You are on page 1of 17

Quiz 1+2+Final

Analysis of Stress and Strain

สู ตรปกติ แค่เพิ่มแตกแรง

Y
General Definition of Stress and Strain

ปกติ โจทย์ตอ้ งให้ ฟังก์ชนั่ มาเพื่ออินทิกรัล X

∫ 𝑦𝑦𝑦𝑦𝑦𝑦 = 𝑦𝑦 𝑦𝑦

2 6
E
ถ้าระนาบ XY ∫ 𝑦𝑦 2 𝑦𝑦𝑦𝑦 = 𝐼𝐼𝑥𝑥
∫ 𝑦𝑦 3 𝑦𝑦𝑦𝑦 = แนะนําใช้ Math ระยะจาก

o C
ไกล Centroid ทางลบ ถึง ไกล Centroid ทางบวก
2
∫ 𝑥𝑥𝑦𝑦 𝑦𝑦𝑦𝑦 = ใช้แมทเหมือนด้านบน

o
Generalized Hooke’s Law for Isotropic Materials (Cartesian Components of Stress)

P 'S หลักการจําก็คิดภาพ มีการขยายใน 1 แกน


จะเกิดการหดในอีก 2 แกน ตามอัตราปั วซอง
และแปรผันตามอุณหภูมิ ถ้าไม่บอกก็คือไม่มี

หลักการจําให้สลับเครื่ องหมายจากด้านบน
𝜀𝜀𝑥𝑥 จาก + เป็ น −
𝜀𝜀𝑦𝑦 จาก − เป็ น +
อุณหภูมิเป็ น −
และ 1-2v กับ 1-v จะอยูต่ ิดกัน ที่เหลือ เป็ น 1+v
<= กรณี ไม่มีอุณหภูมิ ถ้ามีอุณหภูมิให้ใช้ 𝜀𝜀𝑣𝑣 = 𝜀𝜀𝑥𝑥 + 𝜀𝜀𝑦𝑦 + 𝜀𝜀𝑧𝑧
โดยที่หาแต่ละตัวจากสู ตรด้านบน
Plane Stress (ไม่ คิดแกน z ; Stress and Strain is Zero )

มุมครึ่ งหนึ่งจากวงกลมมอร์

ระวังเรื่ อง เครื่ องหมายเวลากดเครื่ อง


ให้วงเล็บ 𝜎𝜎𝑥𝑥 − 𝜎𝜎𝑦𝑦 เพื่อกันพลาด

สําคัญมาก ใช้หาตัวที่ 4 เพราะบางที่โจทย์ไม่ให้ตวั แปรที่สามารถหาได้

มุมของการหมุน Element ไปหา Principle

2 6
CE
ตรวจสอบรัศมี จาก R = =
𝐷𝐷
2
�(𝑥𝑥1 −𝑥𝑥2 )2 +(𝑦𝑦1 −𝑦𝑦2) 2

o o เจอโจทย์แนวหมุนชิ้นส่ วนไป 30, 60 องศา เป็ นต้น ให้ใช้

'S
𝑅𝑅𝑅𝑅𝑅𝑅𝑅𝑅𝑅𝑅 , 𝑅𝑅𝑅𝑅𝑅𝑅𝑅𝑅𝑅𝑅 หาค่า 𝜎𝜎 𝜏𝜏 ที่หมุนไป ไม่ง้ นั จะหาไม่ออก
แล้วใช้ตรรกะแต่ละคนหาจากสิ่ งที่มีอยูใ่ นมือ

P
Triaxial Stress and Max Absolute Shear Stress
2 6
CE
o o
'S
วาดวงกลมโดยให้มาผ่านที่ จุดกําเนิด จะเกิด 𝜏𝜏 𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎 ขึ้น
𝑚𝑚𝑎𝑎𝑥𝑥

P
และ 𝜎𝜎𝑎𝑎 คือ 𝑆𝑆𝑆𝑆𝑆𝑆𝑆𝑆𝑅𝑅𝑅𝑅 ตรงกลางของวงกลมนั้น ; น้อยกว่า max

เกิดจากแทนค่า จริ งๆไม่ตอ้ งจําก็ได้


เพราะจําแค่สูตรหลักก็หาได้
𝛾𝛾𝑥𝑥 ′ 𝑦𝑦′ + มุมแหลม
𝛾𝛾𝑥𝑥 ′ 𝑦𝑦′ − มุมป้ าน
ถ้า เป็ น 0 จะไม่เกิดมุม Element เคลื่อตามแกนปกติ
𝛾𝛾
ที่เหลือสู ตรเหมือน σ τ เปลี่ยนตัวแปรเป็ น ε , แทน
2
Strain Rosettes

โจทย์จะให้ x y z และ มุม หา a b c กด EQN 3 ตัวแปร

2 6
E
มุมวัดจาก X ทวนเข็มไป

C
o
𝜎𝜎𝑧𝑧 = 0
o
P'S 1 = Max
2 = Min
Stresses in Thin Wall Pressure Vessels แกน X ตั้ง
Cylindrical แกน H นอน

