You are on page 1of 23

บทที่ 3

การวิเคราะหโครงขอหมุนแบบ Statically Determinate


วัตถุประสงค
1. เพื่อใหสามารถจําแนกประเภทโครง truss และตรวจสอบ
THEORY OF STRUCTURES determinacy และ stability ของโครง truss ได
2. เพื่อใหสามารถวิเคราะหโครง truss แบบ statically determinate
By แบบตางๆ ไดอยางถูกตอง
Assoc. Prof. Dr. Sittichai Seangatith
SCHOOL OF CIVIL ENGINEERING
INSTITUTE OF ENGINEERING
SURANAREE UNIVERSITY OF TECHNOLOGY

สมมุตฐิ านทีใ่ ชในการวิเคราะหโครงขอหมุน


รูปแบบของโครงขอหมุน
โครงขอหมุน (truss) เปนโครงสรางที่ไดมาจากการนําชิ้นสวนที่ตรง ชิ้นสวนของโครงขอหมุนถูกเชื่อมตอกันดวยหมุนไรแรงเสียดทาน
และยาวหลายๆ ชิ้นมาเชื่อมตอกันทีป่ ลาย

แรงกระทําภายนอกกระทําตอโครงขอหมุนที่จดุ เชื่อมตอ (joint) เทานั้น


Roof truss
Bridge truss
โครงขอหมุนที่มีชิ้นสวนวางอยูในระนาบเดียวกันเรียกวา Planar
truss
จากสมมุติฐาน: ชิ้นสวนของโครงขอหมุนเปน two-force member หรือองค
อาคารที่รับแรงในแนวแกน

โครงขอหมุนอยางงาย (simple
truss) - โครงขอหมุนแบบพื้นฐาน
ที่สดุ ที่มีความแกรง (rigidity) และ
มีเสถียรภาพ (stability) อยูใ นรูป
ของสามเหลี่ยม

Roof truss

การเปลี่ยนแปลงรูปรางและการวิบัติของ
โครง truss ภายใตแรงกระทํา

ในการเลือกรูปแบบของ roof truss จะตองพิจารณาจากความยาวของ span


ของหลังคา ความชัน (slope) ของหลังคา และชนิดของวัสดุทใี่ ชมงุ หลังคา
ระยะระหวางเสา (span) สูงสุดอยูใ นชวง 18-30 เมตร
Bridge Truss

รูปแบบของ bridge truss ทีป่ ระหยัดวัสดุที่สุดคือ รูปแบบที่ชิ้นสวนของ


โครงขอหมุนในแนวทแยง (diagonals) ทํามุมเอียงระหวาง 45o ถึง 60o กับ
แนวนอน
Classification of Coplanar Trusses
โครงขอหมุนประกอบ (compound truss)
โครงขอหมุนพื้นฐาน (simple truss)

โครงขอหมุนประกอบ (compound truss)

โครงขอหมุนซับซอน (complex truss)

Determinacy เสถียรภาพ (Stability)


ถา (b+r) = 2j statically determinate ถา (b+r) < 2j unstable
ถา (b+r) > 2j statically indeterminate ถา (b+r) ≥ 2j unstable เมื่อโครงขอหมุนขาด external
stability และ internal stability
External Instability

แรงขนานกัน แรงตัดกันที่จุดๆ หนึ่ง


EXAMPLE โครงสรางตอไปนี้ stable หรือไม? และถา stable
Internal Instability แลว โครงสรางเปน statically determinate หรือ
statically indeterminate?
b = 23 r = 3 j = 13 23+3 = 2(13) Statically determinate compound
truss: type 1

แรงตัดกันที่จุดๆ หนึ่ง b = 13 r=3 j=8 13+3 = 2(8) Statically determinate truss

b = 15 r=3 j=9 15+3 = 2(9) Externally unstable truss

Method of Joints
เมื่อโครงขอหมุนอยูในความสมดุลแลว จุดเชื่อมตอในโครงขอหมุนจะ
b = 20 r = 3 j = 10 20+3 > 2(10) Statically indeterminate truss with 3 อยูในความสมดุลดวย ดังนั้น
degree of indeterminacy

b=8 r=3 j=6 8+3 < 2(6) Internally unstable truss

ซึ่งถูกใชหาแรงภายในชิ้นสวนโครงขอหมุนไดสองคา ดังนั้น joint ของ


b = 17 r = 5 j = 10 17+5 > 2(10) Internally unstable truss โครงขอหมุนที่ถกู ตัดจะมีจํานวนแรงที่ไมทราบคาไดไมเกิน 2 คา
ขั้นตอนในวิเคราะห EXAMPLE: กําหนดแรง ใหหาแรงในชิ้นสวน
จงหาแรงที่เกิดขึ้นในชิ้นสวนของโครงขอหมุน
B 3 kN

