You are on page 1of 8

บทนํา (Introduction)

โครงสรางทางวิศวกรรม

1-1 1-2
ความสัมพันธระหวางการวิเคราะหและการออกแบบโครงสราง (Analysis & Design) สมการของการสมดุล (Equilibrium Equations)
การออกแบบโครงสรางทางวิศวกรรม ประกอบดวย 2 ขั้นตอน คือ
จากกฎขอที่ 2 ของนิวตัน (Newton’s second law) แรงลัพทที่กระทําตอมวลจะ
1. วางรูปแบบของโครงสรางใหมีความมั่นคง
ทําใหมวลเกิดความเรง ตามสมการ
2. เลือกขนาดของชิ้นสวนโครงสราง และชนิดของวัสดุ
F = ma
ในขั้นตอนที่ 2 นี้ วิศวกรตองทําการวิเคราะหหาแรงภายในที่เกิดขึ้นเนื่องจาก
โดยที่ F และ a เปนเวคเตอรของแรงที่มากระทําและความเรงของ มวล m
น้ําหนักบรรทุกทั้งถาวรและชั่วคราว การวิเคราะหโครงสรางนี้มีความจําเปนและมี
ความสําคัญเพราะการวิเคราะหที่ไมถูกตองจะทําใหการออกแบบผิดพลาด ซึ่งเปน ในโครงสรางสิ่งกอสรางที่อยูกับที่ควรจะมีความเรงเทากับศูนย ดังนั้นสมการ
อันตรายอยางยิ่ง หลักการสําคัญ ที่ใชในการวิเคราะหโครงสรา ง คือ สถิตยศาสตร ของการสมดุล สําหรับโครงสรางใน 2 มิติ คือ
(Statics) ∑F = 0x

คําจํากัดความ ∑F = 0y

แรง (Forces) คือ สิ่งที่พยายามทําใหวัตถุเกิดการเคลื่อนที่ หรือ หยุดนิ่ง แรง


∑M = 0
ประกอบดวย ขนาดและทิศทาง เขียนแทนดวย ลูกศร ณ ตําแหนงที่แนวแรงกระทํา
โดย Fx เปนขนาดของแรงในแนวนอน (แกน X)
แรงตั้งแต 3 แรงขึ้นไป ที่แนวของแรงกระทําอยูบนระนาบเดียวกัน เรียกวา Co-
Fy เปนขนาดของแรงในแนวตั้ง (แกน Y)
planar forces
M เปนขนาดของโมเมนตรอบแกนที่ตั้งฉากกับระนาบ 2 มิติ (X-Y) นั้น
ผลคูณของแรงกับระยะตั้งฉากจากแนวแรงไปที่ จุดหนึ่งจุดใด เรียกวา โมเมนต
ของแรงรอบจุดนั้น อาจมีลักษณะตามเข็มนาฬิกา (Clockwise) หรือ ทวนเข็มนาฬิกา
(Counter-Clockwise)
แรง 2 แรงที่ขนานกัน และ มีขนาดเทากันเรียกวา แรงคูควบ (Couple) คา
โมเมนตของแรงคูควบไดจากผลคูณของขนาดของแรงกับระยะตั้งฉากระหวางแรงทั้ง
สอง
แรงลัพท (Resultant force) เปนแรงที่แทนผลรวมของแรงตางๆ ที่กระทําตอ
วัตถุ แรงที่จะตานกลับเพื่อใหวัตถุอยูในสภาวะสมดุล จะตองมีขนาดเทากันแตทิศทาง
ตรงขาม กระทําที่แนวแรงเดียวกัน

