You are on page 1of 82

CHAPTER 3

สมบัติทางกลและการทดสอบ
Mechanical Properties of
Metals and Testing
หัวข้อการบรรยาย
บทนำ
ความเค้นและความเครียด (Stress and Strain)
การทดสอบวัสดุ (Applications to Materials
Testing)
- การทดสอบแรงดึง
- การทดสอบแรงกด
- การทดสอบความแข็ง
- การทดสอบแรงบิด
- การทดสอบแรงกระแทก
หัวข้อการบรรยาย (ต่อ)
ความล้า (Fatigue)
การคืบ (Creep)
ความเสียหายของวัสดุ
บทนำ
เมื่อวัสดุถูกใช้งาน จะอยู่ภายใต้การกระทำของแรง เช่น
ปี กของเครื่องบินทีทำ
่ จาก aluminum alloy หรือเหล็กที่
ใช้ทำตัวถังรถยนต์ เป็ นต้น
ในการออกแบบ วิศวกรจึงต้องรู้คุณสมบัติของวัสดุนน ั้ ๆ
เพื่อจะได้ออกแบบอุปกรณ์ไม่ให้เกิดความเสียหายขณะใช้
งาน
คุณสมบัติทางกล (Mechanical properties) เป็ นความ
สัมพันธ์ระหว่างการเปลี่ยนแปลงรูปร่าง (Deformation)
และแรงภายนอกที่กระทำ (applied load or force)
บทนำ
คุณสมบัติทางกลที่สำคัญสำหรับใช้ในการออกแบบ
ได้แก่ Stiffness

Toughness Pentagon of Strength


Mechanical
Design
Properties
Duc e s s
tilit r dn
y H a
นิยามคำศัพท์
Stiffness : resistance to elastic deformation
Strength : relationship b/w internal forces,
deformation, and external loads
Hardness : resistance to plastic deformation
Ductility : a measure of the degree of plastic
deformation that has been sustained at fracture
Toughness : resistance to fracture when a crack is
present or the ability of a material to absorb
energy and plastically deform before fracturing
ความเค้นและความเครียด (Stress & Strain)
ความเค้น (Stress) คือ แรงต้านทานภายในเนื้อ
วัสดุที่พยายามต้านทานแรงภายนอกที่มากระทำ
เพื่อไม่ให้เกิดการเปลี่ยนรูปไปจากเดิม
ความเค้นมี 3 แบบ

- ความเค้นดึง (Tensile stress)


- ความเค้นอัด (Compressive stress)
- ความเค้นเฉือน (Shear stress)
ความเค้น (Stress)
Mater. Sci. Eng., W.D. Callister

ความเค้นดึง ความเค้นอัด ความเค้นเฉือน


Tensile StressCompressive Stress Shear Stress
ความเค้น (Stress)

 ความเค้
  นดึงและอัด หาได้จากแรงที่กระทำต่อหน่วยพื้นที่ที่ตงั ้ ฉากกับ
แนวแรง

ความเค้นเฉือน หาได้จากแรงที่กระทำต่อหน่วยพื้นที่ที่ขนานกับแนวแรง

𝜎 คือ ความเค้นดึง/อัด (N/m2, kgf/mm2, lb/in2) F คือ แรงที่กระทำ


(N, kgf, lb)
𝜏 คือ ความเค้นเฉือน (N/m2, kgf/mm2, lb/in2) A0 คือ พื้นที่หน้าตัด
(m2, mm2, in2)
ความเครียด (Strain)
ความเครียด คือ การเปลี่ยนแปลงรูปร่าง (deformation) ของวัสดุ
เมื่อมีแรงมากระทำ
แบ่งได้เป็ น 2 ประเภท คือ

1. ความเครียดยืดหยุ่น (Elastic strain) เป็ นการเปลี่ยนรูปใน


ลักษณะที่เมื่อได้รับแรงวัสดุจะยืดออก และเมื่อเอาแรงออกวัสดุจะคื นสู่
สภาพเดิม
2. ความเครียดถาวร (Plastic strain) เป็ นการเปลี่ยนรูปที่วัสดุไม่
คืนสู่สภาพเดิม ถึงแม้ว่าจะเอาแรงออกแล้วก็ตาม
นอกจากนี ้ ยังแบ่งได้เป็ น ความเครียดตัง
้ ฉาก (Normal strain) และ
ความเครียดเฉือน (Shear strain)
ความเครียดตัง้ ฉาก (Normal strain)
ความเครียดตัง
้ ฉาก (Normal strain; 𝜀) : ส่วนที่
เปลี่ยนแปลงของวัสดุ (ยืดออกหรือหดเข้า) เมื่อวัสดุอยู่
ภายใต้แรงตามแนวแกนและตัง้ ฉากกับพื้นที่ของวัสดุ
ต่อความยาวเดิม
ถ้าเป็ นแรงดึง (วัสดุยืดออก) : 𝛿 = Lf – L0 ; Lf =
ความยาวสุดท้าย
ถ้าเป็ นแรงกด (วัสดุ
 