450
D 450
เขียน FBD ของโครงขอหมุน และหาแรงปฏิกิริยาที่จดุ รองรับ 2m
30o 30o
เขียน FBD ของจุดเชื่อมตอที่มีจํานวนแรงที่ไมทราบคาไมเกินสองแรง C
A
เขียนสมการสมดุลและแกสมการหาคาแรงที่ไมทราบคา
จากนั้น ตรวจสอบความถูกตองของทิศทางของแรงทีไ่ ด
ทําการวิเคราะหหาแรงที่จดุ เชื่อมตออื่นๆ และตรวจสอบความถูกตอง 2m 2m

ของสมการความสมดุลที่จดุ เชื่อมตอสุดทาย

1. เขียน FBD ของโครงขอหมุน 2. สมการความสมดุลของโครงขอหมุน

B 3 kN B 3 kN ∑M A = 0; C y (4) − 3(2) = 0
C y = 1.5 kN
450 450
450
D
450 2m
D
∑F x = 0; − Ax + 3 kN = 0
2m C
30o 30o Ax = 3 kN
A
∑F
Ax
30o 30o y = 0; C y − Ay = 0
Ay
Ax A
C 2m 2m Cy Ay = 1.5 kN

y Ay y
2m 2m Cy
เราควรเริ่มใชวิธี method of joint ที่จดุ เชื่อมตอใด?
x x
y 3. วิธี method of joint 3 kN
y
FCB ∑F x = 0; − FCD cos30o − FCB sin 45o = 0 450 450
FDB
FCD 45o
∑F y = 0; FCD sin 30o + FCB cos 45o + 1.5 = 0 2m
30o
D o
30 D
x x
C − 0.866 FCD = 0.7071 FCB Ax
30o 30o 30o
0.7071 Ay
1.5 kN FCD = − FCB = −0.817 FCB 2m 2m Cy
0.866 FDA FDC = 4.10 kN

3 kN − 0.817 FCB ( 0.5 ) + 0.7071FCB + 1.5 = 0


∑F x = 0; − FDA cos30o + 4.10 cos30o = 0
450 450 0.299 FCB = −1.5
2m FDA = 4.10 kN (T)
FCB = −5.02 kN = 5.02 kN (C)
Ax
30o 30o
∑F y = 0; − FDA sin 30o − FDC sin 30o + FDB = 0
Ay FCD = −0.817 FCB = −0.817 ( −5.02 kN ) −4.10 ( 0.5 ) − 4.10 ( 0.5 ) + FDB = 0
2m 2m Cy
FCD = 4.10 kN (T) FDB = 4.10 kN (T)

3 kN y
EXAMPLE: กําหนดกําลังของชิ้นสวน ใหหาแรงกระทํา
45o
450 450
FAB จงหาสมการของแรงที่เกิดขึ้นในชิ้นสวนของโครงขอหมุนเนื่องจากแรง P
2m B
3 kN FDA = 4.10 kN
30o 30o x
Ax A 30o 3/4 a

Ay
2m 2m Cy
1.5 kN
D 1/4 a
A C
∑F x = 0; 4.10cos30o + FAB sin 45o − 3 = 0
a
a
FAB = −0.776 kN
FAB = 0.776 kN (C) P
FBD ของโครงขอหมุน: เพื่อหาแรงปฏิกริ ิยา y B
3/4 a
y B x
Ax A D C 1/4 a
3/4 a
x a a
Ay
P
Cy ∑M A = 0; − Pa + C y (2a ) = 0
P
Ax D 1/4 a Cy =
A C เราควรเริ่มใชสมการความสมดุลทีใ่ ด?? 2

a a + ↑ ∑ Fy = 0; A y +C y − P = 0
P
Ay Cy Ay =
P 2
เราควรเริ่มใช joint ใดในการหาแรง
+
ภายในชิ้นสวนของโครงขอหมุน?? → ∑ Fx = 0; Ax = 0