พื้นที่วงรี = 2𝜋𝜋𝑆𝑆𝑆𝑆

Pressures = 25 Atm ≈ 2.5 MPa

ความเค้นตามแนวแกน X ณ ความหนาถัง

2 6
Spherical
CE
ความเค้นตามแนวแกน H ณ ความหนาถัง

o o
P 'S
Stress Distribution in Beams

y คือระยะที่ทาํ ใหเกิด Moment Max

1. วาด กราฟ SFD , BMD หาค่า Moment Max


2.หา 𝜎𝜎 และ 𝜏𝜏 เอาไปวาดวงกลมมอร์
3. หมุนหา Max และ Min ใน Principle
4. วาด Element ตอนหมุนไปแล้ว

2 6
Stresses in Beams due to Combined Loads

CE
o
Combined Axial Loading and Bending

'S o
P
1.หา 𝜎𝜎 ที่ ขอบแต่ละจุด
2. วาดเส้นการกระจาย
3. รวมเส้นของการกระจาย
4.หาแกน n.a ( แกน n.a. 𝜎𝜎 = 0 )

ออกสอบ ให้วาด เป็ น 2D


ให้หา แกน na โดยใช้การแทนตําแหน่ง

2 6
CE หาค่า Normal และ Shear และวาด
วงกลมมอร์ หาสิ่ งที่โจทย์ถาม

o o
P'S กรณี แรงเฉื อนในท่อ

Composite Beams ลากเส้นอ้างอิง ไปจนถึง n.a เป็ น 𝑅𝑅1


Direct Method แล้วเขียนสมการ 𝑦𝑦1 , 𝑦𝑦2
แล้วหาค่า 𝑅𝑅1 จากสมการแรก

y คือระยะที่ทาํ ใหเกิด Moment Max


Transformed Section Method
y1 A1 + y2 A2 = 0 ; E1 = E2 เพราะแปลงแล้ว

2 6
CE
o o
P 'S
Unsymmetrical Bending

2 6
CE
o o
Product of inertia

P 'S
𝑰𝑰𝒚𝒚𝒚𝒚 = 𝑨𝑨𝟏𝟏 (𝒚𝒚 � − 𝒚𝒚𝟐𝟐 )(𝒚𝒚� − 𝒚𝒚𝟐𝟐 )+ .. ; y1 คือเซนทรอยด์ รูปเล็กนั้นๆ
� − 𝒚𝒚𝟏𝟏 )(𝒚𝒚� − 𝒚𝒚𝟏𝟏 ) + 𝑨𝑨𝟐𝟐 (𝒚𝒚
2 6
CE
o
Shear Flow

'S o
P
Flange เอาถึงเส้ นประ a

; Web + Flange เอาทั้ง b ละ tw


Shear Stress ในท่ อวงกลม

Built-up Beam

; ตัดผ่ าน 2 ตัวก็เป็ น 2qr , n ตัวก็ nqr

; ระยะตอกตะปู มีทศนิยม ให้ ปัดเลขลง

2 6
CE
o
Shear Center (หาระยะทีม่ ีแรง V กระทํา แล้ วไม่ เกิดโก่ งเอียงผิดแกนปกติ)

o
P 'S
; Shear Stress = Area Shear flow
*จากบทพิสูจน์ สรุ ปได้ ว่า ระยะ e ไม่ ขึน้ อยู่กบั V เพราะมันตัดกันในสู ตร
Buckling of Columns

2 6
E
สมดุลแบบ Stable (ไม่ ว่าจะวางจุดไหน จะกลับมาจุดทีส่ มดุลเสมอ)

C
o o
'S
สมดุลแบบ Neutral (วางจุดไหน ก็สมดุลจุดนั้น)

P
สมดุลแบบ Unstable (มีจุดสมดุลจุดเดียว ไปสะกิดนิดเดียว วัตถุไหลออกจากสมดุล)
; ออกแรง P กระทําเอียงขนาดไหน สปริงจะดัดกลับมาทีแ่ กน x เสมอ

2 6
CE
o o
P 'S
; 𝑷𝑷𝒄𝒄𝒄𝒄 คือแรงทีส่ ปริงดีดกลับ , ถ้ าออกแรง P น้ อยกว่ า 𝑷𝑷𝒄𝒄𝒄𝒄 จะดีดกลับสมดุล เป็ นต้ น
เมื่อ n = 1 คือค่ าน้ อยสุ ด (สู งสุ ดทีย่ อมให้ )

2 6
CE
เมื่อ n = 1 คือค่ าน้ อยสุ ด (สู งสุ ดทีย่ อมให้ )

o o
รู ปแสดงการอธิบายการกําหนดค่ า n (จํานวน n คือจํานวนโค้ งการโก่ งตัว)

