You are on page 1of 27

ฟิ สิ ก ส์ พื้ น ฐ า น ชั้ น มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 4 โ ร ง เ รี ย น ส ว น กุ ห ล า บ วิ ท ย า ลั ย ส ม ดุ ล ก ล | 1

ชื่อ_______________________________________ชั้น_______เลขที่___________

บทที่ 5 สมดุลกล
• สภาพสมดุล
• สมดุลต่อการเคลื่อนที่
• สมดุลต่อการหมุน
• ศูนย์กลางมวลและศูนย์ถ่วง
• สมดุลของวัตถุ
• เสถียรภาพของสมดุล
ฟิ สิ ก ส์ พื้ น ฐ า น ชั้ น มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 4 โ ร ง เ รี ย น ส ว น กุ ห ล า บ วิ ท ย า ลั ย ส ม ดุ ล ก ล | 2

1 สภาพสมดุล (Equilibrium)

สภาพสมดุล (Equilibrium) คือ การที่แรงลัพธ์กระทำต่อวัตถุแล้ววัตถุยังคงสภาพการ


เคลื่อนที่หรือไม่มีการเปลี่ยนสภาเคลื่อนที่ ถ้าวัตถุหยุดนิ่งก็จะนิ่งอย่างนั้น ถ้าวัตถุเคลื่อนที่ ก็จะ
เคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงที่ ซึ่งเป็นไปตามกฎการเคลื่อนที่ข้อที่ 1 ของนิวตัน ซึ่งสภาพสมดุลแบ่งเป็น
1.1. สมดุลสถิต (Static Equilibrium) คือ สมดุลของวัตถุที่อยู่ในสภาพนิ่งเมื่อมีแรงลัพธ์
มากระทำต่อวัตถุ เช่น หนังสือวางบนโต๊ะ แก้วน้ำวางบนเก้าอี้ คนยืนนิ่งบนบันได
1.2. สมดุลจลน์ (Dynamic Equilibrium ) คือ สมดุลของวัตถุที่เคลื่อนที่ด้วยความเร็วคง
ตัว หรือหมุนด้วยความเร็วเชิงมุมคงตัว เช่น กล่องไม้ไถลลงจากพื้นเอียงด้วยความเร็ว
คงตัว ล้อหมุนด้วยความเร็วเชิงมุมคงตัว
ฟิ สิ ก ส์ พื้ น ฐ า น ชั้ น มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 4 โ ร ง เ รี ย น ส ว น กุ ห ล า บ วิ ท ย า ลั ย ส ม ดุ ล ก ล | 3

2 สมดุลต่อการเคลื่อนที่ (Translational Equilibrium)

สมดุลต่อการเคลื่อนที่ (Translational Equilibrium) คือ สภาพที่วัตถุนิ่ง หรือเคลื่อนที่ด้วย


ความเร็วคงตัว โดยไม่เปลี่ยนสภาพการเคลื่อนที่ ซึ่งแสดงว่า แรงลัพธ์ที่กระทำต่อวัตถุนั้นเป็นศูนย์
ตามกฎการเคลื่อนที่ข้อที่ 1 ของนิวตัน
𝑛

∑ ⃑⃑𝐹𝑖 = 0 เมื่อ i = 1,2,3….,n


𝑖=1

แนวราบ ∑ 𝐹𝑥 = 0

แนวดิ่ง ∑ 𝐹𝑦 = 0

2.1 สมดุลเนื่องจากแรงสองแรง
ถ้าวัตถุมีแรงมากระทำสองแรงแล้วการที่จะทำให้วัตถุนั้นมีสภาพสมดุลก็ต่อเมื่อมีเงื่อนไข
ดังนี้
1. แรงทั้งสองมีขนาดเท่ากัน แต่ทิศทางตรงข้ามกัน
2. แนวแรงทั้งสองต้องอยู่ในแนวเส้นตรงเดียวกัน

𝑁
จากกฎข้อที่ 1 ของนิวตัน
∑𝐹 = 0
⃑⃑⃑ − 𝑁
𝑊 ⃑ =0

⃑⃑⃑ = 𝑁
𝑊 ⃑

⃑⃑⃑
𝑊

ขวดน้ำวางบนโต๊ะ แรงสองแรง
ที่กระทำต่อขวดน้ำ
ฟิ สิ ก ส์ พื้ น ฐ า น ชั้ น มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 4 โ ร ง เ รี ย น ส ว น กุ ห ล า บ วิ ท ย า ลั ย ส ม ดุ ล ก ล | 4

2.2 สมดุลเนื่องจากแรงสามแรง
ถ้าวัตถุมีแรงมากระทำสามแรงแล้วการที่จะทำให้วัตถุนั้นมีสภาพสมดุลก็ต่อเมื่อมีเงื่อนไข
ดังนี้
2.2.1 แนวแรงทั้งสามขนานกัน
1. แรงลัพธ์ของแรงทั้งสามต้องเป็นศูนย์
2. แนวแรงทั้งสามต้องอยู่ในระนาบเดียวกันเสมอ
3. แนวแรงทั้งสามไม่จำเป็นต้องพบกันที่จุดใดจุดหนึ่ง