Joint A: Joint D:
+
4 1
45o FAB → ∑ Fx = 0; FAD + FAB = 0 FDB
17 2
FAD
P 1 1
1 ↑ + ∑ Fy = 0; + FAD + FAB = 0 4 4

4
2 17 2 1 1
A D
FAD = 0.687 P (T) 0.687 P
0.687 P
FAB = 0.943 P ( C ) P
P/2
y B 1 1
3/4 a ∑F y = 0; FDB −
17
( 0.687 P ) −
17
( 0.687 P ) − P = 0
x By symmetry :
0 D 1/4 a FCD = 0.943 P (T) FDB = 1.33 P (T)
A C
a a FCB = 0.943 P ( C )
P/2 P/2
P
ถากําหนดใหชิ้นสวนรับแรงกดอัดมีกําลังตานแรงกดอัดสูงสุด 800 N และ
FAB = 0.943 P (C)
ชิ้นสวนรับแรงดึงมีกําลังตานแรงดึงสูงสุด 1500 N จงหาคาแรง P สูงสุดที่ เราควรสมมุติใหชิ้นสวนใดเกิดการวิบัตกิ อน???
สามารถกระทําตอโครงขอหมุน เมื่อ a = 3.0 m FDB = 1.33 P (T)
จากโจทย
1500 N ≥ FCD (T)
y B 1500 N ≥ FAD (T) Assume: FAB = 800 N
3/4 a 800 N ≥ FCB (C) P=
800
= 848.4 N
x
800 N ≥ FAB (C) 0.943
Ax A D C 1/4 a
1500 N ≥ FDB (T) FDB = 1.33(848.4) = 1131.4 N ok

a a FAD = 0.687(848.4) = 583 N ok


Ay Cy FAB = 0.943 P (C)
P
FAD = 0.687 P ( T ) Pmax = 848.4 N
FDB = 1.33 P ( T )

ชิ้นสวนทีม่ ีแรงกระทําเปนศูนย (zero-force members) EXAMPLE


ถา joint ของโครงขอหมุนเกิดจากการ จงหาชิ้นสวนที่เปน zero-force member ของ Fink Roof Truss
เชื่อมตอกันโดยชิ้นสวนเพียง 2 ชิ้นและ 5 kN
ไมมีแรงกระทําที่ joint นั้น ชิ้นสวนทั้ง
2 kN
สองจะเปน zero-force member C
B
D
ถา joint ของโครงขอหมุนเกิดจากการ
เชื่อมตอกันโดยชิ้นสวน 3 ชิ้น โดยที่ 2 A E
ใน 3 ของชิ้นสวนเหลานั้นอยูในแนว H G F
เดียวกัน และเมื่อไมมีแรงกระทําที่ joint
นั้น ชิ้นสวนที่เหลือจะเปน zero-force
member
5 kN 5 kN
2 kN 2 kN
C C
B B
D D

A E A E
H G F H G F

EXAMPLE
จากรูป ชิ้นสวนใดเปน zero-force
member
5 kN
2 kN FEC
C
FFC
B
D
FFB
FGB
A E
H G F
EXAMPLE Method of Sections
จากรูป ชิ้นสวนใดเปน zero-force member เมื่อโครงขอหมุนอยูในความสมดุลแลว สวนของโครงขอหมุนจะอยู
ในความสมดุลดวย ดังนั้น

ซึ่งใชหาแรงภายในชิ้นสวนโครงขอหมุนไดสามคา ดังนั้น สวนของ


โครงขอหมุนที่ถกู ตัดจะมีจํานวนแรงที่ไมทราบคาไดไมเกิน 3 คา

ขั้นตอนในวิเคราะห EXAMPLE
จงหาแรงในชิ้นสวน GE, GC, และ BC ของโครงขอหมุน

G E
400 N
เขียนแผนภาพ FBD ของโครงขอหมุน และหาแรงปฏิกิริยาที่จดุ รองรับ A
3m
D
เขียนแผนภาพ FBD ของสวนของโครงขอหมุนที่มีจํานวนของแรงที่ไม B C
ทราบคาไมเกิน 3 แรง
4m 4m 4m
1200 N

