You are on page 1of 66

MECHANICS OF MATERIALS

By
Assoc. Prof. Dr. Sittichai Seangatith
SCHOOL OF CIVIL ENGINEERING
INSTITUTE OF ENGINEERING
SURANAREE UNIVERSITY OF TECHNOLOGY
Instructor: Assoc. Prof. Dr. Sittichai Seangatith
Email: sitichai@sut.ac.th
Tel. 044-224326, 4420-1
Office: Room CE02, Academic Building 1
Textbook:
1. Mechanics of Materials; Sittichai Seangatith, SUT, 2014.
(https://www.facebook.com/groups/721294041285455)
2. Mechanics of Materials; Russell C. Hibbeler, 2nd SI Edition
(2005).
Objectives: นักศึกษาที่เรี ยนรู ้วิชานี้ แล้วจะต้อง
1. เข้าใจแนวคิดของหน่วยแรง (stress) สามารถหาค่า stress รู ปแบบต่าง ๆ ที่
เกิดขึ้นในชิ้นส่ วนโครงสร้างและจุดเชื่อมต่อได้ และสามารถประยุกต์ใช้ส่วน
ความปลอดภัย (factor of safety) ได้
- หน่วยแรงตั้งฉาก (normal stress): ในแนวแกน (axial)/ แบกทาน
(bearing) และการดัด (flexure) และ
- หน่วยแรงเฉือน (shear stress): อย่างง่าย (simple)/ การบิด (torsion)
และตามขวาง (transverse)
แรงภายนอก → แรงภายในทีจ่ ุด centroid → stress ในเนื้อวัสดุ
Tensile stress

P

A


L
  E
PL

AE
Flexural stress

My

I
M M
หดตัว
ไม่ยดื /หด
ยืดตัว
Direct shear stress



V 
  nt   lim 
A 2 CB  A along n
 A along t
Torsinal shear stress

T   G TL
 
J GJ
Transverse shear stress

VQ

It
Objectives: (ต่อ)
2. เข้าใจแนวคิดของความเครี ยด (strain) และสามารถหาค่า strain และการ
เปลี่ยนแปลงรู ปร่ างรู ปแบบต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในชิ้นส่ วนโครงสร้างได้
-ความเครี ยดตั้งฉาก (normal strain): ในแนวแกน (axial) และการดัด
(flexure) และ
-ความเครี ยดเฉือน (shear strain): การบิด (torsion)
Objectives: (ต่อ)
3. เข้าใจพฤติกรรมของวัสดุและประยุกต์ใช้ stress-strain diagram หาสมบัติ
ทางกลของวัสดุ (เช่น yielding stress, ultimate stress และ modulus of
elasticity ฯลฯ) ได้

4. วิเคราะห์ชิ้นส่ วนโครงสร้างรับแรงในแนวแกน และแรงบิดแบบ statically


determinate และแบบ statically indeterminate ได้
Objectives: (ต่อ)
5. วิเคราะห์หาหน่วยแรงกระทาร่ วม (combined stress) ในชิ้นส่ วนโครงสร้าง
ได้และแปลงหน่วยแรง (stress transformation) เพื่อหา principal normal
stresses และ max. in-plane shear stress และค่ามุมที่เกี่ยวข้องได้
Objectives: (ต่อ)
6. วิเคราะห์ (analyze) และออกแบบ (design) ชิ้นส่ วนโครงสร้างต่าง ๆ เช่น
คาน โครงข้อหมุน และเสา เป็ นต้น ได้

7. หาค่าการเปลี่ยนแปลงรู ปร่ าง (deformation) ของชิ้นส่ วนโครงสร้างภายใต้


แรงกระทาตามขวางได้
8. หาค่าแรงกดอัดและหน่วยแรงวิกฤติ (critical load and stress) ของเสาได้
Objectives:
1. Be able to interpret and apply the “stress-strain diagrams” and
other relevant “properties of the materials” and the concept of the
“factor of safety”.
2. Be able to determine and interpret various types of “stresses”
(normal: axial, bearing, and flexural stresses; and shear: simple,
torsion, and transverses shear stresses) of the “structural
components”, including the connections.
3. Be able to perform “stress analysis” (combine and transform the
normal and shear stresses) of beams and shafts under combined
loading.
Objectives: (Cont.)
4. Be able to analyze and design basic structural components such as
beams, shafts and columns.
5. Be able to formulate and calculate the “deformation” of the
structural members under axial/ torsional/ and transverse loads.
6. Be able to calculate the “critical load and stress” of a column.
Chapter Subjects:
1. Stresses
2. Strain
3. Mechanical Properties of Materials
4. Axial Load
5. Torsion
6. Bending
7. Transverse Shear
8. Combined Loadings
9. Stress Transformation
10. (11) Design of Beams and Shafts
11. (12) Deflection of Beams
12. (13) Buckling of Columns
Conduct of Course:
Assignments and Quizzes 10%
Midterm Examination 40%
Final Examination 50%

