You are on page 1of 8

สัปดาห์ที่ หน้าที่

เนือ้ หาการสอน 6 1
รหัสและชื่อวิชา : 3100 0107 ความแข็งแรงของวัสดุ - -
แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิเคชียงใหม่
2.3 การต่ อโดยใช้ หมุดยา้ (Riveted jointed)
ภาชนะอัดความดันส่ วนมากจะประกอบขึ้นจากแผ่นโลหะดัดโค้งหลาย ๆ แผ่นมาต่อเข้าด้วยกัน การต่อ
มีหลายวิธี เช่น ใช้หมุดย้า สลักเกลียว หรื อการเชื่อม ซึ่ งอาจจะเป็ นการเชื่อมด้วยไฟฟ้ าหรื อแก๊ส การต่อโดยการใช้
หมุดย้าเป็ นวิธีที่นิยมกันอีกวิธีหนึ่ง
สัญลักษณ์ต่างๆที่ใช้สาหรับการต่อหมุดย้าที่ควรรู ้จกั คือ
d คือขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของหมุดย้า
t คือความหนาของแผ่นโลหะที่จะต่อ
p คือระยะพิตซ์ หมายถึงระยะห่างระห่างจุดศูนย์กลางของหมุดย้าที่ยาวที่สุด วัดขนานกับ รอย
ตะเข็บ
ชนิดของการต่ อโดยใช้ หมุดยา้
1. การต่อเกย (lap joint) คือการเอาแผ่นโลหะสองแผ่นมาต่อเกยกัน แล้วใช้หมุดย้าเป็ นตัวยึดแน่นดังรู ป
ที่ 2.5

2. การต่อชน (butt joint) คือการเอาแผ่นโลหะสองแผ่นมาต่อชนให้อยูใ่ นแนวเดี ยวกัน แล้วมีแผ่นมา


ประกบ จากนั้นใช้หมุดย้าเป็ นตัวยึดแน่นดังรู ปที่ 1.22
สัปดาห์ที่ หน้าที่
เนือ้ หาการสอน 6 2
รหัสและชื่อวิชา : 3100 0107 ความแข็งแรงของวัสดุ - -
แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิเคชียงใหม่
ชนิดของการแตกหักหรื อขาดของหมุดย้าและแผ่นต่อ
1. หมุดย้าถูกเฉื อนขาด
แรงต้านแรงเฉื อน = พื้นที่ที่ถกู เฉื อนความเค้นเฉื อนของหมุดย้า

FS = n d 2 r
4
เมื่อ n คือจานวนหมุดย้าที่ใช้
2. แผ่นต่อถูกหมุดย้าอัดแตก
แรงต้านการอัด = พื้นที่ที่ถกู อัดความเค้นอัด
FC = ndtc
3. แผ่นต่อตามแนวขนานกับตะเข็บ
แรงต้านการขาด = พื้นที่ที่ขาดความเค้นดึง
Ft = (p-d)tt
4. แผ่นต่อถูกเฉื อนหน้าหมุดย้า
แรงต้านทานการเฉื อนของแผ่นต่อ = พื้นที่ที่ถกู เฉื อนความเค้นเฉื อน
= 2at
เมื่อ a คือระยะที่ห่างจากขอบถึงจุดกึ่งกลางของหมุดย้าในทิศทางตามแรงที่กระทา
 คือความเค้นเฉื อนของแผ่นต่อ
5. แผ่นต่อฉี กบริ เวณหน้าหมุดย้า
6. แผ่นต่อแถวนอกขาดพร้อมกับหมุดแถวในถูกเฉื อนขาด
7. แผ่นต่อแถวนอกขาดพร้อมกับหมุดแถวในถูกอัดแตก

ประสิ ทธิ ภาพของรอยต่อ


Fs
1. ประสิ ทธิ ภาพการเฉื อน s =  100%
F
Fc
2. ประสิ ทธิ ภาพการอัด c =  100%
F
Ft
3. ประสิ ทธิ ภาพการดึง t =  100%
F
ประสิ ทธิ ภาพการต่อโดยใช้หมุดย้านั้น การต่อชนจะมีประสิ ทธิ ภาพมากกว่าการต่อเกยเสมอ
สัปดาห์ที่ หน้าที่
เนือ้ หาการสอน 6 3
รหัสและชื่อวิชา : 3100 0107 ความแข็งแรงของวัสดุ - -
แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิเคชียงใหม่
2.4 การเชื่อมต่ อ (Welded Joint)
เป็ นวิธีการต่อแผ่นโลหะให้ติดกันโดยใช้ความร้อนเผาโลหะและใช้ลวดเชื่อมหลอมแผ่นโลหะติดเข้า
ด้วยกัน ลักษณะการต่อมี 2 แบบ คือ
1. การเชื่อมแบบต่อชน (Butt Weld) เป็ นการต่อโดยเอาปลายกับปลาบของโลหะมาชนกันเพี่อใช้รับ
แรงดึงหรื อแรงอัด ดังรู ป