จากกฎข้อที่ 1 ของนิวตัน
∑𝐹 = 0
⃑1 +𝑁
𝑁 ⃑2 −𝑊
⃑⃑⃑ = 0
⃑1 +𝑁
𝑁 ⃑2 = 𝑊
⃑⃑⃑

2.2.2 แนวแรงทั้งสามไม่ขนานกัน
1. แรงลัพธ์ของแรงทั้งสามต้องเป็นศูนย์
2. แนวแรงทั้งสามต้องอยู่ในระนาบเดียวกันเสมอ
3. แนวแรงทั้งสามต้องพบกันที่จุดใดจุดหนึ่ง
เมื่อนำเวกเตอร์ของแรงมารวมกัน (หางต่อหัว) ถ้าได้ รูปสามเหลี่ยมปิด แสดงว่า แรง
ลัพธ์จะมีค่าเท่ากับศูนย์

จากกฎข้อที่ 1 ของนิวตัน
∑𝐹 = 0

𝐹1 + 𝐹2 + 𝐹3 = 0

𝐹1 + 𝐹2 = −𝐹3
ฟิ สิ ก ส์ พื้ น ฐ า น ชั้ น มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 4 โ ร ง เ รี ย น ส ว น กุ ห ล า บ วิ ท ย า ลั ย ส ม ดุ ล ก ล | 5

2.3 สมดุลของแรงมากกว่าสามแรง
ถ้าวัตถุมีแรงมากระทำมากกว่าสามแรงแล้วการที่จะทำให้วัตถุนั้นมีสภาพสมดุลก็ต่อเมื่อ มี
เงื่อนไขดังนี้
1. แรงลัพธ์ทั้งหมดต้องมีค่าเท่ากับศูนย์
2. แนวแรงอาจจะไม่พบกันที่จุดจุดเดียว
3. แนวแรงที่กระทำไม่จำเป็นต้องอยู่ระนาบเดียวกัน
จากกฎข้อที่ 1 ของนิวตัน
𝐹1 + 𝐹2 + 𝐹3 + ⋯ + 𝐹𝑛 = 0
𝑛

∑ ⃑⃑𝐹𝑖 = 0
𝑖=1

2.4 ทฤษฎีของลามิ (Lami Theorem)


2.4.1 ถ้าทราบมุม เมื่อแรงทั้งสามกระทำต่อวัตถุที่จุดใดจุดหนึ่ง และอยู่ในสภาวะ
สมดุล จะได้ว่าอัตราส่วนของแรงต่อ sin ของมุมตรงข้ามจะเท่ากัน
𝐹3
𝜃1 𝐹2
𝐹1 𝐹2 𝐹3
𝜃2 𝜃3 = =
𝑠𝑖𝑛𝜃1 𝑠𝑖𝑛𝜃2 𝑠𝑖𝑛𝜃3

𝐹1

2.4.2 ถ้าทราบแรงตั้งฉากกับด้านของสามเหลี่ยม เมื่อมีแรงสามแรงมากระทำต่อ


วัตถุร่วมกันที่จุด ๆ หนึ่ง และอยู่ในภาวะสมดุล รูปสามเหลี่ยมใดก็ตามที่มีด้าน
ทั้งสามตั้งฉากกับแนวของแรงทั้งสามนั้นตามลำดับ ย่อมเป็นสัดส่วนโดยตรง
กับแรงซึ่งมีแนวตั้งฉากกับด้านนั้นตามลำดับ

𝐹1 𝐹2 𝐹3
= =
𝐴𝐵 𝐵𝐶 𝐴𝐶
ฟิ สิ ก ส์ พื้ น ฐ า น ชั้ น มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 4 โ ร ง เ รี ย น ส ว น กุ ห ล า บ วิ ท ย า ลั ย ส ม ดุ ล ก ล | 6

2.4.3 ถ้ารู้แรงขนานกับด้านของสามเหลี่ยม เมื่อมีแรงสามแรงมากระทำต่อวัตถุร่วม


กันที่จุด ๆ หนึ่ง และอยู่ในภาวะสมดุลขนาดและทิศทางของแรงทั้งสาสามารถ
แทนได้ โ ดยด้ า นทั ้ ง สามของสามเหลี ่ ย มรู ป หนึ ่ ง เมื ่ อ ด้ า นทั ้ ง สามของรู ป
สามเหลี่ยมนั้นขนานกับแนวแรงทั้งสามตามลำดับ

𝐹1 𝐹2 𝐹3
= =
𝐴𝐵 𝐵𝐶 𝐴𝐶

ตัวอย่างที่ 1 จงตรวจสอบว่าระบบอยู่ในสมดุลหรือไม่

ตัวอย่างที่ 2 จากรูป หากระบบอยู่ในภาวะสมดุล จงหาขนาดของแรงตึงเชือก T1และ T2 ตามลำดับ

ตัวอย่างที่ 3 จากรูป ระบบอยู่ในภาวะสมดุล W มีค่าเท่าไร


ฟิ สิ ก ส์ พื้ น ฐ า น ชั้ น มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 4 โ ร ง เ รี ย น ส ว น กุ ห ล า บ วิ ท ย า ลั ย ส ม ดุ ล ก ล | 7

ตัวอย่างที่ 4 วัตถุก้อนหนึ่งแขวนไว้ด้วยเชือกเบาสามเส้น ถ้าเชือกแต่ละเส้นรับแรงดึงได้ไม่เกิน 20