Grading Guides:
80 and above A
75-79 B+
70-74 B
65-69 C+
60-64 C
55-59 D+
50-54 D
below 50 F
The above criteria may be changed at the instructor’s discretion.
ENGINEERING PAPER:
รู ปแบบกระดาษที่ใช้ทาการบ้าน
Download ได้ที่
https://www.facebook.com/groups/
721294041285455
ทาไมต้ องศึกษาวิชานี้
1. ฝึ กการมองปัญหาในชีวิตจริ งแบบวิศวกร
ปัญหาจริ ง Model ทฤษฏี คาตอบ

40 kN

Ay 2m 10 kN/m

Ax
4m 4m
MA

2. ทาให้เกิด Engineering senses


ทาไมต้ องศึกษาวิชานี้ (ต่ อ)
3. ได้ประยุกต์ใช้ Engineering judgments

10cm 3cm
10cm 3cm
10cm
1cm
(a) (b) (c)
1cm

4. เป็ นวิชาพื้นฐานที่สาคัญของวิชาวิศวกรรมศาสตร์แขนงต่าง ๆ
5. อื่น ๆ
สิ่ งทีน่ ักศึกษาจาเป็ นต้ องเตรียมตัวในการศึกษาวิชานี้
1. ทบทวนการเขียน free-body diagram ของโครงสร้าง เช่น ชิ้นส่ วนรับ
แรงในแนวแกน เพลา คาน
2. ทบทวนการใช้สมการความสมดุลในการหาแรงปฏิกิริยาและแรงภายใน
ของโครงสร้าง
3. ทบทวนการเขียน shear diagram และ moment diagram ของคาน
4. ทบทวนการหาจุด centroid และ moment of inertia ของพืน้ ทีป่ ระกอบ
สิ่ งทีน่ ักศึกษาจาเป็ นต้ องปฏิบัติในการศึกษาวิชานี้ เพื่อความสาเร็จในการเรียน
1. เตรี ยมเอกสารการเรี ยนให้ครบ
2. อ่านเอกสารการเรี ยนอย่างเพียงพอก่อนเข้าเรี ยน: ประมาณ 1 ชม/lecture
3. หลังเข้าเรี ยน ทบทวนเอกสารการเรี ยน ทาแบบฝึ กหัด ทาการบ้านอย่าง
สม่าเสมอ : 2-4 ชัว่ โมง/lecture
Attendance Policy:
1. Class attendance is mandatory. Missing classes more than
80% will receive an automatic grade of “F”.
2. Students attending the lectures must bring the calculator for
a quiz and the lecture note.
3. Homework must be turn in 1 week after assigned.
4. Cheating on the quizzes, homework, and examinations will
get a zero score, and/or be punished according to the rules
and regulations of Suranaree University of Technology.
5. No make up quizzes or examinations will be given without a
written Dean's permission. Student who passes the make-up
examinations will be given a maximum grade of “C”.

ปิ ดเสี ยงโทรศัพท์มือถือระหว่างเรี ยน
Bagger 288 ถูกสร้างโดย Krupp, Germany ยาว 214 m หนัก 45,000 ton
บทที่ 1
หน่ วยแรง (Stress)
วัตถุประสงค์
1. เพื่อทบทวนความรู ้เรื่ องสมดุล (equilibrium) ของโครงสร้าง/machine
2. เพื่อให้ทราบและเข้าใจถึงแนวคิด
ของหน่วยแรงตั้งฉาก (normal
stress) และหน่วยแรงเฉือน (shear
stress)
3. เพื่อให้ สามารถวิเคราะห์ (analysis)
และออกแบบ (design) จุดเชื่ อมต่ อ
อย่ างง่ ายได้ อย่ างถูกต้ อง
1.1 บทนา ศึกษาเกี่ยวกับการตอบสนองภายใน
Mechanics (เช่น stress และ strain) และภายนอก
(เช่น deformation) ของวัตถุแข็ง
(solid body) ภายใต้แรงกระทา