1-3 1-4
น้ําหนักบรรทุก (Loads) น้ําหนักบรรทุกคงที่ (Dead Loads)
น้ําหนักบรรทุกคงที่เนื่องจากแรงโนมถวงของโลก สําหรับวัสดุประเภทตางๆ
น้ําหนักบรรทุกที่กระทําตอโครงสรางแบงไดเปน 2 ประเภท คือ ขึ้นอยูกับหนวยน้ําหนักซึ่งมีคาดังนี้
1. น้ําหนักบรรทุกคงที่ (Dead Loads)
2. น้ําหนักบรรทุกจร (Live Loads) อาจแบงไดเปน แบบเคลื่อนที่ เชน รถบรรทุก
แรงลม แรงคลื่น และ แบบไมเคลื่อนที่ เชน เฟอรนิเจอร หรือ สินคา

(จาก หนังสือคอนกรีตเสริมเหล็ก โดย ศ.ดร.วินิต ชอวิเชียร)

1-5 1-6
น้ําหนักบรรทุกจร (Live Loads) ในกรณีที่น้ําหนักบรรทุกจรกระทําตอโครงสรางตลอดเวลา หรือคอนขางถาวร
น้ํ า หนั ก บรรทุ ก จร ขึ้ น อยู กั บ สิ่ ง ที่ ทํ า ให เ กิ ด น้ํ า หนั ก บรรทุ ก จร ซึ่ ง ขึ้ น อยู กั บ เชน ในหองสมุด หรือ คลังสินคา อาจพิจารณาน้ําหนักบรรทุกจรดังกลาวเปนน้ําหนัก
ประเภทของอาคาร และตําแหนงภายในอาคารนั้นๆ บรรทุกคงที่
นอกจากน้ําหนักบรรทุกจรที่เกิดจากแรงโนมถวงของโลกแลว การออกแบบ
น้ําหนักบรรทุก
ประเภทการใชอาคาร โครงสร า งจํา เป นต อ งคํ า นึ ง ถึ ง น้ํ า หนัก บรรทุก จรที่ ค าดวา จะกระทํา ต อ โครงสร า ง
(กิโลกรัมตอตารางเมตร)
เนื่องจากสาเหตุอื่นๆ ดวย เชน แรงลม และ แรงจากแผนดินไหว
๑. หลังคา ๕๐
๒. กันสาดหรือหลังคาคอนกรีต ๑๐๐
๓. ที่พักอาศัย โรงเรียนอนุบาล หองน้ํา หองสวม ๑๕๐
หนวยแรงลม (Design Wind Loads) ตามขอบัญญัติของกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2522
๔. หองแถว ตึกแถว อาคารชุด หอพัก โรงแรม และหองคนไข ๒๐๐ หนวยแรงลมอยางนอย
พิเศษ ของโรงพยาบาล ความสูงของอาคารหรือสวนของอาคาร
(กิโลกรัมตอหนึ่งตารางเมตร)
๕. สํานักงาน ธนาคาร ๒๕๐
สวนของอาคารที่สูงไมเกิน ๑๐ เมตร ๕๐
๖. (ก) อาคารพาณิชย สวนของหองแถว ตึกแถวทีใ่ ชเพื่อการ ๓๐๐
พาณิชย มหาวิทยาลัย วิทยาลัย และโรงเรียน สวนของอาคารที่สูงกวา ๑๐ เมตร แตไมเกิน ๒๐ เมตร ๘๐
(ข) หองโถง บันได ชองทางเดิน ของอาคารชุด หอพัก โรงแรม ๓๐๐ สวนของอาคารที่สูงกวา ๒๐ เมตร แตไมเกิน ๔๐ เมตร ๑๒๐
โรงพยาบาล สํานักงาน และธนาคาร สวนของอาคารที่สูงกวา ๔๐ เมตร ๑๖๐
๗. (ก) ตลาด หางสรรพสินคา หอประชุม โรงมหรสพ ภัตตาคาร ๔๐๐
หองประชุม หองอานหนังสือในหอสมุด ที่จอดหรือเก็บรถยนต ผลของแรงกระแทก (Impact Loads)
นั่ง น้ําหนักบรรทุกจรที่เคลื่อนที่ เชน น้ําหนักของรถบรรทุก หรือ รถไฟ จะมีผล
(ข) หองโถง บันได ชองทางเดิน ของอาคารพาณิชย ๔๐๐ เนื่องจากการกระแทก (Impact) ดวย ซึ่งมากกวาน้ําหนักรถที่ไมเคลื่อนที่ จึงมีการเพิ่ม
มหาวิทยาลัย วิทยาลัย และโรงเรียน คาเนื่องจากผลของการกระแทกดวยแฟคเตอร
๘. (ก) คลังสินคา โรงกีฬา พิพิธภัณฑ อัฒจันทร โรงงาน ๕๐๐
50
อุตสาหกรรม โรงพิมพ หองเก็บเอกสารและพัสดุ I= × 100% มีคาไมเกิน 30%
L + 125
(ข) หองโถง บันได ชองทางเดิน ของตลาด หางสรรพสินคา ๕๐๐
หอประชุม โรงมหรสพ ภัตตาคาร และหอสมุด
โดยที่ I คือ เปอรเซ็นตของน้ําหนักที่เพิ่มขึ้นเนื่องจากการกระแทก
๙. หองเก็บหนังสือของหอสมุด ๖๐๐
L คือ ชวงยาวของสะพานระหวางเสา มีหนวยเปนฟุต
๑๐. ที่จอดหรือเก็บรถยนตบรรทุกเปลาและรถอื่น ๆ ๘๐๐
(ตามขอบัญญัติของกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2522)