ห ดเข้
𝑳𝒇 −า𝑳)𝟎 : -𝜹𝛿 = Lf – L0 ; L0 =
𝜺= =
ความยาวเริ่มต้น 𝑳𝟎 𝑳𝟎
ความเครียดตัง้ ฉาก (Normal strain)

Tensile strain Compressive strain

angelfire.com
ความเครียดเฉือน (Shear strain)
ความเครียดเฉือน (Shear strain; 𝛾) : เกิดเมื่อวัสดุเกิด
การเฉือน การเปลี่ยนรูปร่างบิดเบีย
้ วเป็ นรูปสี่เหลี่ยมขนม
𝜹
เปี ยกปูน
 
𝛄=
𝑳𝟎
tan 𝛾 = 𝛿/L0 ; ถ้า 𝛾 0 จะได้ tan 𝛾 ≅ 𝛾 ดังนัน ้

angelfire.com
การทดสอบวัสดุ (Applications to Materials Testing)

Testing

ension/Compression
Hardness Torsion Impact
- Stiffness - Hardness - Strength - Toughness
- Strength - Ductility
- Ductility (in shear)
- Toughness
การทดสอบแรงดึง (Tension Test)
เป็ นการหาค่า strength ของวัสดุในรูปของความสัมพันธ์
ระหว่าง stress-strain
นอกจากนีย ้ ังสามารถรู้คุณสมบัติด้าน ductility อีกด้วย คือ รู้ว่า
วัสดุนน
ั ้ เป็ นวัสดุเหนียว (ductile) หรือเปราะ (brittle)
ค่า Toughness หาได้จาก stress-strain curve
วิธีการทดสอบ : ดึงวัสดุด้วยแรงที่เพิ่มขึน ้ ช้า ๆ อย่างคงที่
(static load) จนวัสดุขาดออกจากกัน โดยปกติการทดสอบนี ้
จะกระทำที่อุณหภูมิห้อง
ผลการทดสอบที่ได้ : จะอยู่ในรูปของกราฟ stress-strain
การทดสอบแรงดึง (Tension Test)

Mater. Sci. Eng., W.D. Callister


การทดสอบแรงดึง (Tension Test)
มาตรฐานที่ใช้อ้างอิงตาม
The American Society for
Testing and Materials (ASTM)
https://www.youtube.com/watch?v=ipDZska5VN4

Mater. Sci. Eng., W.D. Callister

imrtest.com
การทดสอบแรงดึง (Tension Test)
ลักษณะของ stress-strain curve

http://pubs.sciepub.com
ความหมายของ Stress-Strain Curve
ค่า stress สูงสุ ดที่วสั ดุสามารถทนทานได้

จุดที่วสั ดุเกิดการแตกหัก
จุดที่วสั ดุเปลี่ยนจาก elastic
เป็ น plastic deformation วัสดุเปลี่ยนรู ปอย่างถาวรแม้จะเอาแรงออก

กราฟเป็ นเส้นตรง ค่าคงที่ของสัดส่ วนระหว่าง stress-strain


วัสดุยดื ออกเมื่อรับแรง
และหดกลับเมื่อเอาแรงออก
Hooke’s Law (วัสดุอยู่ภายใต้การดึงหรือกด)
• ค.ศ.
  
1670 : Robert Hooke ค้นพบความสัมพันธ์ระหว่าง
Stress- Strain
• ในช่วง proportional limit (Elastic) กราฟ Stress-
Strain จะเป็ นเส้นตรง ซึ่งความเค้นแปรผันตรงกับ
ความเครียด
σ ∝𝜀

• ค.ศ. 1807 : Thomas Young นำเสนอว่าสัดส่วนระหว่าง


ความเค้นกับความเครียดเป็ นค่าคงที่เสมอ
หรือ
• E คือ modulus of elasticity หรือ Young’s modulus
Hooke’s Law
จากสมการเส้นตรง ; y = mx + C โดย m คือ
slope ของกราฟ
หน่วยเหมือนความเค้น
เช่น N/m2 หรือ Pa
แต่ค่าที่ได้มีค่าสูง (109
σ จึงใช้ GPa แทน
𝜀
 
= slope

cdn.instructables.com
Hooke’s Law (วัสดุอยู่ภายใต้การเฉือน)
ถ้าวัสดุอยู่ภายใต้การเฉือน จะได้
  𝜏
G=
𝛾