เขียนสมการสมดุลของแรงและโมเมนต และแกสมการหาคาของแรงที่
ไมทราบคา จากนั้น ตรวจสอบความถูกตองของทิศทางของแรงทีไ่ ด
1. เขียน FBD ของโครงขอหมุน 2. สมการความสมดุลของโครงขอหมุน
G E G E
400 N 400 N
Ax 3m
3m A
D
Ax A B C
D
B C
Ay 4 m 4m 4 m Dy
1200 N

y
Ay
4m 4m 4m Dy ∑M A = 0; − 1200(8) − 400(3) + Dy (12) = 0
1200 N Dy = 900 N
∑F x = 0; 400 − Ax = 0
x Ax = 400 N
∑F y = 0; Ay + Dy − 1200 = 0
Ay = 300 N

3. วิธี method of section a G


FGE
y G E ∑M C = 0;
400 N
3m − 300(8) − FGE (3) = 0
3m 400 N A FGC
A D C FGE = −800 N
x B C B 800 N
a FGE = 800 N (C)
300 N 8m
4m 4m 4m
1200 N 800 N
FGE G
G
∑M G = 0; 3
5
∑F ⎛ 3⎞
= 0; 300 − FGC ⎜ ⎟ = 0
⎝5⎠
y
−300(4) − 400(3) + FBC (3) = 0 400 N
A
4 FGC
400 N A FGC FGC = 500 N (T)
FBC = 800 N (T) B 800 N
B FBC
300 N
300 N
EXAMPLE
สรุป จงหาแรงที่เกิดขึ้นในชิ้นสวน GH, BC, และ BG ของโครงขอหมุน ระบุ
G
800 N ดวยวาแรงดังกลาวเปนแรงกดอัดหรือแรงดึง
3
5 1. เขียน FBD ของโครงขอหมุน
500 N
400 N 4
A
B 800 N

300 N

จงหาแรงในชิ้นสวน AG, และ AB ของโครงขอหมุน!


ในการหาแรงในชิ้นสวน เราจะใชการตัด truss อยางไร? และเราควรใช
FBD ของสวนไหนของ truss?

2. สมการความสมดุลของโครงขอหมุน 3. วิธี method of section


เราควรใชสมการความสมดุลสมการใด
compound truss: type 1?? เปนสมการแรก?
+∑ M B = 0;
−7.5(2) + FGH cos36.87°(1.5) = 0
FGH = 12.5 kN(C)
+∑ M A = 0;
+
−5(2) + FBG sin 56.31°(2) = 0
→ ∑ Fx = 0; Ax = 0
FBG = 6.01 kN(T)
+∑ M E = 0; Ay (8) − 2(8) − 5(6) − 5(4) − 5(2) = 0
+ ∑ M G = 0;
Ay = 9.5 kN
−7.5(4) + 5(2) + FBC (3) = 0
ชิ้นสวนใดบางเปน zero-force member??? FBC = 6.67 kN(T)
EXAMPLE 1. เขียน FBD ของโครงขอหมุน
จงหาแรงที่เกิดขึ้นในชิ้นสวน EF และ EL ของโครงขอหมุน ระบุดวยวา y
แรงดังกลาวเปนแรงกดอัดหรือแรงดึง

x
Ax

Ay Iy

2. สมการความสมดุลของโครงขอหมุน
Σ Fx = Ax = 0
ในการหาแรงในชิ้นสวน เราจะใชการตัด truss ดังแสดง และเราควรใช
FBD ของสวนไหนของ truss? เนื่องจากโครงขอหมุนสมมาตร
Ay = Iy = 36 kN

3. วิธี method of section: หาแรงที่เกิดขึ้นในชิ้นสวน EF 4. วิธี method of joint: หาแรงที่เกิดขึ้นในชิ้นสวน EL


เราควรใชสมการความสมดุลสมการใด
ในการหา FEF?
14.036o เนื่องจากแรงเปน sliding vector เรายาย
แรง FEF มากระทําที่ E ได