1-7 1-8
แบบจําลองของโครงสราง (Structural models) แรงปฏิกิริยา (Reaction forces)
ในสภาพความเปนจริงชิ้นสวนของโครงสรางมีความหนา และ ความกวาง แต โครงสร า งทั่ ว ไปจะต อ งตั้ ง อยู บ นจุ ด รองรั บ เช น พื้ น ดิ น หรื อ รองรั บ โดย
ในแบบจําลองที่ใชในการวิเคราะหโครงสรางจะวาดชิ้นสวนของโครงสรางเชน เสา ชิ้ นสว นโครงสร า งอื่ น เช น ฐานราก เสา หรื อ คาน ที่ ทํ า หน า ที่ เ ป นจุ ด รองรั บ ของ
คาน จั น ทั น ขื่ อ แป ด ว ยเส น ตรง โดยที่ เส น ตรงมี ค วามยาวเท า กั บ ชิ้ น ส ว นของ โครงสรางที่กําลังพิจารณา
โครงสราง และวางอยูที่แนวแกนของแรงภายในชิ้นสวนนั้นๆ แรงภายนอกที่กระทําตอโครงสรางมี 2 ชนิด คือ
1. แรงกระทํา (Active forces) เนื่องจากน้ําหนักบรรทุกตางๆ และ
2. แรงตานทานตรงฐานรองรับ (Supporting forces) แรงนี้เปนแรงที่จุดรองรับ
กระทํากับโครงสรางเพื่อใหโครงสรางอยูในสภาพสมดุล แรงนี้จึงเรียกวา แรงปฏิกิริยา
(Reactive forces หรือ Reactions)

สมมติฐานที่สําคัญในการวิเคราะหแบบไมละเอียดมากจะถือวา โครงสรางมี
การเคลื่อนที่ หรือโกงตัวนอยมาก (Infinitesimally small displacement) ทําใหสามารถ
คํานวณการสมดุลของแรงตางๆ ที่มีทิศทางตามสภาพกอนมีแรงกระทํา (Equilibrium
in undeformed configuration)

1-9 1 - 10
แบบของที่รองรับ (Support conditions)