Rigid Bodies Deformable Bodies


(Things that do not (Things that do Fluids
change shape) change shape)

Statics Dynamics Incompressible Compressible

ศึกษาเกี่ยวกับอนุภาค (particle) และวัตถุ ศึกษาเกี่ยวกับของไหล (ของเหลว (fluid)


แกร่ ง (rigid body) ที่ถูกแรงกระทา ใน และ gas) ภายใต้ภาวการณ์ต่าง ๆ เช่น
กรณี ที่อยูน่ ิ่ง และกรณี ที่เคลื่อนที่ แรง/ความดัน และอุณหภูมิ เป็ นต้น
การตอบสนองของชิ้นส่ วนโครงสร้ าง ต่อการกระทาของแรง :
หน่วยแรง (stress)
การเปลี่ยนแปลงรู ปร่ าง (deformation)/ ความเครี ยด (strain)
เสถียรภาพ (stability)
ขั้นตอนหลักในการออกแบบโครงสร้ าง

1. ใช้ FBD และ equilibrium equations หาค่าแรง/ moment ที่เกิดขึ้นภายใน


ชิ้นส่ วนของโครงสร้าง – เรียนแล้วใน statics
2. หาขนาดของชิ้นส่ วนของโครงสร้างที่เหมาะสม [โดยมีกาลัง (strength)
เพียงพอในการรองรับแรงกระทา โดยไม่เกิดการวิบัติ (failure)]
3. ตรวจสอบการเปลี่ยนแปลงรู ปร่ าง (deformation) และเสถียรภาพ
(stability) ของชิ้นส่ วนของโครงสร้าง
1.2 สมดุลของวัตถุทเี่ ปลีย่ นแปลงรูปร่ างได้ (Equilibrium of a Deformable
Body)
แรงภายนอก (External Loads)
Surface force
แรงกระทาเป็ นจุด
(concentrated force/point load)
แรงแผ่กระจาย
(distributed load)
Body force เช่น น้ าหนักของวัตถุที่เกิด
จากแรงดึงดูดของโลก เป็ นต้น
เมื่อ support ป้องกันไม่ให้เกิดการเลื่อนในทิศทางใดแล้ว support นั้นจะทา
ให้เกิดแรงปฏิกริ ิยาขึ้นบนองค์อาคารของโครงสร้างในทิศทางนั้น
ถ้า support ป้องกันไม่ให้เกิดการหมุนรอบแกนใด ๆ แล้ว support นั้นจะ
ทาให้เกิด moment ปฏิกริ ิยาขึ้นบนองค์อาคารของโครงสร้างรอบแกนนั้น
สมการความสมดุล (Equations of equilibrium)
วัตถุ (เช่น โครงสร้างและ machine) จะอยูใ่ นสภาวะ equilibrium เมื่อวัตถุมี
สมดุลของแรง (balance of force) เพื่อป้องกันการเคลื่อนที่เชิงเส้น
ของวัตถุ
F  0
สมดุลของโมเมนต์ (balance of
moment) รอบจุดใด ๆ เพื่อป้องกัน
การหมุนของวัตถุ
M O 0
ใน 3 มิติ

My
Ay

Ax
Az
Mx
Mz
ใน 2 มิติ
T
y
70o

Ax

Ay
x 1962 N

x
แรงลัพธ์ ภายใน (Internal Resultant Loading)
เมื่อวัตถุอยูใ่ นสภาวะ equilibrium แรงลัพธ์ภายในที่เกิดขึ้นตรงจุดที่
สนใจจะหาได้โดยวิธีตดั หน้าตัด (method of sections)

คาน

เสา
Assignment : Draw free body diagram of the frame and use the equations of
equilibrium to determine the reactions at supports. Then, draw free body
diagram of the portion BC and use the equations of equilibrium to find
internal force and moment at point C.

C
Assignment : Draw free body diagram of the frame and use the equations of
equilibrium to determine the reactions at supports. Then, draw free body
diagram of the portion BC and use the equations of equilibrium to find
internal force and moment at joint D.

D
Example
Determine axial force, shear force and bending moment at point D of the
beam ADB.

Question :
From Engineering Statics, what is the member BC called?
1. Find the reactions at the beam’s supports.
From the FBD of the
500(3) N
1.5 m 1.5 m
beam, which equations of
Ax
equilibrium should we use
45o
FBC
first? and WHY?
Ay
1060.7 N

 M A  0; FBC sin 45o (2)500(3)(1)  0


FBC  1060.7 N

  Fx  0; Ax  1060.7 cos 45o  0
Ax  750 N
   Fy  0; Ay  1060.7sin 45o  500(3)  0
Ay  750 N
2. Find the internal forces and moment at point D.

