You are on page 1of 21

ผนวก -ตารางชวยคํานวณ

Reinforced Concrete Design – Lecture Handout in Hand Writing - 1


กฎกระทรวงที่ออกภายใตพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร

Reinforced Concrete Design: Hand Writing Version - 2


หนวยแรงลมตามกฎกระทรวง ฉบับที่ 6 พ.ศ. 2527

ข้อ 17 ในการคํานวณออกแบบโครงสร้างอาคาร ให้คาํ นึงถึงแรงลมด้วย หากจําเป็ นต้องคํานวณและไม่มี


เอกสารที่รับรองโดยสถาบันที่เชื่อถือได้ ให้ใช้หน่วยแรงลม ดังต่อไปนี้
หน่วยแรงลมอย่างน้อยกิโลปาสกาล
ความสู งของอาคารหรื อส่ วนของอาคาร
(กิโลกรัมแรงต่อตารางเมตร)
(1) ส่ วนของอาคารที่สูงไม่เกิน 10 เมตร 0.5 (50)
(2) ส่ วนอาคารที่สูงเกิน 10 เมตร แต่ไม่เกิน 20 เมตร 0.8 (80)
(3) ส่ วนของอาคารที่สูงเกิน 20 เมตร แต่ไม่เกิน 40 เมตร 1.2 (120)
(4) ส่ วนของอาคารที่สูงเกิน 40 เมตร 1.6 (160)
ในการนี้ ยอมให้ใช้ค่าหน่ วยแรงที่เกิดขึ้นในส่ วนต่างๆ ของอาคารตลอดจนความต้านทานของดินใต้ฐานรากเกิน
ค่าที่กาํ หนดไว้ในกฎกระทรวงนี้ ได้ร้อยละ 33.3 แต่ท้ งั นี้ตอ้ งไม่ทาํ ให้ส่วนต่างๆ ของอาคารนั้นมีความมัน่ คงน้อย
ไปกว่าเมื่อคํานวณตามปกติโดยไม่คิดแรงลม

Reinforced Concrete Design – Lecture Handout in Hand Writing - 3


แรงแบกทานของดินหรือหินกรณีไมมีผลทดสอบฯตามกฎกระทรวง ฉบับที่ 6 พ.ศ. 2527

ข้อ 18 นํ้าหนักบรรทุกบนดินที่ฐานรากของอาคารนั้นต้องคํานวณให้เหมาะสมเพื่อความมัน่ คงและ


ปลอดภัยถ้าไม่มีเอกสารที่รับรองโดยสถาบันที่เชื่อถือได้แสดงผลการทดลอง หรื อการคํานวณจะต้องไม่เกินกําลัง
แบกทานของดินประเภทต่างๆ ดังต่อไปนี้
ดินอ่อนหรื อดินถมไว้แน่นตัวเต็มที่ 2 เมตริ กตันต่อตารางเมตร
ดินปานกลางหรื อทรายร่ วน 5 เมตริ กตันต่อตารางเมตร
ดินแน่นหรื อทรายแน่น 10 เมตริ กตันต่อตารางเมตร
กรวดหรื อดินดาน 20 เมตริ กตันต่อตารางเมตร
หิ นดินดาน 25 เมตริ กตันต่อตารางเมตร
หิ นปูนหรื อหิ นทราย 30 เมตริ กตันต่อตารางเมตร
หิ นอัคนีที่ยงั ไม่แปรสภาพ 100 เมตริ กตันต่อตารางเมตร

การลดน้ําหนักบรรทุกจรที่ถายลงเสา และฐานรากตามกฎกระทรวง ฉบับที่ 6 พ.ศ. 2527

ข้อ 19 ในการคํานวณนํ้าหนักที่ถ่ายลงเสา คาน หรื อโครงที่รับเสาและฐานรากให้ใช้น้ าํ หนักของอาคาร


เต็มอัตรา ส่ วนหน่วยนํ้าหนักบรรทุกจร ให้ใช้ตามที่กาํ หนดไว้ในข้อ 15 โดยให้ลดส่ วนลงได้ตามชั้นของอาคาร
ดังต่อไปนี้
การรับนํ้าหนักของเพิ่มขึ้น อัตราการลดหน่วยนํ้าหนักบรรทุกจร
บนพื้นที่แต่ละชั้นเป็ นร้อยละ
(1) หลังคาหรื อดาดฟ้ า 0
(2) ชั้นที่หนึ่ งถัดจากหลังคาหรื อดาดฟ้ า 0
(3) ชั้นที่สองถัดจากหลังคาหรื อดาดฟ้ า 0
(4) ชั้นที่สามถัดจากหลังคาหรื อดาดฟ้ า 10
(5) ชั้นที่สี่ถด
ั จากหลังคาหรื อดาดฟ้ า 20
(6) ชั้นที่หา้ ถัดจากหลังคาหรื อดาดฟ้ า 30
(7) ชั้นที่หกถัดจากหลังคาหรื อดาดฟ้ า 40
(8) ชั้นที่เจ็ดถัดจากหลังคาหรื อดาดฟ้ าและชั้นต่อลงไป 50
สําหรับโรงมหรสพ ห้องประชุม หอประชุม ห้องสมุด หอสมุด พิพิธภัณฑ์ อัฒจันทร์ คลังสิ นค้าโรงงาน
อุตสาหกรรม อาคารจอดหรื อเก็บรถยนต์หรื อรถจักรยานยนต์ให้คิดหน่วยนํ้าหนักบรรทุกจรเต็มอัตราทุกชั้น