ลักษณะการยึดรั้งของโครงสรางกับจุดรองรับไดแก
1. แบบยึดหมุนเคลื่อนที่ได (Roller support) ที่รองรับแบบนี้ยอมใหมีการหมุน
ไดรอบแกนที่ตั้งฉากกับระนาบที่จุดรองรับนั้น และยอมใหมีการเคลื่อนที่ขนานกับ
ฐานรอง แตไมยอมใหมีการเคลื่อนที่ตั้งฉากกับฐานรอง ดังนั้นฐานรองรับแบบนี้มีแรง
ปฏิกิริยาเพียงตัวเดียว คือ แรงที่มีทิศทางตั้งฉากกับฐานรองเทานั้น และไมมีความ
ตานทานตอการหมุนดวยโมเมนตดัด
2. แบบยึดหมุนเคลื่อนที่ไมได หรือแบบบานพับ (Hinge or pin support) ที่
รองรับแบบนี้ยอมใหมีการหมุนไดรอบแกนที่ตั้งฉากกับระนาบที่จุดรองรับนั้น แตไม
ยอมใหมีการเคลื่อนที่ใดๆ ดังนั้นฐานรองรับแบบนี้มีแรงปฏิกิริยา 2 ตัว คือ แรงที่มี
ทิศทางตั้งฉาก และ ขนานกับฐานรอง
3. แบบยึดแนน (Fixed support) ที่รองรับแบบนี้ไมยอมใหมีการหมุนหรือการเคลื่อนที่
ใดๆ ที่ปลายชิ้นสวนโครงสราง ดังนั้นฐานรองรับแบบนี้ประกอบดวยแรงปฏิกิริยา 3
ตัว คือ แรงที่มีทิศทางตั้งฉาก และ ขนานกับฐานรอง และโมเมนตตานทานการหมุน

1 - 11 1 - 12
จุดตอ หรือขอตอ (Joint) ระหวางชิ้นสวนโครงสราง มี 2 ประเภทหลัก คือ แบบของโครงสราง
1. แบบยึดหมุน (Pinned joint) ซึ่งสามารถถายแรงทั้งในแนวนอนและแนวตั้ง โครงสรางแบบดีเทอรมิเนท (Statically Determinate Structures) เปน
ระหวางชิ้นสวนที่เชื่อมตอได แตไมมีการถายโมเมนต และ โครงสรางที่สามารถวิเคราะหหาแรงปฏิกิริยาและแรงภายในไดอยางสมบูรณ โดยใช
2. แบบยึดรั้ง (Rigid joint) ซึ่งมีการถายแรงและโมเมนตระหวางชิ้นสวนที่ เพียงแคสมการของการสมดุล โครงสรางแบบนี้ไดแก คานชวงเดียว (Simple beam)
เชื่อมตอได คานยื่น (Cantilever beams) หรือ โครงขอแข็ง (Rigid frame) ดังรูป

แรงปฏิกิริยาที่จุดรองรับจะมีเพียงพอใหโครงสรางมีเสถียรภาพ (Stable) หาก


เอาแรงปฏิกิริยาออกไปเพียงหนึ่งตัวจะทําใหโครงสรางขาดเสถียรภาพ (Unstable)
ทันที

1 - 13 1 - 14
โครงสรางแบบอินดีเทอรมิเนท (Statically Indeterminate Structures) เปน
โครงสรางที่ไมสามารถวิเคราะหหาแรงปฏิกิริยาและแรงภายในโดยใชสมการของการ
สมดุลตามลําพัง เพราะมีจํานวนของแรงตานทานหรือแรงปฏิกิริยาที่ตองการหาเกิน
กวาจํานวนสมการของการสมดุล หากเอาแรงตานทานหรือแรงปฏิกิริยาที่เกินออกไปก็
จะไดโครงสรางแบบดีเทอรมิเนท โครงสรางแบบอินดีเทอรมิเนทไดแก คานตอเนื่อง
(Continuous beams) หรือ คานที่มีปลายยึดแนนสองขาง

การวิ เ คราะห โ ครงสร า งแบบอิ น ดี เ ทอรมิ เ นทจะต อ งทราบสั ด ส ว นความ


แข็งแกรงของแตละชิ้นสวน และทําการวิเคราะหหาการเคลื่อนตัวที่สอดคลองกันของ
ทุกๆ ชิ้นสวน

ในวิชานี้จะพิจารณาเฉพาะโครงสรางแบบดีเทอรมิเนท

1 - 15

You might also like