You are on page 1of 18

จริยธรรมทางธุรกิจ

BUSINESS
ETHICS
บทที่ 9 หนังสอ ้ ระกอบการและธุรกิจเบื้องตน
ื การเป็ นผูป ้
ภาควิชาการจัดการและการเป็ นผูป ้ ระกอบการ
หน้า 245-264
จริยธรรม คุณธรรม และจรรยาบรรณ
 จริยธรรม (Ethics) มีความหมายใน 2 ประเด็น คือ
 หลักเกณฑ์หรือกฎทีส ่ งั คมตัดสน ิ ว่า การกระทำใดเป็ นสงิ่
ทีถ
่ ก
ู ต ้องดีงามควรปฏิบต ั ิ และการกระทำใดเป็ นสงิ่ ทีไ่ ม่
ควรปฏิบต ั ท
ิ งั ้ ต่อตนเองและต่อผู ้อืน ่
 การกระทำหรือพฤติกรรมทีถ ่ ก
ู ต ้อง
 คุณธรรม (Moral) หมายถึง สภาพคุณงามความดี
เป็ นความเชอ ื่ ของบุคคลสว่ นใหญ่ซงึ่ ยอมรับว่าเป็ นสงิ่
่ งี าม และสง่ เสริมให ้สมาชก
ทีด ิ ในสงั คมกระทำความดี
และสร ้างคุณประโยชน์แก่สงั คม
จริยธรรม คุณธรรม และจรรยาบรรณ
 จรรยาบรรณ (Code of Ethics) หมายถึง
กฎและมาตรฐานทีป ่ ระกาศไว ้อย่างเป็ น
ทางการ เพือ ่ บรรยายสงิ่ ทีอ
่ งค์การคาดหวัง
จากบุคลากร หรือเป็ นแนวทางสำหรับสมาชก ิ
ให ้ปฏิบต ั ต ่ รักษาและสง่ เสริมเกียรติคณ
ิ าม เพือ ุ
ชอื่ เสย
ี ง และฐานะขององค์การและสมาชก ิ
โดยอาจเขียนเป็ นลายลักษณ์อก ั ษรหรือไม่
ก็ได ้
 ตัวอย่ างเช่ น จรรยาบรรณวิชาชีพทางบัญชี จรรยาบรรณวิชาชีพ
วิศวกร จรรยาบรรณวิชาชีพแพทย์ จรรยาบรรณสำหรับนักการเงิน
เป็ นต้ น
จริยธรรม และ กฎหมาย
 ข้ อแตกต่ างระหว่ างจริยธรรมกับกฎหมาย
จริยธรรม กฎหมาย
ควบคุมพฤติกรรมระดับสู ง ควบคุมพฤติกรรมระดับต่ำ
ลงโทษโดยสั งคม บทลงโทษทีช่ ัดเจน
ควบคุมพฤติกรรมจากภายใน ควบคุมพฤติกรรมจากภายนอก
ไม่ มลี ายลักษณ์ อกั ษร เป็ นลายลักษณ์ อกั ษร
เป็ นเรื่องของจิตสำนึก เป็ นบทบัญญัตทิ ีต่ ้ องทำหรือต้ อง
ละเว้ น
แหล่งจริยธรรม Idol!

การเลียนแบบ

การสร้ างจริยธรรม การบำเพ็ญประโยชน์ และ


ในตนเอง พันธสั ญญาประชาคม
l
c ia
So orm
N
การเรียน การปฏิบัตติ าม
รู้ ระบบสั งคม สากลธรรม
แนวคิดจริยธรรมธุรกิจ
 The Categorical Imperative
 ถือหลักทีว่ า่ การกระทำใดก็ตามหากไม่สามารถใชได ้ ้กับทุกคนแล ้วถือว่าเป็ นการกระทำทีไ่ ม่ถก ู ต ้องตามหลัก
จริยธรรม หรือทีน ิ มเรียกกันว่า Double Standard แสดงว่ามีการลำเอียงในทางการปฏิบต
่ ย ั ใิ นเรือ
่ งเดียวกันต่อ
บุคคลหรือกลุม ่ บุคคลใดบุคคลหนึง่