+
→ ∑ Fx = 0; FED = 37.1 kN ( C )
+ ∑ M L = 0;
+ ↑ ∑ Fy = 0; − FEL + 2(37.1) cos14.036o − 12 = 0
− FEF cos14.036o (6) −12(4) − 12 (8) − 6(12) + 36 (12) = 0
FEL = 6 kN ( T )
FEF = 37.1 kN(C)
EXAMPLE วิธี method of section
จงหาแรงที่เกิดขึ้นในชิ้นสวน BE หรือ FEB y 1000 N
1000 N 3000 N 1000 N
3000 N 1000 N 1000 N a
x b E b
1000 N
F
E D
F 30o
D
30o C
A B
C a 2m
A B 2m 2m 2m

2m 2m 2m 2m
4000 N 2000 N
4000 N 2000 N จากรูป แนวตัดทัง้ สองไมสามารถนํามาหาแรง FEB ไดโดยตรง แต
ตองใชแนวตัด a-a หาแรง FED จากนั้น ใช method of joint เพื่อหา
แรง FEB
a
โดยใชแนวตัด a-a หาแรง FED E
1000 N
F
D 3000 N เนื่องจากแรงเปน sliding vector เรายาย
1000 N
3000 N C
1000 N แรง FED มากระทําที่ C ได
A B E
1000 N a FED
F
E 30o FFB FED cos 30o
F FED FEB
C
30o FFB A FAB B
FEB
C 2m FED sin 30o
2m
A FAB B
2m 2m
จาก FBD เราจะหา FED ไดอยางไร? 4000 N

4000 N ∑M B = 0; 1000(4) + 3000(2) − 4000(4) − FED sin 30o (4) = 0


FED = −3000 N = 3000 N (C)
วิธี method of joints EXAMPLE
y
1000 N จงหาแรงที่เกิดขึ้นในชิ้นสวน BC, CG, และ GF

E 800 lb
500 lb 500 lb
30o 30o x 10 ft C 10 ft
B D
FEF 3000 N
FEB

10 ft
∑F x = 0; − FEF cos30o − 3000cos30o = 0
G F
FEF = −3000 N = 3000 N (C)

∑F y = 0; − FEF sin 30o − 3000sin 30o − 1000 − FEB = 0 A


E
FEB = 2000 N (T)

1. เขียน FBD ของโครงขอหมุนและใชสมการความสมดุล 2. วิธี method of section


800 lb 800 lb
10 ft 10 ft 500 lb 10 ft 10 ft
500 lb 500 lb 500 lb
C a C D
B D B
y

10 ft 10 ft
x G F G F

E a E
A A

900 lb 900 lb
900 lb 900 lb
500 lb ∑M C =0
− 900(10) + 500(10) + FGF (5) = 0
a C
B FGF = 800 lb (T)
∑M
FBC
G =0
FCG
10 ft − 900(5) + 500(5) − FBC (5) = 0
FGF FBC = −400 lb
G
FGF = 400 lb (C)

A a ∑F y =0
1
900 − 500 + FCG = 0
2
900 lb
FCG = −566 lb
FCG = −566 lb (C)

EXAMPLE 2. ใช method of sections โดยตัดโครงขอหมุน


จงหาแรงที่เกิดขึ้นในชิ้นสวน HG ของ compound truss แบบที่ 1

Ax

Ay Ey
1. หาคาแรงปฏิกิริยาที่จดุ รองรับของโครงขอหมุน
∑M C = 0;

Ax = 0 kN FHG = 3.46 kN (C)

Ay = 5 kN 3. ทําการวิเคราะหโครงขอหมุนพื้นฐานทั้ง
E y = 5 kN สองโดยใชวิธี method of joints และ
method of sections
EXAMPLE 2. ใช method of sections โดยตัดโครงขอหมุน
จงหาแรงที่เกิดขึ้นในชิ้นสวน CE BH และ DG ของ compound truss
แบบที่ 2 ใชสมการสมดุล 3 สมการในการหาคาแรง
FCE = FBH = 2.675 kN (C)

FDG = 3.783 kN (T)

3. ทําการวิเคราะหโครงขอหมุนพื้นฐานทั้งสองโดยใชวิธี method of
1. หาคาแรงปฏิกิริยาที่จดุ รองรับของโครงขอหมุน joints และ method of sections