ความแข็งแรงของการเชื่อม F  t  L  w

เมื่อ t คือความหนาของแผ่นโลหะ
L คือความยาวของรอยเชื่อม
 w คือความเค้นใช้งานหรื อความเค้นออกแบบสาหรับแรงดึงของรอยเชื่อม
F คือแรงดึงหรื ออัดที่การเชื่อมจะรับได้
2. การเชื่อมแบบต่อทาบ (Fillet Weld) เป็ นการเชื่อมแผ่นโลหะที่ต้ งั ฉากกันหรื อซ้อนกัน เหล็กที่เป็ น
ตัวเชื่อมจะรับแรงดึง แรงอัด แรงเฉื อนได้ดว้ ย ดังรู ป
สัปดาห์ที่ หน้าที่
เนือ้ หาการสอน 6 4
รหัสและชื่อวิชา : 3100 0107 ความแข็งแรงของวัสดุ - -
แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิเคชียงใหม่
ความแข็งแรงของการเชื่อม F = t  L  w  2 = t sin 45  L   w  2
= 1.41421 t  L   w
เมื่อ
t คือความหนาของแผ่นต่อ
b คือความกว้างของรอยเชื่อม
L คือความยาวของแนวเชื่อม
t
t’ คือความหนาของ throat = t sin 450 =
2
 w คือความเค้นเฉื อนใช้งาน
F คือแรงเฉื อนที่กระทา
ตัวอย่างที่ 2.4
รอยต่อดังรู ปมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 24 มม. ความเค้นเฉื อนสู งสุ ดของหมุดย้า w = 60 N/mm.2
และความเค้นดึงสู งสุ ด w = 125 N/mm.2 จงหาแรง F และประสิ ทธิภาพ

วิธีทา

แรงต้านทานการเฉื อนของหมุดย้า Fs = n2 d 2 
4

= 32  24 260
4
= 162860.1632 N
แรงต้านทานการเฉื อนของหมุดย้า Ft = b2d  t   t
= (100 - 24 x 24) x 25 x 125 = 162500 N

 เลือกค่าน้อยที่สุดเพราะปลอดภัยที่สุด Ft = 162500 N Ans


ถ้าไม่มีหมุดย้าแผ่นโลหะจะทนได้
สัปดาห์ที่ หน้าที่
เนือ้ หาการสอน 6 5
รหัสและชื่อวิชา : 3100 0107 ความแข็งแรงของวัสดุ - -
แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิเคชียงใหม่
ถ้าไม่มีหมุดย้าแผ่นโลหะจะทนได้
F =  t bt

= 12510025 = 312500 N
ประสิ ทธิ ภาพของรอยต่อ = 162500
312500
100

= 52 % Ans

ตัวอย่ างที่ 2.5


การเชื่อมแบบต่อทาบใช้แผ่นโลหะหนา 12 มม. w = 90 N/mm.2 จงหาค่าของแรง F ว่ามีค่าเท่าใด

วิธีทา
จากสูตร F = 1.414tLw
เมื่อ t = 12 มม. L = 180 mm. w = 90 N/ mm2
แทนค่า F = 1.414  12  180  90
= 274922.42 N = 274.922 kN
แรง F มีค่า 274.922 kN Ans
สัปดาห์ที่ หน้าที่
เนือ้ หาการสอน 6 6
รหัสและชื่อวิชา : 3100 0107 ความแข็งแรงของวัสดุ - -
แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิเคชียงใหม่
ตัวอย่ างที่ 2.6
ใช้หมุดย้า 2 ตัว ต่อแผ่นเหล็กแบบต่อเกย ซึ่ งมีแผ่นเหล็กหนา 18 mm เส้นผ่านศูนย์กลางของหมุดย้า
เท่ากับ 25 mm มีระยะพิตซ์เท่ากับ 75 mm ถ้าความเค้นเฉื อนของหมุดย้าเท่ากับ 320 N/mm2 ความเค้นดึงของ
แผ่นเหล็กเท่ากับ 412 N/mm2 และความเค้นอัดเท่ากับ 590 N/mm2 จงหาประสิ ทธิ ภาพของรอยต่อ