Reinforced Concrete Design: Hand Writing Version - 4


น้ําหนักบรรทุกจรตามกฎกระทรวงฯ ฉบับที่ 6 (พ.ศ. 2527)

ข้อ 15 หน่วยนํ้าหนักบรรทุกจรสําหรับประเภท และส่ วนต่างๆ ของอาคารนอกเหนือจากนํ้าหนักของตัว


อาคารหรื อเครื่ องจักรหรื ออุปกรณ์อย่างอื่น ให้คาํ นวณโดยประมาณเฉลี่ยไม่ต่าํ กว่าอัตรา ดังต่อไปนี้
หน่วยนํ้าหนักบรรทุกจร
ประเภทและส่ วนต่ าง ๆ ของอาคาร
เป็ นกิโลกรัมต่อตารางเมตร
(1) หลังคา 30
(2) กันสาดหรื อหลังคาคอนกรี ต 100
(3) ที่พกั อาศัย โรงเรี ยนอนุบาล ห้องนํ้า ห้องส้วม 150
(4) ห้องแถว ตึกแถวที่ใช้พกั อาศัย อาคารชุด หอพักโรงแรมและห้อง 200
คนไข้พิเศษของโรงพยาบาล
(5) สํานักงาน ธนาคาร 250
(6)

(ก)
อาคารพาณิ ช ย์ ส่ ว นของห้อ งแถว ตึ ก แถวที่ ใ ช้เ พื่ อ การพาณิ ช ย์ 300
มหาวิทยาลัย วิทยาลัย โรงเรี ยน และโรงพยาบาล
ห้ อ งโถง บัน ได ช่ อ งทางเดิ น ของอาคารชุ ด หอพัก โรงแรม 300
( ข) สํานักงานและธนาคาร
(7)
(ก) ตลาด อาคารสรรพสิ นค้า หอประชุม โรงมหรสพ ภัตตาคาร ห้อง 400
ประชุม ห้องอ่านหนังสื อในห้องสมุดหรื อหอสมุด ที่จอดหรื อเก็บ
รถยนต์นงั่ หรื อรถจักรยานยนต์
( ข) ห้อ งโถง บัน ได ช่ อ งทางเดิ น ของอาคารพาณิ ช ย์ มหาวิ ท ยาลัย 400
วิทยาลัย และโรงเรี ยน
(8)
(ก) คลังสิ นค้า โรงกี ฬา พิพิธภัณฑ์ อัฒจันทร์ โรงงานอุ ตสาหกรรม 500
โรงพิมพ์ ห้องเก็บเอกสารและพัสดุ
( ข) ห้อ งโถง บัน ได ช่ อ งทางเดิ น ของอาคารพาณิ ช ย์ มหาวิ ท ยาลัย 500
วิทยาลัย และโรงเรี ยน
(9) ห้องเก็บหนังสื อของห้องสมุดหรื อหอสมุด 600
(10) ที่จอดหรื อเก็บรถยนต์บรรทุกเปล่า 800

อนึ่ง กฎกระทรวง ฉบับที่ 6 พ.ศ. 2527 และแก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 48 พ.ศ. 2540 ข้อ 16 กําหนดว่า “ในการ
คํานวณออกแบบ หากปรากฏว่าพื้นที่ส่วนใดต้องรับนํ้าหนักเครื่ องจักรหรื ออุปกรณ์ หรื อหน่วยนํ้าหนักบรรทุกจร
อื่นๆ ที่มีค่ามากกว่าหน่วยนํ้าหนักบรรทุกจร ซึ่ งกําหนดไว้ในข้อ 15 ให้ใช้หน่วยนํ้าหนักบรรทุกจรค่าที่มากกว่า
เฉพาะส่ วนที่ตอ้ งรับหน่วยนํ้าหนักเพิ่มขึ้น “

ระยะหุมต่ําสุดขององคอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก (ว.ส.ท. 3408)