นิวตัน จงหาว่าจะแขวนน้ำหนักได้มากที่สุดเท่าไร

ตัวอย่างที่ 5 กรอบรูปสี่เหลี่ยมหนัก 30 นิวตัน มีเชือกเส้นหนึ่งผูกที่มุมบนทั้งสองของกรอบรูป แล้ว


คล้องกับตะปูลื่นตัวหนึ่ง ปรากฏว่าเส้นเชือกทำมุม 37 องศา กับแนวกรอบรูป จงหาแรงดึงเชือก

ตัวอย่างที่ 6 แขวนวัตถุมวล m ด้วยเชือกเบา ถ้าแรงดึงในเส้นเชือกตามแนวระดับมีขนาด 60 นิวตัน


จงหาน้ำหนักวัตถุนั้น

ตัวอย่างที่ 7 วัตถุมวล 0.6 kg ผูกเชือกแขวนกับเพดาน จงหาความตึงในเส้นเชือกที่ติดกับเพดาน


ฟิ สิ ก ส์ พื้ น ฐ า น ชั้ น มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 4 โ ร ง เ รี ย น ส ว น กุ ห ล า บ วิ ท ย า ลั ย ส ม ดุ ล ก ล | 8

ตัวอย่างที่ 8 ชายคนหนึ่งมวล 80 kg โหนเชือกเบาที่จุด O โดยปลายของเชือกทั้ง


สองข้างไปผูกไว้แน่นกับเสาที่ A และ B แรงตึงในเส้นเชือก AO และ BO เป็นเท่าไร

ตัวอย่างที่ 9 จากรูป จงหา


ก. มวล m มีค่ามากที่สุดได้เท่าไร โดยระบบยังสมดุลได้
ข. มุม 𝜃 มีค่าเท่าไร

ตัวอย่างที่ 10 วัตถุ M และ m สมดุลกันดังรูป อัตราส่วน M/m มีค่าเท่าไร


ฟิ สิ ก ส์ พื้ น ฐ า น ชั้ น มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 4 โ ร ง เ รี ย น ส ว น กุ ห ล า บ วิ ท ย า ลั ย ส ม ดุ ล ก ล | 9

ตัวอย่างที่ 11 นำเชือกผูกกับก้อนน้ำหนัก W จงหาอัตราส่วนของ


ขนาดแรงตึงในเส้นเชือก T1 ต่อ T2

ตัวอย่างที่ 12 เชือกที่โยงกำแพงแนวตั้งกับคานเบามาก จะต้องทนแรงดึงได้ไม่ต่ำ


กว่ากี่นิวตัน จึงจะทำให้นำ้ หนัก 46 นิวตัน อยู่ในภาวะสมดุล

ตัวอย่างที่ 13 วัตถุมวล 20 กิโลกรัม วางอยู่บนพื้นเอียงลื่น ซึ่งทำมุม 30 องศา กับแนวระดับ จงหา


แรงน้อยที่สุดที่ผลักวัตถุขนึ้ ตามแนวพื้นเอียง ที่ทำให้วัตถุอยู่ในสภาพสมดุลได้
ฟิ สิ ก ส์ พื้ น ฐ า น ชั้ น มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 4 โ ร ง เ รี ย น ส ว น กุ ห ล า บ วิ ท ย า ลั ย ส ม ดุ ล ก ล | 10

ตัวอย่างที่ 14 ทรงกลมมวล 3 kg วางอยู่บนพื้นเอียง 2 อัน ซึ่งวางให้ปลายชิด


กันทำมุม 60 องศา และ 30 องศา กับแนวระดับ ตามรูป ถ้า R1 และ R2 เป็น
ขนาดของแรงกระทำต่อพื้นเอียงต่อทรงกลมทางด้านมุม 60 องศา และ 30
องศา ตามลำดับ ขนาดของแรง R1 มีขนาดเท่าไร

ตัวอย่างที่ 15 ทรงกลมตันหนัก 5 นิวตัน วางอยู่บนระนาบเอียงที่ไม่มีแรงเสียด


ทาน 2 อัน ซึ่งทำมุม 30 องศา และ 60 องศา กับพื้นราบดังแสดงในรูป ขนาด
ของแรง N1 และ N2 มีขนาดเท่าไร

ตัวอย่างที่ 16 ทรงกลมขนาดเท่ากันสองลูก หนักลูกละ 100 นิวตัน นำเชือก


ผูกในแนวผ่านจุดศูนย์กลางของทรงกลมทั้งสองแล้ววางบนพื้นเอียงดังรูป จง
หาแรงตึงในเส้นเชือกและแรงกระทำระหว่างทรงกลมกับพื้นเอียง
ฟิ สิ ก ส์ พื้ น ฐ า น ชั้ น มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 4 โ ร ง เ รี ย น ส ว น กุ ห ล า บ วิ ท ย า ลั ย ส ม ดุ ล ก ล | 11