G คือ Modulus of Elasticity in shear หรือ


modulus of rigidity
ทัง
้ ค่า Young’s modulus (E) และ Modulus
of Rigidity (G) เป็ นค่าคงที่เฉพาะของแต่ละวัสดุ
วิธี 0.2 % Offset
• ใช้ในการออกแบบวัสดุ เมื่อวัสดุไม่มี yield point
ชัดเจน
• ลากเส้นขนานกับกราฟช่วง elastic deformation จาก
ตำแหน่ง 0.2 % ของ Strain
• ตัดกับกราฟตรงไหน ตรงนัน ้ ถือเป็ น yield point
• อาจทำได้ยากกับวัสดุเปราะหรือวัสดุที่มีเส้นกราฟ
stress-strain curve ชันมาก ๆ

engineeringarchives.com
วัสดุเหนียวและวัสดุเปราะ (Ductile VS Brittle)

Brittle

4.bp.blogspot.com

Ductile

etomica.org
southampton.ac.uk
ตัวอย่างวัสดุเหนียวและวัสดุเปราะ (Ductile VS Brittle)

วัสดุเหนียว เช่น aluminum, s


brass, plastic
วัสดุเปราะ เช่น gray cast iron
concrete, ceramic

d2vlcm61l7u1fs.cloudfront.net
Engineering stress-strain VS True-stress – true-strain curve

Engineering stress-strain Original dimensions


do not change
True stress – true strain Original dimensions
continuously change
Use in metalworking
processes
such as wire drawing

i2.wp.com upload.wikimedia.org
คุณสมบัติการยืดหยุ่นของวัสดุ (Elastic
properties of Materials)
นอกจากจะพิจารณาคุณสมบัติการยืดหยุ่นของวัสดุ
จาก Stress-strain curve แล้ว ยังพิจารณาได้จาก
เปอร์เซ็นต์การยืด (percent elongation) และ
เปอร์เซ็นต์การลดลงของพื้นที่ภาคตัด (Percent
reduction of area)
เปอร์เซ็นต์การยืด (Percent Elongation)
• ใช้ในการพิจารณาว่าวัสดุเป็ นประเภทเหนียวหรือ
เปราะ
• เปอร์เซ็นต์การยืดสูง วัสดุเหนียว
• เปอร์เซ็นต์การยืดต่ำ วัสดุเปราะ
  𝑳 −𝑳𝒇 𝟎
%  𝑬𝒍𝒐𝒏𝒈𝒂𝒕𝒊𝒐𝒏= × 𝟏𝟎𝟎 %
𝑳𝟎

L0 : ความยาวเกจของชิน้ งานก่อนการทดสอบ
Lf : ความยาวเกจของชิน
้ งาน ณ จุดแตกหัก
เปอร์เซ็นต์การลดลงของพื้นที่ภาคตัด (Percent Reduction of Area)

• ใช้ในการพิจารณาว่าวัสดุเป็ นประเภทเหนียวหรือ
เปราะ
• เปอร์เซ็นต์การลดลงสูง วัสดุเหนียว
• เปอร์เซ็นต์การลดลงต่ำ วั สดุ เปราะ
  𝑨 −𝑨 𝟎 𝒇
%  𝑹𝒆𝒅𝒖𝒄𝒕𝒊𝒐𝒏= ×𝟏𝟎𝟎 %
𝑨𝟎

A0 : พ.ท.หน้าตัดของชิน้ งานก่อนการทดสอบ
Af : พ.ท.หน้าตัดของชิน
้ งาน ณ จุดแตกหัก
อัตราส่วนปั วซอง (Poisson’s Ratio)
นิยาม : อัตราส่วนระหว่างความเครียดทางด้านข้าง
(Lateral strain or Transverse strain) ต่อความเครียด
ตามแนวแกน (Axial strain or Longitudinal strain)
i.ytimg.com

engineersgallery.com upload.wikimedia.org
Mechanical Metallurgy, George E. Dieter
Toughness
Toughness (or Fracture toughness) is a property that is
indicative of a material’s resistance to fracture when a
crack is present.
Toughness (in another way) is the ability of a material to
absorb energy and plastically deform before fracturing.
การหาค่า Toughness สามารถหาได้ใน 2 เงื่อนไข คือ

1. Dynamic load (high strain rate) : หาได้จาก Impact test


(จะกล่าวในหัวข้อต่อ ๆ ไป)
2. Static load (low strain rate) : หาได้จากพื้นที่ใต้กราฟของ
stress-strain curve ตัง้ แต่จุดเริ่มต้นจนถึงจุด fracture มีหน่วยเป็ น
J/m3 ซึ่งเทียบเท่ากับ Pa (SI) หรือ in-lbf/in3 เทียบเท่ากับ psi (US)
Toughness