750 N
750 N
1060.7 N

500(1)N   Fx  0; N D  750  0
N D  750 N

750 N    Fy  0;  VD  500(1)  750  0


VD  250 N
 M D  0; M D  500(1)(0.5)  750(0.5)  0
M D  125 N-m
Example
Determine internal forces and bending moments at section B of the steel
pipe ADBC, having a mass of 2 kg/m.

1. Draw free-body diagram of the section ADB.


WBD  (2 kg/m)(0.5 m)(9.81 N/kg)  9.81 N

WAD  (2 kg/m)(1.25 m)(9.81 N/kg)  24.525 N


2. Use equilibrium equations to find the internal forces and moments.
F x  0; ( FB ) x  0

F y  0; ( FB ) y  0

F z  0;
( FB ) z  9.81 N  24.525 N  50 N=0
( FB ) z  84.3 N

 (M )  0;
B z
(M B ) z  0

 (M )  0;
B y

(M B ) y  24.525 N(0.625 m)  50 N(1.25 m)  0

( M B ) y  77.8 N-m
 (M B ) x  0;
( M B ) x  70 N-m  50 N(0.5 m)  24.525 N(0.5 m)  9.81 N(0.25 m)  0
( M B ) x  30.3 N-m
ทบทวน
1. แรงและโมเมนต์ ภายนอกทาให้เกิดเป็ นหน่ วยแรง (stress) กระทาต่อเนื้อวัสดุ
ที่หน้าตัดของชิ้นส่ วนโครงสร้าง
2. หน่วยแรงจะถูกต้านทานโดย “ความสามารถในการรับแรงของวัสดุ”
3. แต่ในทางทฤษฎี .... การหาค่าหน่วย
แรง เราจะต้องหา “แรงและ
โมเมนต์ ลพั ธ์ ภายใน” ที่เกิดขึ้นที่จุด
centroid ของหน้าตัดของชิ้นส่ วน
โครงสร้างก่อน

4. ในวิชานี้ หน่วยแรงที่เกิดขึ้นมีค่าไม่เกิน “กาลัง (strength)” ที่ยอมให้ของวัสดุ


1.3 หน่ วยแรง (Stress)
หน่ วยแรง (stress) ที่จุดหนึ่งบนวัตถุบ่งบอกถึงความเข้ มข้ น
(intensity) ของแรงภายใน (internal force) ที่กระทาอยูบ่ นพื้นที่เล็ก ๆ
ที่ตดั ผ่านจุดนั้นและอยูบ่ นระนาบของหน้าตัดของวัตถุดงั กล่าว
หน่วยแรงแบ่งเป็ น 2 ประเภทตามทิศทาง
ที่แรงกระทากับพื้นที่น้ นั
หน่ วยแรงตั้งฉาก (normal stress)
หรื อ σ คือ ความเข้มข้นของแรงภายในที่
กระทาตั้งฉากกับพืน้ ที่เล็ก ๆ ΔA
Fn
  lim
A0
A
Sigma
หน่ วยแรงเฉื อน (shear stress) หรื อ τ คือ ความเข้มข้นของแรงภายในที่
กระทาขนานกับพืน้ ที่ ΔA
Ft
  lim
A0
A
Tau
หน่ วยแรงในระบบแกนตั้งฉากรอบจุดใด ๆ บนวัตถุ
Fz Fx สั ญลักษณ์
 z  lim  zx  lim
A0
A A0
A
Fy
τzx เครื่ องหมาย
 zy  lim subscript ตัวแรก (z)
A0
A
ระบุถึงระนาบที่หน่วย
แรงเฉือนกระทาและ
เครื่ องหมาย subscript
ตัวที่สอง (x) ระบุถึง
ทิศทางของหน่วยแรง
เฉือนที่อยูบ่ นด้านนั้น
σz = σzz
ข้ อกาหนดของความสมดุลของสภาวะหน่ วยแรง
ถ้าหน่วยแรง 9 หน่วยแรงที่กระทาอยูบ่ น cubic volume element รอบๆ
จุดที่เรากาลังพิจารณามีค่าคงทีแ่ ล้ว หน่วยแรงบางส่ วนจะมีค่าเท่ากัน ซึ่งจะ
ทาให้หน่วยแรงทั้งหมดลดลงเหลือ 6 หน่วยแรง
“complementary property of shear”