ตัวอย่างที่ 17 ทรงกลม A และ B ขนาดเท่ากัน มีมวล 2 และ 3 กิโลกรัม


วางบนพื้นเอียง ซึ่งปลายล่างวางชิดกับผนังดังรูป จงหาแรงปฏิกิริยาทุกแรง

ตัวอย่างที่ 18 ทรงกลมขนาดสม่ำเสมอหนักลูกละ 10 นิวตัน มีรัศมีลูกละ 2.5 เซนติเมตร


อยู่ในกล่องใบหนึ่งกว้าง 8 เซนติเมตร จงหาแรงปฏิกิริยาทุกแรง

ตัวอย่างที่ 19 ทรงกระบอกผิวเกลี้ยงสามอัน ขนาดเท่ากันมีรัศมีอันละ 10 cm


วางซ้อนกันดังรูป ทรงกระบอกอันบนหนัก 40 N ส่วนอันล่างหนักอันละ 80 N
จงหาแรงตึงในเส้นเชือก AB ซึ่งยาว 32 cm
ฟิ สิ ก ส์ พื้ น ฐ า น ชั้ น มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 4 โ ร ง เ รี ย น ส ว น กุ ห ล า บ วิ ท ย า ลั ย ส ม ดุ ล ก ล | 12

3 สมดุลต่อการหมุน (Rotational Equilibrium)

3.1 โมเมนต์ของแรงหรือทอร์ก
โมเมนต์ของแรง (Moment of force) หรือทอร์ก (Torque) หมายถึง ผลของแรงใด
แรงหนึ่งที่กระทำต่อวัตถุ เพื่อให้วัตถุนั้นหมุนไปรอบจุดคงที่จุดหนึ่ง จุดคงที่นั้นเรียกว่า
จุดหมุน หรือจุดฟัลครัม (Fulcrum) ซึ่งวัตถุจะไม่หมุนหรือหมุนด้วยอัตราเร็วเชิงมุมคงตัว
ต่อเมื่อทอร์ก หรือโมเมนต์ของแรงที่กระทำต่อวัตถุเป็นศูนย์ ดังนั้นเงื่อนไขของสมดุลต่อ
การหมุน คือ ผลรวมของทอร์กลัพธ์หรือโมเมนต์ลัพธ์กระทำต่อวัตถุรอบแกนหมุนใด ๆ
เป็นศูนย์ โดยโมเมนต์ของแรงหรือทอร์กหาได้จาก
𝑛 𝑛
∑ 𝑀𝑖 หรือ ∑ 𝜏𝑖
𝑖=1 𝑖=1

เมื่อให้ 𝜏𝑖 แทนทอร์กต่าง ๆ หรือ 𝑀1 แทนโมเมนต์ของแรงต่าง ๆ


ขนาดของทอร์กหรือขนาดของโมเมนต์ M ของแรง F หาได้จาก

⃑⃑ = 𝑟 𝑥 𝐹
𝑀 (N.m)

จะได้ 𝑀 = 𝐹𝑟𝑠𝑖𝑛𝜃
= 𝐹𝑑

ทอร์กหรือโมเมนต์ของแรง เป็นปริมาณเวกเตอร์ มีทั้งขนาดและทิศทาง โดยทิศทางเมื่อ


พิจารณาวัตถุที่หมุนรอบแกนหมุนตรึงแน่น ทิศทางหาได้จากกฎมือขวา
ฟิ สิ ก ส์ พื้ น ฐ า น ชั้ น มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 4 โ ร ง เ รี ย น ส ว น กุ ห ล า บ วิ ท ย า ลั ย ส ม ดุ ล ก ล | 13

เมื่อวัตถุอยู่ในสมดุลสถิต คือไม่หมุน ผลรวมโมเมนต์ของแรงต้องเป็นศูนย์ ∑𝑛𝑖=1 𝑀𝑖 = 0

∑𝑀 = 0

𝑊1 𝑑1 − 𝑊2 𝑑2 − 𝑊3 𝑑3 = 0
𝑊1 𝑑1 = 𝑊2 𝑑2 + 𝑊3 𝑑3

ตัวอย่างที่ 20 จากรูปเป็นคานเบาอันหนึ่ง มวล m ควรจะมีค่ากี่


กิโลกรัม จึงจะทำให้คานอยู่ในภาวะสมดุล

ตัวอย่างที่ 21 คานอันหนึ่งยาว 6 เมตร หนัก 8 นิวตัน มีจุดหมุนอยู่ห่างจากปลายข้างหนึ่ง 1 เมตร


ต้องใช้แรง F กดลงที่ปลายคานเท่าไร จึงจะทำให้คานนี้อยู่ในสภาพสมดุล
ฟิ สิ ก ส์ พื้ น ฐ า น ชั้ น มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 4 โ ร ง เ รี ย น ส ว น กุ ห ล า บ วิ ท ย า ลั ย ส ม ดุ ล ก ล | 14

ตัวอย่างที่ 22 จากรูปเป็นไม้คานมีจุดหมุนอยู่ที่ระยะห่างจากปลายขวา
ยาว 2 เมตร มีชายคนหนึ่งมวล 60 กิโลกรัม ยื นอยู่บนคานนั้น จงหาว่า
คานนี้ควรมีมวลกี่กิโลกรัมจึงจะอยู่ในภาวะสมดุล

ตัวอย่างที่ 23 นาย A และนาย B ยืนอยู่ปลายกระดานคนละด้าน มวล


ของกระดาน 5 กิโลกรัม ถ้านาย Aมีมวล 60 กิโลกรัม นาย B มีมวลเท่าไร

ตัวอย่างที่ 24 จากรูป จงหาแรง T และ W


ฟิ สิ ก ส์ พื้ น ฐ า น ชั้ น มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 4 โ ร ง เ รี ย น ส ว น กุ ห ล า บ วิ ท ย า ลั ย ส ม ดุ ล ก ล | 15