Mater. Sci. Eng., W.D. Callister


การทดสอบแรงกด (Compression Test)
เป็ นการทดสอบที่คล้ายกับ Tensile Test แต่แรงที่
กระทำต่อวัสดุเป็ นแรงกด แทนที่จะเป็ นแรงดึง
การทดสอบนีใ้ ช้กับวัสดุที่ต้องรับแรงกดในขณะใช้งาน
แต่ Tensile test จะเป็ นวิธีที่นิยมมากกว่า
วัสดุที่จะทดสอบด้วย Compression test ส่วนมาก
จะเป็ นวัสดุที่มีค่า strain มาก เช่น พลาสติก หรือเมื่อ
เป็ นวัสดุเปราะ เช่น คอนกรีต
การทดสอบความแข็ง (Hardness Test)
Hardness is a resistance to deformation, and for
metals the property is a measure of their
resistance to permanent or plastic deformation.
การทดสอบความแข็ง โดยทั่วไปมี 3 แบบ ได้แก่

1. Scratch hardness ส่วนมากนักธรณีวิทยาจะใช้วิธีนี ้


2. Indentation hardness เป็ นทีน
่ ิยมใช้ทดสอบในงาน
ด้านวิศวกรรม
3. Rebound or dynamic hardness ส่วนมากใช้
ทดสอบ soft polymer thermoplastic และคอนกรีต
Indentation Hardness Test
หลักการของวิธีนค
ี ้ ือใช้หัวกด(indenter) ซึ่ง
ทำจากวัสดุที่เป็ นมาตรฐานของวิธีนน
ั ้ ๆ กดลง
บนพื้นผิวของวัสดุตัวอย่าง (member,
sample or specimen) ให้เกิดรอย แล้ววัด
ขนาดของรอยกด แปลงออกมาเป็ นค่าความ
Indentation Hardness
แข็ง (hardness number)
Brinell Vickers Vickers Knoop Rockwell
Microhardness
Microhardness
Indentation Hardness Test

Level sample on the


Red arrow shows an indenter equipment

microhardness tester w/t optical microscope


Brinell Hardness Test
เป็ นวิธีแรกที่ได้รับการยอมรับโดยกว้างขวาง และยอมรับเป็ น
มาตรฐาน
J.A. Brinell เป็ นผู้คิดค้นวิธีนข
ี ้ ึน
้ ในปี ค.ศ. 1900
Indenter ทำจากเหล็กกล้า (steel) ทรงกลมขนาด 10 mm
แรงกด (load) 3,000 kg (ถ้า sample เป็ นวัสดุนิ่ม จะลดแรงกด
เหลือ 500 kg)
ถ้า sample เป็ นโลหะที่แข็งมาก จะใช้ tungsten carbide ทรง
กลมแทน
เวลาที่ใช้กดคือ 30 วินาที
การหาค่าความแข็ง หาจากค่าเฉลี่ยของเส้นผ่านศูนย์กลางของรอย
กด 2 เส้นที่ตงั ้ ฉากกัน
Brinell Hardness Test
 Brinell

hardness number (BHN) หาได้จาก

P = applied load (kg)


D = diameter of ball (mm)
d = diameter of indentation (mm)
t = depth of the impression (mm)
Vickers Hardness Test
Indenter ทำจากเพชรรูปพีระมิดฐานสี่เหลี่ยมจัตุรัส
มุมของด้านตรงข้ามกันของพีระมิดต้องรวมกันได้ 136°
บางครัง ้ เรียกชื่อตาม indenter คือ Diamond-pyramid hardness
test
แรงกด (load) 1 – 120 kg ขึน ้ อยู่กับความแข็งของ sample
เวลาที่ใช้กดคือ 10 - 30 วินาที
การหาค่าความแข็ง หาจากค่าเฉลี่ยของเส้นทแยงมุมของฐานพีระมิดของ
รอยกด 2 เส้น
วิธีนค
ี ้ ่อนข้างนิยมใช้ในงานวิจัย เนื่องจาก Vickers hardness number
(VHN or VPH) มีค่าตัง้ แต่ 5 – 1500 ซึ่งครอบคลุมทัง้ วัสดุที่นิ่มมาก
จนถึงแข็งมาก
Vickers Hardness Test
 Vickers

hardness number (VHN or VPH)
หรือ Diamond-pyramid hardness number
(DPH) หาได้จาก

P = applied load (kg)


