You are on page 1of 29

บทที่ 2.

3
AP-MS-003 รายการคํานวณการแก้ไขฐานรากเยื้องศูนย์

รศ.ดร.อมร พิมานมาศ ประธานคณะอนุ กรรมการโครงสร้างและสะพาน วสท.


ปั ญหาการเยื้องศูนย์ในฐานราก
AP Multimedia Series

2
P
M  ปั ญหาเนื่ องจากการกระจายของแรงปฏิกริยาใต้ฐานรากมี
ความไม่ ส มํ ่า เสมอหรื อ รู ้ จั ก โดยทั ่ว ไปว่ า เยื้ องศู น ย์
(eccentricity) สามารถพบได้ท้ังใน ฐานรากแผ่ (Spread
= footing) และ ฐานรากเสาเข็ม (Pile footing)

 ปั ญหาอาจเกิดจากเงื่อนไขที่ 1 และ 2 หรือ 1 และ 2


รวมกัน ดังนี้

 (1) มีโมเมนต์ท่ีถ่ายจากตอม่อ
 (2) ตอม่อขยับออกจากแนว C.G. ของฐานหรือของกลุ่มเข็ม
ลิขสิทธิ์ของดร.อมร พิมานมาศและคณะ เพื่อการศึกษาเท่านั้น
การตรวจสอบ ???
AP Multimedia Series

 ในการออกแบบฐานรากที่เกิดการเยื้ องศูนย์ การตรวจสอบ


ที่สาํ คัญสําหรับฐานรากแต่ละชนิ ดมีดงั นี้
เงื่อนไข ฐานรากแผ่ ฐานรากเสาเข็ม
กําลัง หน่ วยแรงแบกทานดินใต้ฐานเกินค่า แรงกดในเสาเข็มเกินค่าปลอดภัย
ปลอดภัยหรือไม่ หรือไม่
โดยการตรวจสอบ โดยการตรวจสอบ
qmax < qallow Rmax < Pallow

เสถียรภาพ ฐานรากพลิกหรือไม่ เข็มรับแรงดึงหรือไม่


โดยการตรวจสอบ โดยการตรวจสอบ
qmin < 0 Rmin < 0
ลิขสิทธิ์ของดร.อมร พิมานมาศและคณะ เพื่อการศึกษาเท่านั้น
การตรวจสอบ ???
AP Multimedia Series

 เงื่อนไของการตรวจสอบแต่ละแบบ

qmin < 0 ?? Rmin < 0 ??


qmax < qallow Rmax < Rallow

ฐานรากแผ่ ฐานรากเสาเข็ม

 หลัง จากนั้ นจึง ทํา การตรวจสอบ (1) แรงในตอม่อ และ (2) ออกแบบ
เหล็กเสริมในฐานราก ต่อไป
ลิขสิทธิ์ของดร.อมร พิมานมาศและคณะ เพื่อการศึกษาเท่านั้น
แนวทางการตรวจสอบสําหรับฐานรากแผ่
AP Multimedia Series

 การตรวจสอบว่าฐานรากแผ่ที่รบั แรงเยื้ องศูนย์ เช่น ฐาน


รากชิดเขตหรื อฐานรากที่มีโมเมนต์ถ่ายมาจากเสาตอ
ม่อนอกเหนื อจากแรงตามแนวแกนด้วย

 หากระยะเยื้ องศูนย์มีค่ามากหรือโมเมนต์มีค่าสูง ฐาน


รากอาจจะพลิก

 นัน่ คือ แรงกด P ไม่มากพอที่เอาชนะแรงยกหรือแรง


กระดกที่เกิดจากโมเมนต์
ลิขสิทธิ์ของดร.อมร พิมานมาศและคณะ เพื่อการศึกษาเท่านั้น
แนวทางการตรวจสอบสําหรับฐานรากแผ่
AP Multimedia Series

e=0  การตรวจสอบว่าฐานรากจะพลิกหรือไม่น้ั นต้องหา


ระยะเยื้ องศูนย์ของฐานราก ซึ่ งหมายถึ งระยะเยื้ อง
P ระหว่า งจุ ด ศูนย์ถ่วงของเสาตอม่อ และจุ ด ศูน ย์ถ่ว ง
M ของฐานราก
e = M/P
 การคํานวณระยะเยื้ องสําหรับกรณีต่างๆเป็ นดังนี้
e
 กรณี ที่ 1 ตําแหน่ งเสาตอม่ออยู่ตรงตําแหน่ ง
จุดศูนย์ถ่วงของฐานราก ระยะเยื้ องศูนย์ = 0
ลิขสิทธิ์ของดร.อมร พิมานมาศและคณะ เพื่อการศึกษาเท่านั้น
แนวทางการตรวจสอบสําหรับฐานรากแผ่
AP Multimedia Series

e=0
 กรณี ท่ี 2 ตําแหน่ งเสาตอม่ออยู่ตรงตําแหน่ ง
จุ ด ศู น ย์ถ่ ว งของฐานรากแต่ ต อม่ อ มี โ มเมนต์ ม า
M
P กระทําด้วย ระยะเยื้ องศูนย์ e = M/P
e = M/P