ตัวอย่างที่ 25 คานสม่ำเสมอหนัก 30 นิวตัน จงหาน้ำหนัก W ที่ทำให้


ระบบนี้ยังคงสมดุลได้พอดี คานถูกแขวนด้วยเชือก AB

ตัวอย่างที่ 26 นาย A และนาย B แบกกระดานสม่ำเสมอยาว 10 เมตร มีมวล


20 กิโลกรัม ในแนวระดับ เด็กคนหนึ่งยืนบนกระดานที่จุด C มีมวล 5 กิโลกรัม
นาย A และ B จะต้องออกแรงคนละกี่นิวตัน ตามลำดับ

ตัวอย่างที่ 27 แผ่นไม้สม่ำเสมอแผ่นหนึ่งยาว 4 เมตร มีมวล 60 กิโลกรัม


วางพาดอยู่บนหมอนหนุนที่จุด C และปลาย A ตั้งอยู่บนคมมีด ชายคนหนึ่ง
หนัก 600 นิวตัน เดินบนแผ่นไม้จาก A ไปยัง B จงหาว่าเขาจะเดินไปได้ไกล
จาก A เป็นระยะทางมากที่สุดกี่เมตร แผ่นไม้จึงจะยังคงสภาพสมดุลอยู่ได้
ฟิ สิ ก ส์ พื้ น ฐ า น ชั้ น มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 4 โ ร ง เ รี ย น ส ว น กุ ห ล า บ วิ ท ย า ลั ย ส ม ดุ ล ก ล | 16

ตัวอย่างที่ 28 กระดานสปริงสำหรับกระโดดน้ำ หนัก 400 นิวตัน มีหลักยึด


กับกระดานสปริงที่ A และ B ซึ่งห่างกัน 1/4 ของความยาวของคานสปริง จง
หาขนาดของแรงที่ A และ B กระทำต่อกระดานสปริง ขณะที่นักกระโดด
น้ำหนัก 600 นิวตัน ที่ปลายคาน C ยืนนิ่งอยู่

ตัวอย่างที่ 29 คานสม่ำเสมอมีมวล 10 kg แขวนไว้กับเพดานที่จุดหมุนลื่น จงหาขนาด


ของแรง F ในแนวระดับ ที่ดันปลายคานด้านล่างให้คานเบนไปจากแนวเดิม 30 องศา

ตัวอย่างที่ 30 คาน AB โตสม่ำเสมอมีมวล 5 กิโลกรัม และแขวนมวล 15 กิโลกรัม


ไว้ตรงจุดกึ่งกลางคาน แรงดึงในเส้นเชือก CD มีค่าเท่าไร
ฟิ สิ ก ส์ พื้ น ฐ า น ชั้ น มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 4 โ ร ง เ รี ย น ส ว น กุ ห ล า บ วิ ท ย า ลั ย ส ม ดุ ล ก ล | 17

3.2 แรงที่กระทำต่อวัตถุในกรณีต่าง ๆ
1. ไม้คานพิงกำแพงเกลี้ยง

2. ไม้คานพิงกำแพงฝืด

3. ไม้คานติดไว้กับกำแพง
ฟิ สิ ก ส์ พื้ น ฐ า น ชั้ น มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 4 โ ร ง เ รี ย น ส ว น กุ ห ล า บ วิ ท ย า ลั ย ส ม ดุ ล ก ล | 18

ตัวอย่างที่ 31 บันไดสม่ำเสมอมวล 5 กิโลกรัม ยาว 10 เมตร ปลายบนวางพิงกำแพงเกลี้ยง ปลายล่าง


วางอยู่บนพื้นราบฝืด โดยวางไว้ห่างจากกำแพง 6 เมตร ถ้าพื้นราบนั้นมีค่าสัมประสิทธิ์ความเสียดทาน
0.4 แล้วมีชายคนหนึ่งมวล 50 กิโลกรัม ไต่บันไดขึ้นไป จงหาว่าเขาจะไต่บันไดขึ้นไปได้เป็นระยะไกล
สุดกี่เมตร บันไดจึงจะเริ่มไถล

ตัวอย่างที่ 32 บันไดสม่ำเสมอยาว 10 เมตร หนัก 400 นิวตัน ปลายบนพิงกำแพงเกลี้ยงตรงจุดซึ่งอยู่


สูงจากพื้น 8 เมตร โดยบันไดยันกับพื้นขรุขระห่างจากกำแพง 6 เมตร จงหาแรงที่ยันปลายบันไดไม่ให้
ไถลลงมา

ตัวอย่างที่ 33 จากข้อ 32 ถ้ามีวัตถุหนัก 100 นิวตัน วางอยู่ปลายบันไดด้านล่างห่างขึ้นมา 1/4 ของ


ความยาวของบันได จงหาแรงเสียดทานที่พื้นราบ
ฟิ สิ ก ส์ พื้ น ฐ า น ชั้ น มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 4 โ ร ง เ รี ย น ส ว น กุ ห ล า บ วิ ท ย า ลั ย ส ม ดุ ล ก ล | 19

ตัวอย่างที่ 34 บันไดสม่ำเสมอหนัก 200 นิวตัน ปลายบนพิงกำแพงเกลี้ยงตรงจุดซึ่งอยู่สูงจากพื้น