EXAMPLE 2. เอา secondary simple trusses ออกจาก โครงขอหมุนประกอบโดย


จงหาแรงที่เกิดขึ้นในชิ้นสวนของ compound truss แบบที่ 3 แทน secondary simple trusses ดวย “ชิ้นสวนสมมุติ”

1. หาคาแรงปฏิกิริยาที่จดุ รองรับของโครงขอหมุน
3. เขียน FBD ของ secondary simple trusses ดังกลาว และหาคาแรง
ปฏิกิริยาทีป่ ลายของชิ้นสวนดังกลาว
4. ใหแรงปฏิกิริยาที่หาไดในขอ 3 กระทําตอ main simple truss แลว
วิเคราะหหาแรงที่เกิดขึ้นในชิ้นสวนตางๆ ของ main simple truss

5. ใชแรงทีห่ าไดในขอ 4 ในการวิเคราะหหาแรงที่เกิดขึ้นในชิ้นสวน


ตางๆ ของ secondary simple trusses

การบานบทที่ 3
ขอ 3-5, 3-12, และ 3-22
ทําทั้งรายการคํานวณดวยมือ และผลการคํานวณโดย Program GRASP
หรือ SUTStructor
End of Chapter 3
การออกแบบสะพาน 2 - ลักษณะทางกายภาพ และ Layout
z ขอมูลโดยยอ: สะพานเปนสะพานขนาดเล็ก อยูในพื้นที่ชนบท โดยวางอยูเหนือ
30 meters
highway สายหลัก
Min clearance
z วัตถุประสงค: ทําการออกแบบสะพานที่มีราคาที่เหมาะสม
1 meter to top of footing
1 - ขอมูลทั่วไป Roadway
z สะพานเปนสะพานสําหรับใหยวดยานสัญจรผาน
z มาตรฐานการออกแบบสะพานกําหนดใหความกวางของสะพานมีคาอยางนอย
z ผิวบนสุดของตอมอ (pier) และฐานราก (footings) จะอยูต่ําจากผิวดินไดไม
2.5 เมตร
เกิน 1 เมตร เนื่องจากขอกําหนดของ min. clearance
30 meters

Min clearance z ถาสมมุติใหคานมีอัตราสวน span ตอ ความลึกเทากับ 20 แลวคานดังกลาวจะ


1 meter to top of footing มีความลึกถึง 1.5 เมตร ซึ่งจะไมเหมาะสมที่จะนํามาใชงาน
Roadway

3 - เลือกใชโครงขอหมุน (truss) 4 - เหตุผลในการเลือกโครง truss ดังกลาว


12 @ 2.5 = 30 m
12 @ 2.5 = 30 m
2.5 m
2.5 m
Min clearance

Min clearance

z พื้นของสะพานจะถูกออกแบบใหวางอยูบนคานตามขวาง ซึ่งถูกเชื่อมเขากับ
จุดเชื่อมตอ (joints) ของโครง truss ดานลาง ซึ่งกอสรางงาย
z โครง truss ที่ใชควรมีอัตราสวนของ span ตอความลึกเทากับ 12 z ระยะหางระหวางคานรองรับพื้นมีคาไมสูงมากคือ 2.5 เมตร ทําใหพื้นมีน้ําหนัก
ไมมากนัก
z เลือกใชโครง truss แบบ “Warren” truss z จํานวนของจุดเชื่อมตอของโครง truss มีนอย ซึ่งจะชวยลดคากอสราง
z มุมของชิ้นสวนในแนวทแยง (Diagonals) เทากับ 45o ทําใหกอสรางงายและ
สวยงาม
5 - ระบบพื้น 6 - layout ของหนาตัดของสะพาน
2700
z เลือกใชพื้นคอนกรีตเสริมเหล็กที่มีการ 2700
Horizontal bracing ถายแรงทิศทางเดียว (one-way slab) z พื้นคอนกรีตมี span 2.5 เมตร Horizontal bracing
(for top chord stability)
รองรับโดยคานตามขวาง ซึ่งมี (for top chord stability)
z คานตามขวางที่รองรับพื้นมีระยะ
ระยะหาง 2.5 m
centre-to-centre เทากับ 2.7 เมตร
Childproof
2500 z คาสูงสุดของ span ตอ depth ของพื้น = z เพื่อความงายในการคํานวณและ 2500 railing 1500 high
2500 20 ดังนั้น ความหนาของพื้น = 2500/20 กอสราง สมมุติใหชิ้นสวนของโครง 2500
Concrete deck 125 mm thick = 125 mm. truss มีความกวางเทากัน (assume 150 Concrete deck 125 mm thick
mm)
z คานตามขวางระหวางโครง trusses ยาว
Horizontal bracing Cross beam
= 2.7 เมตร ดังนั้น สมมุติความลึกของ z แรงและน้ําหนักบรรทุกกระทําที่
คาน = 200 mm จุดเชื่อมตอดานลางของโครง truss Horizontal bracing Cross beam