 xy   yx
 yz   zy
 xz   zx
1.4 ค่ าเฉลีย่ ของหน่ วยแรงตั้งฉากบนแท่ งวัตถุเนื่องจากแรงในแนวแกน
แรงในแนวแกน
(axial load) คือ แรง
ตั้งฉากที่มีทิศทางไป
ตามแนวแกนของ
แท่งวัตถุ ซึ่ง
ก่อให้เกิดการดึง
(tension) หรื อการกด
อัด (compression)
ในแท่งวัตถุ
ชิ้นส่ วนโครงสร้างที่ถูกกระทาโดยแรงในแนวแกน (axially loaded bar)
มักจะมีลกั ษณะยาว และมีหน้าตัดที่คงที่ตลอดความยาว เช่น tie rod และ
ชิ้นส่ วนของ Truss เป็ นต้น http://blipnclik.blogspot.com/2015/05/pats-trade-before-retiring.html
หน่ วยแรงตั้งฉากเฉลีย่ (Averaged normal stress)
ข้ อสมมุติฐาน
แรงในแนวแกนกระทาผ่านจุด centroid ของหน้าตัดของแท่งวัตถุ
แท่งวัตถุมีลกั ษณะตรงทั้งก่อนและหลังจากที่ถูกกระทาโดยแรง
หน้าตัดของแท่งวัตถุยงั คงเป็ นระนาบที่มีลกั ษณะเหมือนเดิม

dF   dA

 dF    dA
A

P    dA
A

P    dA
A
เมื่อวัสดุของแท่งวัตถุเป็ นวัสดุเนื้อเดียว (homogenous material) และมี
คุณสมบัติเหมือนกันทุกทิศทาง (isotropic material) เช่น steel และ
aluminum เป็ นต้น แล้ว แรงในแนวแกน
P
 
A
พื้นที่หน้าตัด

Normal stress มักมีหน่วย


เป็ น 106 N/m2 หรื อ MPa
หรื อ N/mm2
หน่ วยแรงตั้งฉากเฉลีย่ สู งสุ ด (Maximum averaged normal stress)
ขั้นตอน
1. หาแรงภายในแต่ละชิ้นส่ วนของโครงสร้าง

2. เขียน axial หรื อ normal force diagram ซึ่งแสดง


C การเปลี่ยนแปลงของแรง P เทียบกับระยะ x ไป
ตามแนวแกนของแท่งวัตถุ โดยให้แรงดึงมีค่าเป็ น
บวก (+) และแรงกดอัดมีค่าเป็ นลบ (-)
3. หาค่าหน่วยแรงจาก σ = P/A ของแต่ละส่ วนของ
แท่งวัตถุและเลือกค่าหน่วยแรงสู งสุ ดไปใช้งาน
Example 1-3
Determine the max. averaged normal stress in the 10 mm thick steel bar.
1. Find the internal forces.
- Draw the FBD of the
steel bar’s segments.
- Use the equations of
equilibrium.

2. Draw the axial force diagram

max. averaged normal force : 30 kN in segment BC.


3. Find the max. averaged normal stress.
PBC 30(103 )N
 BC    85.7 MPa
A (0.035 m)(0.010 m)
Example 1-4
Lamp has weight of 80 kg. Rod AB and BC has diameter of 10 mm and 8
mm, respectively. Determine the max. averaged normal stress in the rods.
1. Find the internal forces in the
rods.
Draw the FBD of joint B.
Use the equations of equilibrium.
 Fx  0;
4
FBC ( )  FBA cos60o  0
5
F y  0;
3
FBC ( )  FBA sin 60o  784.8 N=0
5
FBC  395.2 N
FBA  632.4 N
2. Find the averaged normal stress.
FBC 395.2 N
 BC    7.86 MPa
ABC  (0.004 m) 2

FAB 632.4 N
 AB    8.05 MPa
AAB  (0.005 m) 2

632.4 N 395.2 N
3. Find the max. averaged normal stress.
10 mm
8 mm
Homework Chapter 1: Do the homework, do not copy the homework.

ข้อ 1-2 1-7 1-8 1-9 และ 1-10 ในเอกสารคาสอนของอาจารย์


ปิ ดหนังสื อ ทาข้อสอบเก่า ซ้อมมือกันครับ!

You might also like