4 เมตร โดยบันไดยันกับพื้นขรุขระห่างจากกำแพง 3 เมตร จงหาแรงที่ยันปลายบันไดไม่ให้ไถลลงมา

ตัวอย่างที่ 35 จากข้อ 34 ถ้ามีวัตถุหนัก 100 นิวตัน วางอยู่ปลายบันไดด้านล่างห่างขึ้นมา 1/4 ของ


ความยาวของบันได จงหาแรงเสียดทานที่พื้นราบ

ตัวอย่างที่ 36 บันไดยาว 2.5 เมตร มีน้ำหนัก 40 นิวตัน ศูนย์ถ่วงของบันได อยู่


ห่างจากปลายล่าง 1 เมตร จงหาแรงที่บันไดกระทำต่อกำแพงที่จุด A และแรงเสียด
ทานระหว่างพื้นล่างกับบันไดและเพื่อทำให้บันไดอยู่นิ่งได้ตามลำดับ
ฟิ สิ ก ส์ พื้ น ฐ า น ชั้ น มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 4 โ ร ง เ รี ย น ส ว น กุ ห ล า บ วิ ท ย า ลั ย ส ม ดุ ล ก ล | 20

ตัวอย่างที่ 37 เส้นลวดดึงคาน AB มีมวล 5 กิโลกรัม แขวนไว้ที่ปลาย B


ถ้าคานสม่ำเสมอมีน้ำหนัก 20 นิวตัน ยาว 5 เมตร มีปลาย A ตรึงติด
กำแพง คานสมดุลอยู่ได้ดังรูป จงหาว่าแรงดึงเส้นลวดมีค่าเท่าไร

ตัวอย่างที่ 38 เส้นลวดดึงคาน AB มีน้ำหนัก 50 นิวตัน แขวนไว้ที่ถ้าคาน


สม่ำเสมอมีน้ำหนัก 20 นิวตัน ยาว 5 เมตร มีปลาย A ตรึงติดกำแพง คาน
สมดุลอยู่ได้ดังรูป จงหาว่าแรงดึงเส้นลวดมีค่าเท่าไร

ตัวอย่างที่ 39 คานสม่ำเสมอ ปลายหนึ่งยึดติดกับกำแพงด้วยตะปูเกลี้ยง อีก


ปลายหนึ่งยึดไว้ด้วยสายเคเบิลดังรูป ถ้าคานหนนัก 100 นิวตัน และน้ำหนักที่
ถ่วงขนาด 400 นิวตัน แรงดึงในสายเคเบิลเป็นเท่าไร
ฟิ สิ ก ส์ พื้ น ฐ า น ชั้ น มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 4 โ ร ง เ รี ย น ส ว น กุ ห ล า บ วิ ท ย า ลั ย ส ม ดุ ล ก ล | 21

3.3 โมเมนต์ของแรงคู่ควบ
แรงคู่ควบ (couple) หมายถึง แรงขนานสองแรงที่มีขนาดเท่ากัน แต่มีทิศทางตรงข้าม
และไม่อยู่ในแนวแรงเดียวกัน ผลของแรงทำให้เกิดการหมุนโดยไม่มีการเลื่อนขนาน

ถ้าให้ Fเป็นขนาดของแรงคู่ควบแต่ละแรง จะหาผลรวมของโมเมนต์ของแรงคู่ควบได้


ดังนี้

“โมเมนต์ของแรงคู่ควบใด ๆ มีขนาดเท่ากับผลคูณของขนาดของแรงใดแรงหนึ่งกับระยะทางตั้งฉาก
ระหว่างแนวแรงทั้งสอง”

ตัวอย่างที่ 40 แรงสองแรง ขนานกันแต่มีทิศตรงกันข้าม ขนาด 50 นิวตันเท่ากัน แนวแรงทั้งสองห่าง


กัน 10 เซนติเมตร โมเมนต์ของแรงคู่นี้รอบจุดใด ๆ ที่อยู่ระหว่างแนวแรงทั้งคู่จะเป็นเท่าไร

ตัวอย่างที่ 41 แรงสองแรง ขนานกันแต่มีทิศตรงกันข้าม ขนาด 100 นิวตัน เท่ากัน แนวแรงทั้งสอง


ห่างกัน 5 เซนติเมตร โมเมนต์ของแรงคู่นี้รอบจุดใด ๆ ที่อยู่ระหว่างแนวแรงทั้งคู่จะเป็นเท่าไร
ฟิ สิ ก ส์ พื้ น ฐ า น ชั้ น มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 4 โ ร ง เ รี ย น ส ว น กุ ห ล า บ วิ ท ย า ลั ย ส ม ดุ ล ก ล | 22

ตัวอย่างที่ 42 ชายคนหนึ่งขับรถเลี้ยวซ้าย เกิดโมเมนต์ของแรงคู่ควบที่พวงมาลัย 100 นิวตัน เมตร


ถ้าพวงมาลัยมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 0.5 เมตร จงหาแรงที่มือแต่ละข้างดึงพวงมาลัย

ตัวอย่างที่ 43 ชายคนหนึ่งขับรถเลี้ยวซ้าย เกิดโมเมนต์ของแรงคู่ควบที่พวงมาลัย 200 นิวตัน เมตร