 กรณีที่ 3 ตําแหน่ งเสาตอม่ออยู่เยื้ องจากตําแหน่ ง


e จุดศูนย์ถ่วงของฐานราก ระยะเยื้ องศูนย์ = e

ลิขสิทธิ์ของดร.อมร พิมานมาศและคณะ เพื่อการศึกษาเท่านั้น


แนวทางการตรวจสอบสําหรับฐานรากแผ่
AP Multimedia Series

P  ถ้าระยะเยื้ องศูนย์เป็ น 0 หรือมีค่าน้อยๆ ฐานรากจะ


ไม่พลิก ซึ่งแบ่งได้เป็ น 4 กรณีคือ
 กรณีที่ 1 เมื่อ e = 0 แรงดันดินใต้ฐานรากกระจาย
q
L สมํา่ เสมอ
P P
q = =
A BL

ลิขสิทธิ์ของดร.อมร พิมานมาศและคณะ เพื่อการศึกษาเท่านั้น


แนวทางการตรวจสอบสําหรับฐานรากแผ่
AP Multimedia Series

P กรณีที่ 2 เมื่อ e < L/6 ฐานรากไม่พลิก แรงดันดินใต้


M
ฐานรากเป็ นแรงกดทั้งหมด
P Mc P M P 6M
q max = + = + = + 2
≤ qa
qmin BL I A S BL BL
qmax
L P Mc P M P 6M
q min = − = − = −
BL I A S BL BL2

BL2
A = BL S =
6
ลิขสิทธิ์ของดร.อมร พิมานมาศและคณะ เพื่อการศึกษาเท่านั้น
แนวทางการตรวจสอบสําหรับฐานรากเดีย่ ว
AP Multimedia Series

10

P
M
 กรณีที่ 3 เมื่อ e = L/6 ฐานรากกําลังจะเริ่มพลิก
แรงดันดินใต้ฐานแปรผันเป็ นรูปสามเหลี่ยม
0
P Mc P 6M
qmax
qmax = + = + 2 ≤ qa
BL I BL BL
P Mc P 6M
qmin = − = − 2 =0
BL I BL BL

ลิขสิทธิ์ของดร.อมร พิมานมาศและคณะ เพื่อการศึกษาเท่านั้น


แนวทางการตรวจสอบสําหรับฐานรากเดีย่ ว
AP Multimedia Series

11
P
M
กรณีที่ 4 เมื่อ e > L/6 ฐานรากพลิก

x=
( L − y) L
= −e
qmax 3 2
P
2P 4P
q max = =
3Bx 3B (L − 2e )
M

y L-y
e x

ลิขสิทธิ์ของดร.อมร พิมานมาศและคณะ เพื่อการศึกษาเท่านั้น


แนวทางการตรวจสอบสําหรับฐานรากเดีย่ ว
AP Multimedia Series

12

 ระยะ L/6 นี้ เราเรียกว่า ระยะเคิรน์ (Kern)”


 ในกรณีที่ฐานรากรับแรงเยื้ องศูนย์สองทิศทางระยะเคริน์จะวัดจากจุด
ศูนย์กลางตอม่อ ออกไปทั้งสองทิศทางทําให้เกิดเป็ นพื้ นที่เคริน์

ลิขสิทธิ์ของดร.อมร พิมานมาศและคณะ เพื่อการศึกษาเท่านั้น


แนวทางการตรวจสอบสําหรับฐานรากเดีย่ ว
AP Multimedia Series

13

 ในกรณีนี้ จะคํานวณระยะเยื้ องในแกน x และ y


แยกจากกันได้ดงั นี้ ex = My/P และ ey = Mx/P

 หากพิกดั ของแรงอยูใ่ นพื้ นที่เคริน์ ฐานรากก็จะไม่


พลิกแต่หากพิกดั ระยะเยื้ องศูนย์อยูน่ อกพื้ นที่เคริน์
จะเกิดการพลิกของฐานราก

ลิขสิทธิ์ของดร.อมร พิมานมาศและคณะ เพื่อการศึกษาเท่านั้น


ตัวอย่างการคํานวณ
AP Multimedia Series

14

 จงคํานวณแรงดันดินใต้ฐานรากเนื่ องจากการเยื้ องศูนย์ของเสาตอม่อ (ดัง


แสดงในรูป) เมื่อกําหนด qallow = 50 ตัน/ม.2 และตรวจสอบเสถียรภาพ
ของฐานจากระยะเคิรน์ ecc-x = 0.15 m
ecc-y = 0.25 m
ขั้นที่ 1 : ตรวจสอบระยะเคิรน์
AP Multimedia Series

15

 ระยะเยื้ องตามแนวแกน x, ex = 0.15 ม.