Reinforced Concrete Design – Lecture Handout in Hand Writing - 5


กรณี ของคอนกรี ตและขนาดเหล็กเสริ ม ระยะหุม้ (เซนติเมตร)
คอนกรีตหล่ อในที่
1. หล่อติดกับดินผิวคอนกรี ตสัมผัสดินตลอดเวลา 7.5
2. สัมผัสดินหรื อถูกแดดฝน
2.1 เส้นผ่านศูนย์กลาง 16 มิลลิเมตร ขึ้นไป 5.0
2.2 เส้นผ่านศูนย์กลาง 16 มิลลิเมตรและเล็กกว่า 4.0
3. ไม่สม
ั ผัสดินหรื อ ไม่ถูกแดดฝน
3.1 ในแผ่นพื้น ผนังและตง
3.1.1 เส้นผ่านศูนย์กลาง 44 มิลลิเมตร ขึ้นไป 4.0
3.1.2 เส้นผ่านศูนย์กลาง 35 มิลลิเมตรและเล็กกว่า 2.0
3.2 ในคาน (เหล็กเสริ มหลัก และเหล็กลูกตั้ง) 3.0
3.3 ในเสา (เหล็กปลอกเดี่ยวหรื อปลอกเกลียว) 3.5
3.4 ในคอนกรี ตเปลือกบางและพื้นแผ่นพับ
3.4.1 เส้นผ่านศูนย์กลางใหญ่กว่า 16 มิลลิเมตร 2.0
3.4.2 เส้นผ่านศูนย์กลาง 16 มิลลิเมตรและเล็กกว่า 1.5
คอนกรีตหล่ อสํ าเร็จ (ควบคุมคุณภาพและหล่ อคอนกรีตจากโรงงาน)
1. สัมผัสกับดินหรื อถูกแดดฝน
1.1 ในแผ่นหนัง
1.1.1 เส้นผ่านศูนย์กลาง 44 มิลลิเมตร ขึ้นไป 4.0
1.1.2 เส้นผ่านศูนย์กลาง 35 มิลลิเมตรและเล็กกว่า 2.0
1.2 ในองค์อาคารชนิดอื่น
1.2.1 เส้นผ่านศูนย์กลาง 44 มิลลิเมตร ขึ้นไป 5.0
1.2.2 เส้นผ่านศูนย์กลางใหญ่กว่า 16 มิลลิเมตรถึง 35 มิลลิเมตร 4.0
1.2.3 เส้นผ่านศูนย์กลาง 16 มิลลิเมตรและเล็กกว่า 3.0
2. ไม่สมั ผัสดินหรื อ ไม่ถูกแดดฝน
2.1 ในแผ่นพื้น ผนังและตง
2.1.1 เส้นผ่านศูนย์กลาง 44 มิลลิเมตร ขึ้นไป 3.5
2.1.2 เส้นผ่านศูนย์กลาง 35 มิลลิเมตรและเล็กกว่า 1.5

2.2 ในคาน (เหล็กเสริมหลักและเหล็กลูกตั้ง) 2.5


2.3 ในเสา (เหล็กปลอกเดี่ยวหรื อปลอกเกลียว) 3.0
2.4 ในคอนกรี ตเปลือกบางและพื้นแผ่นพับ
2.4.1 เส้นผ่านศูนย์กลาง 20 มิลลิเมตร ขึ้นไป 1.5
2.4.2 เส้นผ่านศูนย์กลาง 16 มิลลิเมตรและเล็กกว่า 1.0

เหล็กเสริมมัดรวมเป็ นกํา (Bundle)


1. ไม่สมั ผัสดิน 5.0*

2. หล่อติดกับดิน และผิวคอนกรี ตสัมผัสดินตลอดเวลา 7.5

(* ค่ ามากสุ ด โดยที่ ค่าระยะหุ้ มตํา่ สุ ดจะเท่ ากับเส้ นผ่ านศูนย์ กลางของเหล็กเส้ นเดียวที่ มีพืน
้ ที่ หน้ าตัดเท่ ากับเหล็กทั้งกํารวมกัน
ดูลกั ษณะและคุณสมบัติของวัสดุทนไฟตามกฎกระทรวงฉบับที่ 6 พ.ศ.2527 แก้ไขเพิ่มเติมโดยกฎกระทรวงฉบับที่
60 พ.ศ. 2549

Reinforced Concrete Design: Hand Writing Version - 6


Reinforced Concrete Design – Lecture Handout in Hand Writing - 7
Reinforced Concrete Design: Hand Writing Version - 8
Reinforced Concrete Design – Lecture Handout in Hand Writing - 9
Reinforced Concrete Design: Hand Writing Version - 10
Reinforced Concrete Design – Lecture Handout in Hand Writing - 11
Reinforced Concrete Design: Hand Writing Version - 12
กําลังตานทานแรงเฉือนของเหล็กปลอกสองขา (เหล็กกลมผิวเรียบ)

Reinforced Concrete Design – Lecture Handout in Hand Writing - 13


Reinforced Concrete Design: Hand Writing Version - 14
กําลังตานทานแรงเฉือนของเหล็กปลอกสองขา (เหล็กกลมขอออย)

Reinforced Concrete Design – Lecture Handout in Hand Writing - 15


Reinforced Concrete Design: Hand Writing Version - 16
Reinforced Concrete Design – Lecture Handout in Hand Writing - 17
Reinforced Concrete Design: Hand Writing Version - 18
Reinforced Concrete Design – Lecture Handout in Hand Writing - 19
Reinforced Concrete Design: Hand Writing Version - 20

You might also like