L = average length of diagonals (mm)
𝜃 = angle between opposite faces of
diamond = 136°
Vickers Microhardness Test
มีลักษณะเช่นเดียวกับVickers hardness test
แต่ขนาดของแรงที่ใช้กด (applied load) มีขนาด
ตัง้ แต่ 1 – 1000 g
การวัดขนาดรอยกดต้องอาศัย microscope เข้า
มาช่วย
การเตรียมผิวหน้าของวัสดุต้องมีความละเอียด เพื่อ
ความถูกต้องของผลการทดลอง เช่น ผิวต้องเรียบ
ระดับ 1 micron และต้องไม่มีคราบรอยนิว้ มือ
Knoop Microhardness Test
มีลักษณะคล้ายคลึงกับVickers microhardness test
Indenter ทำจากเพชรรูปพีระมิด แต่ฐานเป็ นรูปสี่เหลี่ยม
ขนมเปี ยกปูน
ขนาดของแรงที่ใช้กด (applied load) มีขนาดตัง ้ แต่ 1 –
1000 g
การวัดขนาดรอยกดต้องอาศัย microscope เข้ามาช่วย
การเตรียมผิวหน้าของวัสดุต้องมีความละเอียด เพื่อความ
ถูกต้องของผลการทดลอง เช่น ผิวต้องเรียบระดับ 1
micron และต้องไม่มีคราบรอยนิว ้ มือ
Rockwell Hardness Test
เป็ นวิธีที่นิยมใช้มากที่สุดในการวัดค่า Hardness เพราะทำได้ง่าย ไม่ต้อง
อาศัยความชำนาญเป็ นพิเศษ
Indenter มี 2 แบบ ได้แก่ เหล็กกล้าทรงกลม และเพชรทรงกรวยมุม
120° (เรียกว่า Brale indenter)
การหา hardness number พิจารณาจากความลึกของรอยกด โดยการ
กดจะเริ่มกดด้วย minor load ก่อน แล้วตามด้วย major load
Rockwell test ยังแบ่งได้เป็ น 2 แบบ คือ

- Rockwell : minor load คือ 10 kg , major load คือ 60, 100,


150 kg
- Rockwell superficial : minor load คือ 3 kg , major load คือ
15, 30, 45 kg
Rockwell Hardness Test
เหล็กกล้าชุบแข็ง(hardened steel) ใช้ Rockwell C
(RC 20 to RC 70)
วัสดุที่แข็งน้อยกว่า ใช้ Rockwell B (RB 0 to RB 100)

Mater. Sci. Eng., W.D. Callister


Mater. Sci. Eng., W.D. Callister
การทดสอบแรงบิด (Torsion Test)
Torsion test ไม่ค่อยเป็ นทีน
่ ิยมใช้เท่ากับ tension test
Torsion test ใช้หาค่า Modulus of elasticity in
shear (Modulus of rigidity), torsional yield
strength, modulus of rupture
Torsion test มักจะใช้ในการทดสอบเพลา ดอกสว่าน ซึ่ง
ต้องรับแรงบิดขณะใช้งาน
Torsion test ยังไม่มีการนำค่ามากำหนดเป็ นมาตรฐาน
ของวัสดุ
การทดสอบแรงบิด (Torsion Test)

Torque– twist diagram


Mechanical Metallurgy, George E. Dieter
การทดสอบแรงกระแทก (Impact Test)
ประวัติความเป็ นมา
ในช่วง WWII ความเสียหายแบบเปราะ (Brittle failure) ที่เกิด
ขึน้ กับเรือ Liberty และ T-2 tanker ได้รับความสนใจอย่างมาก
เรือบางลำหักเป็ น 2 ส่วน บางลำเสียหายเล็กน้อย
ความเสียหายนีเ้ กิดทัง ้ กับเรือที่ออกปฏิบัติภารกิจในสภาวะอากาศ
เลวร้าย และเรือที่จอดเทียบท่า และมักเกิดในช่วงฤดูหนาว
สิ่งที่น่าสนใจคือ เรือทำมาจาก mild steel ซึ่งจะเสียหายแบบ
Ductile แต่กลับเสียหายแบบ Brittle
การทดสอบแรงกระแทก (Impact Test)

Oil tanker Mater. Sci. Eng., W.D. Callister


การทดสอบแรงกระแทก (Impact Test)
ปั จจัยที่ทำให้เกิดความเสียหายแบบเปราะ (Brittle-cleavage
type of fracture) 3 ปั จจัย
1. Triaxial state of stress
2. Low temperature
3. High strain rate หรือ Rapid rate of loading
Brittle failure ไม่จำเป็ นต้องเกิดจากปั จจัยที่ 1 และ 2 พร้อมกัน
แต่มักจะเกี่ยวข้องกับปั จจัยที่ 3
Impact test หลาย ๆ แบบจึงเป็ นการหาความต้านทานต่อ Brittle
failure ของวัสดุ โดยมีปัจจัยที่ 3 เป็ นตัวหลัก (ใช้การกระแทก)
การทดสอบแรงกระแทก (Impact Test)
เนื่องจาก Tensile test เป็ นการทดสอบด้วย “low” loading rate
ซึ่งไม่สามารถนำข้อมูลที่ได้มาทำนายพฤติกรรมการแตกหักที่ “high”
loading rate ได้ จึงต้องอาศัย Impact test เข้ามาทดสอบ
มาตรฐานการทดสอบ Impact test ที่นิยมในปั จจุบันมี 2 แบบ ได้แก่