 ระยะเยื้ องตามแนวแกน y, ey = 0.25 ม.

 เคิรน์ตามแกน x, kx = b/6 = 0.8/6 = 0.13 ม. < ex

 เคิรน์ตามแกน y, ky = d/6 = 1.2/6 = 0.20 ม. < ey


 สรุปว่าฐานราก พลิก หรือ เกิดหน่วยแรงดึง ในดินใต้ฐานราก
ขั้นที่ 2 : คํานวณคุณสมบัติของฐานราก
AP Multimedia Series

16

 พื้ นที่ของฐานราก, A = (0.8)(1.2) = 0.96 ม.2

 โมดูลสั ของหน้าตัด, Sx = Ix/c = bd2/6


= (0.8)(1.2)2/6 = 0.192 ม.3

 โมดูลสั ของหน้าตัด, Sy = Iy/c = db2/6


= (1.2)(0.8)2/6 = 0.128 ม.3
ขั้นที่ 3 : คํานวณหน่วยแรงใต้ฐานราก
AP Multimedia Series

17
P Pey Pe x
 จากสมการ q = ± ± (เมื่อกําหนดให้แรงอัดเป็ น +)
A Sx Sy

15 15 × 0.25 40 × 0.15
 แทนค่า q =
0.96
±
0.192
±
0.128
ตัน/ม.2

 จะได้ q = 15.63 ± 19.53 ± 17.58 ตัน/ม.2

 จุด a, qa = 15.63+19.53+17.58 = 52.73 ตัน/ม.2


 จุด b, qb = 15.63+19.53-17.58 = 17.58 ตัน/ม.2
 จุด c, qc = 15.63-19.53-17.58 = -21.48 ตัน/ม.2
 จุด d, qd = 15.63-19.53+17.58 = 13.67 ตัน/ม.2
ขั้นที่ 3 : คํานวณหน่วยแรงใต้ฐานราก
AP Multimedia Series

18

 แสดงผลตามรูป

เป็ นลบแสดงว่า
ฐานพลิก

เกินกว่ากําลังของดิน (qallow)
การแก้ไขฐานรากกระดก
AP Multimedia Series

19

แนวเคริน์ใหม่ y เพื ่อ ป้ องกั น ฐานรากพลิ ก มี


My วิธีแก้ไข 4 วิธีคือ

ex วิธีท่ี 1 : ขยายให้ฐานราก
ให้ใ หญ่ ขึ้ นเพื ่อ ให้พื้ นที ่เ คริ น์
L’ L ey x
คลุมพิกดั ระยะเยื้ องศูนย์
Mx

แนวเคริน์เดิม
B
B’
การแก้ไขฐานรากกระดก
AP Multimedia Series

20

y  วิธีท่ี 2 : เลื่อนตําแหน่ งเสาตอม่อ


ตําแหน่ งเดิม My
ให้ระยะเยื้ องศูนย์อยู่ในพื้ นที่เคริ น์
ของฐานราก
x
L ey
Mx
ex

B
ตําแหน่ งใหม่ของเสาตอม่อ
การแก้ไขฐานรากกระดก
AP Multimedia Series

21

y’
y  วิ ธีท่ี 3 : เลื่ อนฐานรากไปให้
ฐานรากเดิม My พื้ นที่เคริน์คลุมพิกดั ระยะเยื้ องศูนย์
โดยเสาตอม่ออยูต่ าํ แหน่ งเดิม
L’ x’
L ey x
ex Mx

B
B’ ฐานรากใหม่
การแก้ไขฐานรากกระดก
AP Multimedia Series

22

 วิธีท่ี 4 : ทําฐานร่วมยึดกับฐานรากตัว
ในหรือทําคานรั้งยึดกับฐานรากตัวไหน
เพื่อขจัดระยะเยื้ องศูนย์ให้หายไป
ฐานรากร่วม

ฐานแบบมี
คานรั้ง
ตําแหน่งของแรงกดและแรงดันดิน(แรงต้าน)
AP Multimedia Series จะต้องตรงกัน
23