ถ้าพวงมาลัยมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 0.4 เมตร จงหาแรงที่มือแต่ละข้างดึงพวงมาลัย

4 ศูนย์กลางมวล และศูนย์ถ่วง

4.1 ศูนย์กลางมวล (Center of mass : cm) หมายถึงจุดเสมือนเป็นที่รวมของมวลทั้งหมด


ของวัตถุ เป็นตำแหน่งภายในหรือภายนอกวัตถุเฉพาะสำหรับแต่ละวัตถุแข็งเกร็ง (วัตถุที่มี
รูปทรงแน่นอน ระยะห่างระหว่างจุดต่าง ๆ บนวัตถุคงตัว และวัตถุไม่เปลี่ยนแปลงรูปร่าง
เมื่อเคลื่อนที่หรือมีแรงกระทำ) ถ้าวัตถุสองก้อนมีมวลเท่ากันและอยู่แยกกัน ศูนย์กลางมวล
จะอยู่กึ่งกลางระหว่างมวลทั้งสอง ถ้ามวลไม่เท่ากัน ศูนย์กลางมวลจะอยู่ใกล้ค่ามวลที่
มากกว่าสำหรับมวล m1 และ m2 ที่อยู่แกน x อาจหาตำแหน่งของศูนย์กลางมวลได้เป็น
ดังนี้
ฟิ สิ ก ส์ พื้ น ฐ า น ชั้ น มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 4 โ ร ง เ รี ย น ส ว น กุ ห ล า บ วิ ท ย า ลั ย ส ม ดุ ล ก ล | 23

4.2 ศูนย์ถ่วง (Center of gravity : cg) ตำแหน่งที่เสมือนเป็นที่รวมของน้ำหนักของวัตถุทั้ง


ก้อน ซึ่งแนวของน้ำหนักของวัตถุทั้งก้อนจะมีทิศผ่านจุดศูนย์ถ่วงนี้
4.2.1 เมื่อวัตถุอยู่ในสนามโน้มถ่วงสม่ ำเสมอ ศูนย์กลางมวลกับศูนย์ถ่วงจะเป็นจุด
เดียวกัน โมเมนต์ของแรงรอบศูนย์ถ่วงเท่ากับศูนย์
𝑚1 𝑔𝑥1 = 𝑚2 𝑔𝑥2

4.2.2 เมื่อวัตถุอยู่ในสนามโน้มถ่วงไม่สม่ำเสมอ ให้ g1 มากกว่า g2

𝑚1 𝑔1 𝑥1 = 𝑚2 𝑔2 𝑥2

ตัวอย่างที่ 44 แผ่นพลาสติกเบารูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส มีความยาวด้านละ 20 เซนติเมตร


มีมวล 1,2,3,4กิโลกรัม ติดอยู่ที่มุมทั้งสี่ด้าน จงหาจุดศูนย์กลางมวลของระบบนี้

ตั ว อย่ า งที ่ 45 วั ต ถุ ม วล 10 กิ โ ลกรั ม รู ป สี ่ เ หลี ่ ย มจั ต ุ ร ั ส มี ค วามยาวด้ า นละ 20


เซนติเมตร มีมวล 1,2,3,4 กิโลกรัม ติ ดอยู่ที่มุมทั้งสี่ด้าน จงหาจุดศูนย์กลางมวลของ
ระบบนี้
ฟิ สิ ก ส์ พื้ น ฐ า น ชั้ น มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 4 โ ร ง เ รี ย น ส ว น กุ ห ล า บ วิ ท ย า ลั ย ส ม ดุ ล ก ล | 24

ตัวอย่างที่ 46 คานเบายาว 1 เมตร วางตัวอยู่ในแนวราบ ตรงปลายทั้งสองมี


มวล 3 และ 6 กิโลกรัม ติดอยู่ ดังรูป จงหาว่าจุดศูนย์กลางมวลจะอยู่ห่าง
จากมวล 3 กิโลกรัม กี่เมตร

5 สมดุลของวัตถุ

จากรูป (A) วัตถุวางบนพื้นนิ่งๆ มีแรงกระทำต่อกล่อง 2 แรงคือ W


และ N โดยที่ W=N

จากรูป (B) ถ้าออกแรง F ในแนวระดับ กระทำกับวัตถุที่ตำแหน่งสูงจาก


พื ้ น เป็ น ระยะ h1 แล้ ว กล่ อ งยัง อยู ่น ิ ่ง ๆ จะมี แ รงเสีย ดทาน f ขนาด
เท่ากับแรง F กระทำในทิศตรงข้าม เป็นแรงควบคู่ ก่อให้เกิดโมเมนต์ใน
ทิศทวนเข็มนาฬิกา แต่กล่องไม่หมุน แสดงว่าต้องมีแรงคู่ควบอีกหนึ่งคู่
คือแรง W และ N ซึ่งก่อให้เกิดโมเมนต์ในทิศตามเข็มนาฬิกาโดยมีขนาด
เท่ากัน ดังนั้น แนวแรง N จะต้องเลื่อนออกไปจากแนวกึ่งกลางเดิม
จะได้