1. Charpy หรือ Charpy V-notch (CVN) นิยมใช้กันมากใน


อเมริกา
2. Izod นิยมใช้กันมากในอังกฤษ
ทัง ้ สองแบบใช้วัด impact energy (notch toughness)
Notch คือรอยบากบนวัสดุ ซึ่งเป็ นการจำลองมาจากรอยบากที่เกิด
ขึน
้ จริง ได้แก่ crack
วิธีการทดสอบ
ค้อนที่มีลักษณะเป็ นลูกตุ้มนาฬิกาจะ
ถูกปล่อยจากความสูง h ลงมา
กระแทกกับ sample ที่ถูกติดตัง้ อยู่
ตามรูป
เมื่อ sample แตกหัก ค้อนก็ยังคง
แกว่งต่อไปข้างหน้าจนถึงจุดสูงสุด hʹ
การดูดซับพลังงาน (energy
absorption) ของวัสดุคำนวณได้จาก
h – hʹ หรืออ่านได้จากสเกลได้
โดยตรง
Mater. Sci. Eng., W.D. Callister
การทดสอบแรงกระแทก (Impact Test)
Ductile – to – brittle transition (DBT) คือ ความสัมพันธ์
ระหว่างอุณหภูมิกับการดูดซับพลังงานของวัสดุ กล่าวคือ ที่
อุณหภูมิสูงวัสดุจะสามารถดูดซับพลังงานได้มากกว่าที่อุณหภูมิต่ำ
โดยที่อุณหภูมิสูงวัสดุจะเสียหายแบบ Ductile ในขณะที่อุณหภูมิ
ต่ำวัสดุจะเสียหายแบบ Brittle
ยิ่ง DBT temp ต่ำ ยิ่งดี เนื่องจากสามารถนำวัสดุนน
ั ้ ไปใช้ได้ใน
สภาวะอุณหภูมิต่ำ
อย่างไรก็ตาม DBT อาจดูจากกราฟไม่ได้เสมอไป ต้องดูจาก
ลักษณะการแตกหักของวัสดุด้วย เช่น ถ้าเป็ นการแตกแบบ
Brittle ลักษณะรอยแตกจะเรียบและเป็ นประกาย (shiny)
DBT temp

K.S. Raja’s PPT


การทดสอบแรงกระแทก (Impact Test)
ไม่ เกิด DBT สามารถคงคุณสมบัติ
การดูดซับพลังงานได้ ดี

เกิด DBT

ไม่ เกิด DBT แต่ มคี ุณสมบัติ


การดูดซับพลังงานได้ ต่ำ

Mater. Sci. Eng., W.D. Callister


ความล้า (Fatigue)
ความล้า คือ รูปแบบความเสียหายที่เกิดขึน
้ กับโครงสร้างที่รับแรง
ซ้ำ ๆ เป็ นระยะเวลานาน เช่น สะพาน เครื่องบิน และชิน ้ ส่วน
เครื่องจักร
Fatigue is a form of failure that occurs in structures
subjected to dynamic and fluctuating stresses
วัสดุเกิดความเสียหายได้ถึงแม้ว่าจะรับแรงที่ต่ำกว่า yield
strength
⛑ ในการออกแบบ วิศวกรจะใช้ค่า yield strength หรือ
ultimate tensile strength มาใช้ในการออกแบบ ประกอบกับ
ค่า safety factor
ความล้า (Fatigue)
Fatigue เป็ นปั ญหาสำคัญที่เกิดขึน ้ กับวัสดุ โดยเฉพาะโลหะ
(ประมาณ 90% ของความเสียหายทัง้ หมดที่เกิดขึน ้ กับโลหะ)
Fatigue failure เกิดขึน้ แบบทันทีทันใด โดยไม่มีสัญญาณเตือน
ล่วงหน้า
รูปแบบความเสียหายที่เกิดขึน ้ เป็ นแบบเปราะ (Brittle) ถึงแม้ว่า
จะเป็ นโลหะเหนียว
ความเสียหายจะเริ่มจากรอยแตกเล็ก ๆ ซึ่งอาจมองด้วยตาเปล่าไม่
เห็น (crack initiation) และรอยแตกนัน ้ จะลามไปเรื่อย ๆ (crack
propagation)
รอยแตกจะตัง ้ ฉากกับแรงที่กระทำ
ความล้า (Fatigue)
Cyclic stresses
Applied stress ที่เกิดขึน
้ อาจเป็ น axial (tension-
compression), flexural (bending), หรือ torsional
(twisting)
รูปแบบของ cyclic stress โดยทั่วไปมี 3 แบบ (3R)

