งฉาก Small Strain Analysis (first order approximation)


โดยสวนใหญแลว ε << 1 ดังนั้น ผลคูณของคาความเครียดหรือผลคูณของ
คาการเปลี่ยนแปลงรูปรางจะมีคานอยกวาคาของความเครียดหรือคาการ
เปลี่ยนแปลงรูปรางมาก

ความยาวของดาน: (1 + ε x )∆x (1 + ε y )∆y (1 + ε z )∆z


ความเครียดตั้งฉากทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงปริมาตรของ cubic volume element เทานั้น
π π π
มุมระหวางดานสองดาน: 2
− γ xy
2
− γ yz
2
− γ xz

ความเครียดเฉือนทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงรูปรางของ cubic volume element เทานั้น


ตัวอยางที่ 2-1
ถา ε = 0.0001 mm/mm แลว คา ε2 จะมีคาเทากับ 0.0000001 mm2/mm2 ซึ่งมี จงหาคาเฉลี่ยของความเครียดตั้งฉากในเสนลวด BC เมื่อ θ = 0.002 rad.
คานอยกวาคาของ ε เทากับ 1000 เทา L sin θ

(1 + ∆) n ≈ 1 + n∆
(∆ + 1)(∆′ + 1) ≈ ∆ + ∆′ + 1

และในหนวย radian L cos θ


sin ∆θ ≈ ∆θ
cos ∆θ ≈ 1
tan ∆θ ≈ ∆θ / 1 ≈ ∆θ
(1+0.001)2 = 1.002001 CB′ = (2 L + L sin θ ) 2 + ( L − L cos θ ) 2
1+2(0.001) = 1.002000
= L (2 + sin θ ) 2 + (1 − cos θ ) 2
sin (0.001 rad) = 0.000999999833333
cos (0.001 rad) = 0.9999995 = L 4 + 4sin θ + sin 2 θ + 1 − 2cos θ + cos 2 θ

เนื่องจาก sin 2 θ + cos 2 θ = 1 ตัวอยางที่ 2-2


CB′ = L 4 + 4sin θ + sin 2 θ + 1 − 2cos θ + cos 2 θ จงหา
1. คาเฉลี่ยของความเครียดเฉือน γxy
CB′ = L 6 + 4sin θ − 2cos θ
2. คาเฉลี่ยของความเครียดตั้งฉากบน
เมื่อมุมมีคานอยมาก sin θ ≈ θ cosθ ≈ 1 (ในหนวย radian) ดาน AD
CB ′ ≈ 2 L 1 + θ = 2 L (1 + θ )1 / 2 3. คาเฉลี่ยของความเครียดตั้งฉากใน
จาก แนวเสนทแยง DB
(1 + ∆) n = 1 + n∆
1
CB′ ≈ 2 L(1 + θ ) = 2.002 L
2
คาเฉลี่ยของความเครียดตั้งฉากในเสนลวด BC คาเฉลี่ยของความเครียดเฉือน γxy
3 2
CB′ − CB 2.002 L − 2 L γ xy = tan −1 + tan −1
ε avg = = = 0.001 400 300
CB 2L
= 0.0075 rad. + 0.006667 rad. = 0.0142 rad.
คาเฉลี่ยของความเครียดตั้งฉากบนดาน AD คาเฉลี่ยของความเครียดตั้งฉากในแนวเสนทแยง DB
AD′ − AD D′B′ − DB
(ε AD ) avg = (ε DB ) avg =
DB
AD
AD = 400 mm DB = 4002 + 3002 = 500 mm

ระยะ D'B' หาโดยใช law of cosine


AD′ = 400 2 + 32 = 400.01125 mm

400.01125 mm − 400 mm
(ε AD ) avg = α
400 mm
−6
= 28.1(10 ) mm/mm
D′B′ = ( AD′) 2 + ( AB′) 2 − 2( AD′)( AB′)cos α
AD′ = 4002 + 32 = 400.01125 mm
AB′ = 300 2 + 2 2 = 300.00667 mm
π π
α= − γ xy = − 0.0142 = 1.5566 rad.=89.18832o
2 2

Example
a.) จงหาคาความเครียดตั้งฉากเฉลี่ยตามแนว AB
D′B′ = ( AD′) 2 + ( AB′) 2 − 2( AD′)( AB′)cos α

AD′ = 4002 + 32 = 400.01125 mm

AB′ = 300 2 + 2 2 = 300.00667 mm

α = 89.18832o

D′B′ = (400.01125) 2 + (300.00667) 2 − 2(400.01125)(300.00667)cos(89.1883)o


= 496.6014 mm

D′B′ − DB 496.6014 mm − 500 mm


(ε DB ) avg = = = −6.80(10−3 ) mm/mm
DB 500 mm
b.) จงหาคาความเครียดเฉือนเฉลี่ยเทียบกับแกน x และแกน y

End of Chapter 2

You might also like