7 - การเลือกชิ้นสวนของโครง truss 7 - การเลือกชิ้นสวนของโครง truss (ตอ)


Alternatives
z ชิ้นสวนของโครง truss มีความกวางเทากัน Top chord z หนาตัดรูปสี่เหลี่ยมกลวง (Box) เปน
เพื่อความงายในการเชื่อมตอโดยใชแผนปะกับ หนาตัดที่มีประสิทธิภาพสูงสุด และ Box W
(gusset plates) หรือโดยการเชื่อมโดยตรง ดูแลรักษาไดงายที่สุด
Posts &
z เลือกใชหนาตัดรูป Box สําหรับ chords
z เลือกใชเหล็กมาตรฐาน A36 โดยการจัดวาง diagonals RHS I
และชิ้นสวนในแนวทแยงที่ปลายทั้ง
แบบ H จะไมเหมะสมที่จะใชเปน chords บน สองของโครง truss
และลางของโครง truss เนื่องจากจะมีการ C
กักขังของน้ํา ซึ่งจะนําไปสูการผุกรอนของ Bottom chord z เลือกใชหนาตัดรูปตัว I สําหรับชิ้นสวน
เหล็ก 150 mm
ในแนวตั้งและชิ้นสวนในแนวทแยง
(guess) อื่นๆ
8 - ประมาณคาน้ําหนักบรรทุก 9 - น้ําหนักบรรทุกทีก่ ระทําที่จุดเชื่อมตอและแรงปฏิกริยา

น้ําหนักบรรทุกคงที่ (Dead Loads) น้ําหนักบรรทุกที่กระทําที่จุดเชื่อมตอ = 25 x 2.5 / 2 = 31.25 kN


พื้นคอนกรีต : 2.5 x 0.125 x 24 kN/m3 = 7.5 kN/m น้ําหนักบรรทุกแบบจุดที่กึ่งกลางสะพาน = 150/2 = 75 kN
เหล็กของโครง truss @ 250 kg/m/truss: 2 x 2.5 = 5.0 kN/m (คาดการณ) แรงปฏิกิริยา = 5.5 x 31.25 + 75/2 = 209.4 kN

น้ําหนักบรรทุกจร (Live Loads)


น้ําหนักบรรทุกของยวดยาน (Code) = 12.5 kN/m
รวมกับน้ําหนักบรรทุกแบบจุด 150 kN กระทําที่จุดที่วิกฤติที่สุดของสะพาน 209.4
31.25 31.25 31.25 31.25 31.25 31.25 31.25 31.25 31.25 31.25
209.4
106.25

10 - การวิเคราะหโครง truss แรงที่เกิดขึ้นในชิ้นสวนของโครง truss

1 2 3
10 12 13 15 16
11 14 17
18 kN -387.5 -650 -787.5
4 5 6 7 8 9 -296 +252 -208 +164 -119 +75
+31.25 +31.25 +41.6
209.4 31.25 31.25 31.25 31.25 31.25 +209.4 +534.4 +734.4
106.25 / 2
เนื่องจาก symmetry ของโครง truss และแรงกระทํา ดังนั้น พิจารณาแคครึ่งเดียว
ชิ้นสวนในแนวดิ่งของโครง truss จะรับแรงดึง = 31.25 kN
11 - ออกแบบชิ้นสวนของโครง truss

N
σ= N
A

You might also like