1. Reversed stress cycle


2. Repeated stress cycle
3. Random stress cycle
Reversed stress cycle

Stress amplitude ระหว่าง 𝜎max และ 𝜎min


มีขนาดเท่ากัน (สมมาตรกัน)

Mean zero stress

Mater. Sci. Eng., W.D. Callister


Reversed stress cycle
ตัวอย่าง:การหมุนของเพลา ซึ่งถูกรองรับด้วยแบริ่ง
ทำให้เกิดการโก่ง (bending) ขณะหมุน
Repeated stress cycle
 
Mean stress

Stress amplitude ระหว่าง 𝜎max และ 𝜎min
มีขนาดไม่เท่ากัน (ไม่สมมาตรกัน)
Range of stress

Stress amplitude

Stress ratio

Mater. Sci. Eng., W.D. Callister


Repeated stress cycle
ตัวอย่าง: การทำงานของลูกสูบเครื่องยนต์
Random stress cycle

Mater. Sci. Eng., W.D. Callister


Random stress cycle
ตัวอย่าง:
ชิน
้ ส่วนของสะพานที่รองรับทัง้ น้ำหนัก
สะพาน และน้ำหนักรถที่วิ่งผ่าน
S-N Curve
การทดสอบความล้าของวัสดุ จะถูกจำลองในห้องทดลอง โดยให้ใกล้
เคียงกับการใช้งานจริง
𝜎max ในการทดลองมีค่าประมาณ 2/3 ของ static tensile strength
(𝜎y หรือ 𝜎UTS)
จำนวนรอบใช้งานที่วัสดุเกิดการเสียหายจะถูกบันทึก
หลังจากนัน
้ การทดลองจะถูกทำซ้ำ โดยลดค่า stress ลงเรื่อย ๆ
ค่าความสัมพันธ์ระหว่าง stress และจำนวนรอบที่วัสดุเกิดความเสีย
หายจะถูกพลอตใน S-N curve
ปกติค่า stress ที่พลอต จะเป็ น 𝜎a แต่บางครัง
้ อาจจะใช้ 𝜎max หรือ
𝜎min
การทดสอบ Fatigue

Mater. Sci. Eng., W.D. Callister


รูปแบบของ S-N Curve มี 2 แบบ
Mater. Sci. Eng., W.D. Callister

Endurance limit

ถ้าวัสดุรับโหลดน้อยกว่า Fatigue โลหะที่ไม่ใช่กลุ่มเหล็ก (nonferrous


limit จะสามารถใช้ alloys) เช่น Al, Cu, Mg
ได้ตลอดไปโดยไม่เกิด Fatigue ส่วนใหญ่จะไม่มี Fatigue limit จึงใช้
failure Fatigue strength
Ex: โลหะกลุ่มเหล็ก (iron base), โดยใช้ stress ที่เกิดความเสียหายที่
ความล้า (Fatigue)
Fatigue life (Nf) คือจำนวนวงรอบที่วัสดุเกิดความเสียหาย
ณ ค่า stress หนึ่ง ๆ
ผลการทดลองที่ได้จะมีการกระจายของข้อมูล (ที่ค่า stress
หนึ่ง วัสดุอาจจะไม่ได้เสียหาย ณ วงรอบนัน้ ๆ ทุกครัง้ ) ดังนัน

จึงต้องอาศัยผลทางสถิติ
จากพฤติกรรม Fatigue ของวัสดุ สามารถแบ่ง Fatigue life
ออกเป็ น 2 ลักษณะ
1. Low-cycle fatigue : Nf < 104 to 105
2. High-cycle fatigue : Nf > 104 to 105
การคืบ (Creep)
การคืบ คือ การเปลี่ยนรูปของวัสดุภายใต้ความเค้นที่อุณหภูมิสูง
Creep : Deformation of materials which placed in service at
elevated temperatures and exposed to static mechanical
stresses.
นิยามของ “อุณหภูมิสูง (elevated temperature)” ขึน ้ อยู่กับวัสดุ เช่น
โลหะ อุณหภูมิที่ทำให้เกิด creep deformation จะสูงกว่า 0.4Tm (Tm =
absolute melting temp.)
Creep test จะทดสอบวัสดุภายใต้โหลดหรือ stress ที่คงที่ และอุณหภูมิคงที่
โดยกราฟจะเป็ นความสัมพันธ์ระหว่าง deformation หรือ strain และเวลา
Creep test จะคล้ายกับ tensile test แต่จะมีการให้ความร้อนกับวัสดุด้วย
Creep curve กราฟแบ่ งออกเป็ น 3 ช่ วง