จากรูป (C) ถ้าออกแรง F ในแนวระดับกระทำกับวัตถุสูงเพิ่มขึ้นจากพื้น


เป็นระยะ h2 ทำให้ระยะ d1 เพิ่มขึ้นด้วย ทำให้แนวแรง N อยู่ที่ขอบ
พอดี ห่างจากแนว W กันเป็นระยะ d2 แสดงว่าวัตถุกำลังจะล้ม จะได้
ฟิ สิ ก ส์ พื้ น ฐ า น ชั้ น มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 4 โ ร ง เ รี ย น ส ว น กุ ห ล า บ วิ ท ย า ลั ย ส ม ดุ ล ก ล | 25

ตัวอย่างที่ 47 กล่องสี่เหลี่ยมกว้าง 20 เซนติเมตร สูง 50 เซนติเมตร หนัก 100 นิวตัน วางบนพื้นราบ


ซึ่งมีสัมประสิทธิ์ความเสียดทานสถิตระหว่างผิวสัมผัส 0.4 จงหาแรงผลักในแนวระดับที่ทำให้กล่องเริ่ม
จะเคลื่อนที่

ตัวอย่างที่ 48 จากข้อ 47 แรงผลักจะอยู่สูงจากพื้นมากที่สุดกี่เซนติเมตร กล่องจึงยังไม่ล้ม

ตัวอย่างที่ 49 กล่องสี่เหลี่ยมกว้าง 1 เมตร สูง 2 เมตร หนัก 10 กิโลกรัม ออกแรงผลักในแนวขนาน


กับพื้นขนาด 30 นิวตัน สูงจากพื้นเท่าไรกล่องจึงจะเริ่มล้ม

ตัวอย่างที่ 50 จากข้อ 49 ถ้าออกแรง 60 นิวตัน กระทำแทน แนวแรงจะสูงจากพื้นได้มากที่สุดเท่าไร


กล่องจึงยังไม่ล้ม
ฟิ สิ ก ส์ พื้ น ฐ า น ชั้ น มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 4 โ ร ง เ รี ย น ส ว น กุ ห ล า บ วิ ท ย า ลั ย ส ม ดุ ล ก ล | 26

ตัวอย่างที่ 51 กล่องสี่เหลี่ยมกว้าง 20 เซนติเมตร สูง 40 เซนติเมตร หนัก


100 นิวตัน ถูกแรงกระทำ 40 นิวตัน ณ จุดสูงเท่ากับ h จงหาว่าความสูง h
มีค่าเท่าใด จึงจะทำให้กล่องนี้เริ่มล้มพอดี

ตัวอย่างที่ 52 ออกแรง F=160 นิวตัน ผลักตู้เย็น 40 กิโลกรัม บนพื้นฝืดที่ความสูง


90 เซนติเมตร จากพื้นโดยตู้เย็นไม่ล้ม จงหาความกว้างน้อยสุดของฐานตู้เย็น ให้ความ
สูงของตู้เย็นเป็น 120 เซนติเมตร และศูนย์กลางมวลอยู่สูงจากพื้น 60 เซนติเมตร

ตัวอย่างที่ 53 กล่องวัตถุรูปสี่เหลี่ยมมีมวลสม่ำเสมอฐานกว้าง 0.2


เมตร สูง 0.5 เมตร มีน้ำหนัก 200 นิวตัน วางอยู่บนพื้นที่มีความ
ฝืดมาก ถ้าออกแรง P กระทำต่อวัตถุในแนวทำมุม 37 องศา กับ
แนวระดับ จะต้องออกแรง P เท่าไร จึงจะทำให้วัตถุล้มพอดี
ฟิ สิ ก ส์ พื้ น ฐ า น ชั้ น มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 4 โ ร ง เ รี ย น ส ว น กุ ห ล า บ วิ ท ย า ลั ย ส ม ดุ ล ก ล | 27

6 เสถียรภาพของสมดุล

เสถียรภาพของสมดุ ล คือ ความสามารถในการทรงตั วอยู่ได้ข องวัตถุนั ้น ณ ตำแหน่งใด


ตำแหน่งหนึ่ง แบ่งเป็น 3 ประเภท
6.1 สมดุลเสถียร (Stable equilibrium) เมื่อมีแรง
กระทำต่ อ กรวยให้ เ อี ย ง ศู น ย์ ก ลางมวลของกรวยเปลี ่ ย น
ตำแหน่งอยู่สูงขึ้น ทำให้กรวยมีพลังงานศักย์เพิ่มขึ้น เมื่อกรวย
เอียง แนวแรง W และN จะไม่อยู่ในแนวเดียวกัน เกิดโมเมนต์
ของแรงคู่ควบ ทำให้กรวยกลับมาตั้งในลักษณะเดิม

6.2 สมดุลสะเทิน (Neutral equilibrium) เมื่อออก


แรงผลักกรวย กรวยจะกลิ้ ง ศูนย์กลางมวลอยู่สูงจากพื้นเท่า
เดิม พลังงานศักย์เท่าเดิม ทำให้กรวยอยู่ตำแหน่งใหม่ทุกครั้ง
แต่วางตัวในลักษณะเดิม

6.3 สมดุ ล ไม่ เ สถี ย ร (Untable equilibrium) เมื่ อ


ผลักกรวยให้เอียงเล็กน้อย ศูนย์กลางมวลเปลี่ยนตำแหน่งต่ำลง
พลังงานศักย์ลดลง เมื่อศูนย์กลางพ้นปลายแหลมของกรวยที่
เป็นฐาน ทำให้กรวยล้ม ไม่วางตัวดังเดิม

You might also like