วิธีทา

แรงเฉื อน Fs  n d 2 
4
เมื่อ n = 2 ตัว, d = 25 mm ,  = 320 N/mm2

 Fs  2  252  320
4
= 314159.2654 N
แรงต้านทานการขาดของแผ่นต่อ Ft   p  d  t  t
= (75 - 25) x 18 x 412 = 370800 N
แรงต้านทานการอัด Fc  ndt   c

= 2 x 25 x 18 x 590 = 531000 N
แรงต้านแผ่นเต็ม F  p  t  t

= 75 x 18 x 412 = 556200 N

ประสิ ทธิ ภาพการเฉื อน s 


Fs
100
F

314159.2654
100 = 56.483 %
556200

ประสิ ทธิ ภาพการดึง t 


Ft
100
F
100 = 66.666 %
370800

556200

ประสิ ทธิ ภาพการอัด c 


Fc
100
F
100 = 95.469 %
531000

556200

 ประสิ ทธิ ภาพของรอยต่อเท่ากับ 56.483 % Ans


สัปดาห์ที่ หน้าที่
เนือ้ หาการสอน 6 7
รหัสและชื่อวิชา : 3100 0107 ความแข็งแรงของวัสดุ - -
แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิเคชียงใหม่
ตัวอย่ างที่ 2.7
ใช้หมุดย้า 2 ตัว ต่อแผ่นโลหะแบบชนโดยใช้แผ่นประกบ 2 แผ่น มีความหนา 30 mm ขนาดหมุด
ย้า 30 mm เป็ นแรงเฉื อนคู่ ความเค้นเฉื อนของหมุดย้าเท่ากับ 318 N/mm2 ความเค้นดึงของแผ่นโลหะเท่ากับ 412
N/mm2 และความเค้นอัดของหมุดย้ากับแผ่นโลหะเท่ากับ 695 N/mm2 จงหาระยะพิตซ์เพื่อให้รอยต่อมี
ประสิ ทธิ ภาพสูงสุ ด
วิธีทา

แรงต้านการเฉื อน Fs  n  2  d 2 
4

 2 2 302  318 = 899123.8174 N ……….……(1)
4
แรงต้านการขาดของแผ่นต่อ Ft   p  d  t  t
  p  30  30  412 = 12360 p - 370800 N ………..(2)

ให้เกิดการขาดพร้อม ๆ กัน Fs = Ft
12360 p  370800  899123.8174
899123.8174  370800
p 
12360
= 102.744 mm
 ระยะพิตซ์เท่ากับ 102.744 mm Ans
ตัวอย่ างที่ 2.8
ใช้หมุดย้า 3 ตัว ต่อแบบเกยกับแผ่นโลหะหนา 27 mm มีระยะพิตซ์ 90 mm ถ้าความเค้นเฉื อนของ
หมุดย้าเท่ากับ 375 N/mm2 ความเค้นดึงของแผ่นโลหะเท่ากับ N/mm2 จงหาขนาดของหมุดย้านี้
วิธีทา

แรงต้านการเฉื อนของหมุดย้า Fs  n  d 2 
4

 2 d 2  375 = 883.573 d 2
N …………(1)
4
แรงต้านการขาดของแผ่นต่อ Ft   p  d  t  t
 90  d   27  420 = 1020600 - 11340 d N …..(2)

ให้เกิดการขาดพร้อม ๆ กัน Fs = Ft
883.573 d = 1020600 - 11340 d
2
สัปดาห์ที่ หน้าที่
เนือ้ หาการสอน 6 8
รหัสและชื่อวิชา : 3100 0107 ความแข็งแรงของวัสดุ - -
แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิเคชียงใหม่
d 2  12.834d  1155.082  0
b  b 2  4ac
d 
2a
12.834  12.834   4 1  1155.082 
2


2 1
12.834  69.174

2 1
= 28.17 , -41.004 mm
 ขนาดของหมุดย้า d เท่ากับ 28.17 mm Ans

ตัวอย่ างที่ 2.9


ใช้การเชื่อมแบบต่อทาบต่อแผ่นโลหะสองแผ่นหนา 12 mm เช่นในรู ป อยูภ่ ายใต้แรงดึง 52 kN จงหา
ความยาวของแนวเชื่อม ถ้าความเค้นใช้งานเท่ากับ 85 N/mm2

วิธีทา
จากสูตร F  1.41421 t  L  w

เมื่อ F = 52 x 1000 N, t = 12 mm,  = 85 N/mm2 w

แทนค่า
52 x 1000 = 1.41421 x 12 x L x 85
52 1000
L 
1.4142112  85
= 36.048 mm

 ความยาวของรอยเชื่อมจะต้องเท่ากับ 36.048 mm Ans

You might also like