เปลี่ยนรูปแบบ
โครงสร้างจากระบบ
Cantilever (ไม่
x
2x

เสถียร) เป็ นระบบ


คานวางพาดซึ่ง
เสถียรกว่า
หลักการของฐาน
รากร่วม

เปลี�ยนรูปแบบโครงสร้าง
ลิขสิทธิ์ของดร.อมร พิมานมาศและคณะ เพื่อการศึกษาเท่านั้น
แนวทางการตรวจสอบสําหรับฐานรากเสาเข็ม
AP Multimedia Series

24
 ปกติถา้ มีการทําเสาเข็มไม่ว่าจะเป็ นเสาเข็มตอกหรือเสาเข็มเจาะ
และหากเข็มเกิดการเยื้ องศูนย์ แล้วต้องมีการคํานวณตรวจสอบ
รายการคํานวณซึ่งประกอบด้วย 3 ส่วน
 เสาเข็ม: การคํานวณและตรวจสอบแรงในเสาเข็มที่สภาวะใช้งาน
 เสาตอม่อ: การตรวจสอบเหล็กเสริมในเสาตอม่อ และ

 ฐานราก: การตรวจสอบเหล็กเสริมในฐานราก

ตามหลัก แล้ว รายการคํา นวณจะต้อ งแสดงให้เห็ นว่ า จะแก้ไ ข


ปั ญหาโมเมนต์ที่เกิดขึ้นจากการเยื้องศูนย์ได้อย่างไร
ลิขสิทธิ์ของดร.อมร พิมานมาศและคณะ เพื่อการศึกษาเท่านั้น
แนวทางการตรวจสอบสําหรับฐานรากเสาเข็ม
AP Multimedia Series

25

 ในบรรดา 3 รายการนี้ รายการที่ 1 และ 2 สําคัญที่สุด ส่วน


รายการที่ 3 หากเสาเข็มเยื้ องศูนย์ไม่มากจนเกินไป เหล็กที่
เสริมอยูเ่ ดิมในฐานรากก็น่าจะรับได้ไม่มีปัญหาอะไร

 แต่เพื่อความสมบูรณ์ก็ควรมีรายการคํานวณรายการที่ 3
ประกอบด้วย

ลิขสิทธิ์ของดร.อมร พิมานมาศและคณะ เพื่อการศึกษาเท่านั้น


การตรวจสอบแรงปฏิกริยาในเสาเข็ม
AP Multimedia Series

26

 เมื่อเสาเข็ มเยื้ องศูนย์ สูตรคํา นวณแรงใน


เสาเข็มจะใช้สตู ร
P Myx M xy
R = ± ±
N ∑
x2 ∑
y2

ฐานรากสมมาตร
 ซึ่งเราคุน้ เคยกันอยูไ่ ม่ได้ เพราะเมื่อเสาเข็ม
เยื้ องศูนย์ไปจะสูญเสี ย ความสมมาตรของ
เสาเข็ม และจะต้องใช้สตู รใหม่ คือ
เข็มวิบตั ิ P
R = ± mx ± ny
N

ฐานรากไม่สมมาตร เข็มแซม
การตรวจสอบแรงปฏิกริยาในเสาเข็ม
AP Multimedia Series

27

 โดย m และ n คํานวณจากการแก้สมการ


M y I x − M x I xy M x I y − M y I xy
m= 2
I x I y − I xy
และ n = 2
I x I y − I xy

 โดยให้
Ix = ∑y 2
Iy = ∑x 2
I xy = ∑ xy

 การตรวจสอบเสาเข็มตรงนี้ ใช้หลักว่า แรงในเสาเข็ม R จะต้องไม่


เกินนํ้าหนักปลอดภัย (Safe load) ของเสาเข็ม Ra
การตรวจสอบแรงปฏิกริยาในตอม่อ
AP Multimedia Series

28

 เมื่อเสาเข็มเยื้ องศูนย์จะทําให้จุดศูนย์ถ่วงของกลุ่มเสาเข็มไม่ตรง
กับตําแหน่ งเสาตอม่ออีกต่อไป

 ผลก็คือจะทําให้เกิดโมเมนต์ถ่ายเข้าไปในเสาตอม่อด้วย ซึ่งจะต้อง
ตรวจสอบว่าเหล็กเสริมในเสาตอม่อเดิมพอเพียงหรือไม่
ขอบคุณครับ

ลิขสิทธิ์ของดร.อมร พิมานมาศและคณะ เพื่อ


การศึกษาเท่านั้น

You might also like