Steady-state creep rate


𝜖s = 𝛥𝜖/𝛥t = slope
creep rate เพิ่มอย่างรวดเร็ ว
ใช้ออกแบบอุปกรณ์ที่ตอ้ งใช้นาน จนเสี ยหาย (Rupture)
เช่น อุปกรณ์โรงไฟฟ้ านิวเคลียร์ ความเสี ยหายเกิดจาก
microstructure/metallurgical
(Transient)
changes
creep rate ลด creep rate = const.
หรื อ creep resistance เพิ่ม กินเวลานานที่สุด
หรื อเป็ นช่วง strain hardening
Time to rupture or rupture lifetime
ใช้พิจารณาในการออกแบบ short-
(Steady state) life creep situation เช่น turbine blade
เริ่มต้ นวัสดุจะเกิดการยืด
ผลของความเค้นและอุณหภูมิที่มีผลต่อ Creep

เมื่ออุณหภูมิหรือ stress เพิ่ม


- instantaneous strain เพิ่ม
- steady-state creep rate
- rupture lifetime ลด

ค่า strain ไม่ข้ ึนกับเวลา


ความเสียหายของวัสดุ (Failure of materials)
เมื่อวัสดุถูกนำมาใช้งาน ซึ่งต้องมีการรับแรง อาจเกิดความ
เสียหายขึน
้ แสดงออกมาในรูปของรอยแตก (Fracture)
การศึกษารอยแตก อาจนำไปสู่การวิเคราะห์ความเสียหาย
(Failure analysis) เพื่อหาสาเหตุและวิธีการแก้ไขต่อไป
Mode of fracture

Ductile Brittle
Substantial plastic deformation - Little or no plastic deformation
High energy absorption before fracture
- Low energy absorption before fra
รูปแบบการแตกหัก (Mode of fracture)

Ductile Brittle

Pure Ag, Pb @ RT Most ductile metals


การแตกหักแบบเหนียว (Ductile fracture)
โลหะเหนียว ขัน
้ การเกิด cup-and-cone fracture
(Ductile
metals) ส่วน
ใหญ่จะเกิด
Ductile fracture
ในรูปแบบ cup-
and-cone
การศึกษารูปแบบของรอยแตก (Fractographic studies)

Fractographic คือ การศึกษากลไกการเกิดการ


แตกหักในระดับ microscopic เช่น ใช้ SEM
(Scanning Electron Microscope)
รอยแตกแบบ cup-and-cone จะเป็ น spherical
dimple โดยแต่ละ dimple จะเป็ น 1/2 ของdimple
microvoid

Mater. Sci. Eng., W.D. Callister


การแตกหักแบบเปราะ (Brittle fracture)
วัสดุเกิดการเปลี่ยนรูปน้อยมาก จนถึงไม่เปลี่ยนรูปร่างก่อน
แตกหัก
รอยแตกลุกลามอย่างรวดเร็ว (rapid crack
propagation)
รอยแตกเกือบตัง ้ ฉากกัBrittle
บแนวแรงfracture pattern
หน้าตัดที่เกิดรอยแตกจะเรียบ
Macroscopic Microscopic

V-shaped “chevron” Radial fan-shaped ridges Transgranular Intergranular


acroscopic level
อยแตกมองเห็นได้
วยตาเปล่า V-shaped “chevron

Origin of crack

Radial fan-shaped
ridges
SEM micrograph

Microscopic level
SEM micrograph
Grain Path of crack propagation Grain boundaries Path of crack propagation

องใช้ Microscope
รอยแตก

Transgranular Intergranular
การศึกษารูปแบบของรอยแตก (Fractographic studies)

บางครัง
้ อาจเจอรูปแบบรอยแตกหลายแบบในวัสดุ
เดียวกัน

Transgranular crack

Fracture feature of EV31A in


as-received condition failed by
Ductile with dimples
stress corrosion cracking (SCC)
Questions ?
Assignment 3 (20 คะแนน)
1. คุณสมบัติทางกลที่สำคัญสำหรับใช้ในการออกแบบ
ประกอบไปด้วยอะไรบ้าง พร้อมทัง้ ให้นิยาม และแต่ละ
คุณสมบัติมีวิธีทดสอบอย่างไร อธิบายพอสังเขป (5 คะแนน)
2. ความล้า (Fatigue) เกิดจากอะไร และรูปแบบของแรงที่
กระทำมีกี่แบบ (5 คะแนน)
3. การคืบ (Creep) คืออะไร กราฟที่ได้จากการ Creep test
มีลักษณะอย่างไร จงวาดรูปประกอบคำอธิบาย (5 คะแนน)
4. รูปแบบการแตกหักของวัสดุเมื่อเกิดความเสียหาย มีอะไร
บ้าง แสดงเป็ นแผนภาพ (Tree diagram) (5 คะแนน)

You might also like