P 'S
𝝈𝝈𝒄𝒄𝒄𝒄 คือหน่ วยแรงวิกฤต
; ถ้ ามีค่ามาก ชิ้นส่ วนจะเรียวเล็ก
ความเข้ าใจกราฟด้ านล่ าง
ถ้ า 𝝈𝝈𝒄𝒄𝒄𝒄 < 𝝈𝝈𝒀𝒀 ใช้ 𝝈𝝈𝒄𝒄𝒄𝒄 (คานจะวิบัติโดยการโก่ งเดาะ)

6
ถ้ า 𝝈𝝈𝒄𝒄𝒄𝒄 > 𝝈𝝈𝒀𝒀 ใช้ 𝝈𝝈𝒀𝒀 แล้ วหา 𝑷𝑷𝒄𝒄𝒄𝒄 จาก 𝑷𝑷𝒄𝒄𝒄𝒄 = 𝝈𝝈𝒀𝒀 𝑨𝑨 (คานจะวิบัติโดยการวิบัติของวัสดุน้ันๆ)

E 2
o C
'S o
P ; จุดที่ 𝝈𝝈𝒄𝒄𝒄𝒄 ตัดกับ 𝝈𝝈𝒀𝒀 จุดคุ้มค่ า
2 6
CE
Pin-Pin K = 1 , Pin-Fix K = 0.7 , Fix-Fix K = 0.5 , Fix-Free K = 2
(สายตาของเราจะขนานกับแกนนั้นๆ เช่ น เราบอกว่ ามันโก่ งรอบแกน X คือแกน X พุ่งเข้ าหาเรา ส่ วน Y,Z ตั้งฉากเรา)

o o
P
𝝈𝝈𝒄𝒄𝒄𝒄 จะถูกกําหนดโดย
𝑲𝑲𝑲𝑲
𝒄𝒄
'S
มากสุ ด
𝑲𝑲𝑲𝑲
จากนั้นเอา ไปแทนใน 𝝈𝝈𝒄𝒄𝒄𝒄 แล้ วหา 𝑷𝑷𝒄𝒄𝒄𝒄
𝒄𝒄
เสร็จแล้วเช็คว่าโจทย์ให้ หา 𝑷𝑷𝒄𝒄𝒄𝒄 หรื อ 𝑷𝑷𝒂𝒂𝒂𝒂𝒂𝒂𝒂𝒂𝒘𝒘

กรณีโจทย์ ไม่ บอกว่ าโก่ งด้ านไหน ให้ ดูทคี่ ่ า I โดยที่ I น้ อย จะบอกว่ าโก่ งเดาะทีแ่ กนนั้น เช่ น 𝑰𝑰𝒙𝒙 = 5 , 𝑰𝑰𝒚𝒚 6
สรุ ปได้ ว่ามีการโก่ งโด่ งทางแกน x เพราะน้ อยสุ ด เราจะใช้ 𝑰𝑰𝒙𝒙 = 5 ในการคํานวณหา 𝝈𝝈𝒄𝒄𝒄𝒄 𝑷𝑷𝒄𝒄𝒄𝒄 ต่ อไป
เพิม่ เติมเฉลย Final เขียนบรรยาย
1.ศูนย์ กลางแรงเฉื อนคืออะไร?
ตอบ Shear Center คือ จุดที่แรงเฉื อนจะต้ องกระผ่ าน เพื่อให้ คานอยู่ภายใต้ Bending อย่ างเดียวเท่ านั้นโดยไม่ บิด

2.ศูนย์กลางแรงเฉื อนขึน้ อยู่กับขนาดของแรงเฉื อนบนหน้ าตัดใช่ หรื อไม่ ?


ตอบ ไม่ เกีย่ วกับแรงเฉื อน ปั จจัยทีม่ ีผลต่ อศูนย์ กลางแรงเฉื อนคือ ขนาดและรู ปร่ างของหน้ าตัดคาน

3.จงอธิบายพฤติกรรมการโก่ งเดาะ
ตอบ พฤติกรรมการโก่ งเดาะนั้น เป็ นพฤติกรรมการวิบัติแบบเสี ยเสถียรภาพของคานยาว โดยที่ 𝝈𝝈𝒄𝒄𝒄𝒄 < 𝝈𝝈𝒀𝒀 (หน่ วย

6
แรงเฉื อนวิกฤตน้ อยกว่ าหน่ วยแรงเฉื อนคราก) เพราะถ้ า 𝝈𝝈𝒄𝒄𝒄𝒄 > 𝝈𝝈𝒀𝒀 จะเป็ นการวิบัติของคานสั้ น

4. ปัจจัยทีม่ ีผลต่ อการโก่ งเดาะ และมีผลอย่ างไร?

E 2
C
ตอบ
E มาก การโก่ งเดาะจะเกิดได้ยาก

I มาก การโก่ งเดาะจะเกิดได้ ยาก

o
เสาหรื อคานยาว มาก จะเกิดได้ ง่าย o
P 'S

You might also like