 The Disclosure Rule


 ถือหลักทีว่ า่ การกระทำใดก็ตามหากไม่สามารถบอกกล่าวต่อสาธารณชนได ้ ถอ ื ว่าเป็ นการกระทำทีไ่ ม่ถก
ู ต ้องตาม
จริยธรรม เพราะแสดงว่าการกระทำนัน ้ เป็ นสงิ่ ทีน ี ธรรมหรือจริยธรรมอันดี หรือขัดต่อ
่ ่าอาย หรืออาจขัดต่อศล
ทัศนคติ เจนคติ ค่านิยม หรือคุณค่าอันดีทส ี่ งั คมหรือสาธารณชนยึดถือ

 The Practical Imperative


ิ ใจใด ๆ ให ้คำนึงถึงความนึกคิดของคนอืน
 ถือหลักทีว่ า่ การตัดสน ่ ด ้วย คือ การเอาใจเขามาใสใ่ จเรานั่นเอง

 The Golden Rule


 ถือหลักทีว่ า่ หากการกระทำนัน ้ คุณไม่อยากจะถูกกระทำ ถือว่าเป็ นการกระทำทีไ่ ม่ถกู ต ้อง ซงึ่ หลักการนี้
สอดคล ้องกับคำสอนในศาสนาคริสต์ทวี่ า่ หากคุณไม่ต ้องการได ้รับผลจากการกระทำใดก็ตาม ก็จงอย่ากระทำสงิ่
นัน
้ ต่อผู ้อืน ่ หากคุณไม่ต ้องการถูกนินทาว่าร ้าย ก็จงอย่านินทาว่าร ้ายผู ้อืน
่ เชน ่
แนวคิดจริยธรรมธุรกิจ
 The Principle of Equal Freedom
 ถือหลักทีว่ า่ ทุกคนมีสทิ ธิทจ ิ ใจทำอะไรก็ได ้ ตราบเท่าทีก
ี่ ะตัดสน ่ ารกระทำนัน ้ ไม่ขดั ต่ออิสระและเสรีภาพของผู ้
อืน
่ กล่าวคือการตัดสน ิ ใจหรือการกระทำใด หากไม่เป็ นผลเสย ี ต่อผู ้อืน
่ ถือว่าเป็ นสงิ่ ทีถ
่ ก
ู ต ้องตามจริยธรรม

 The Theory of Justice


 ถือหลักทีว่ า่ ความยุตธิ รรมเป็ นการกำหนดว่าบุคคลจะต ้องทำอะไรบ ้างทีเ่ ป็ นสงิ่ ทีด่ ต ่ สงั คม ทำให ้สงั คมอยูก
ี อ ่ น

อย่างมีความสุข ได ้แก่ การปฏิบต ั ต
ิ อ
่ ผู ้อืน
่ ด ้วยความเป็ นธรรม ไม่เอนเอียงไปทางประโยชน์ของใครคนใดคนหนึง่

 The Professional Ethic


 ถือหลักการทีม
่ ล
ี ก
ั ษณะคล ้ายกับหลักของจรรยาบรรณทางวิชาชพ ี กล่าวคือ การกระทำทีถ
่ ก
ู ต ้องคือการกระทำที่
สามารถบอกกล่าวต่อทีป ่ ระชุมผู ้ทีอ ี เดียวกันได ้
่ ยูใ่ นวิชาช พ

 The Intuition Ethic


 ถือหลักทีว่ า่ จริยธรรมนัน
้ ขึน
้ อยูก
่ บ ึ หรือความเข ้าใจของคน ๆนัน
ั ความรู ้สก ้ ว่าเป็ นสงิ่ ทีถ
่ ก
ู ต ้องในสถานการณ์นัน
้ ๆ
แสดงว่าจริยธรรมสามารถเปลีย ่ นแปลงได ้ตามความเหมาะสมของสถานการณ์และตามความคิดของแต่ละบุคคล
แนวคิดจริยธรรมธุรกิจ
 The Ends-Means Ethic
้ เป็ นสงิ่ ทีด
 ถือหลักทีว่ า่ หากผลของการกระทำนัน ่ แ
ี ละถูกต ้องแล ้ว การกระทำนัน
้ ถือว่าถูกต ้อง

 The Organization Ethic


 ถือหลักทีว่ า่ การกระทำใดก็ตามทีเ่ ป็ นการทำเพือ ี ผลประโยชน์ของผู ้
่ องค์การ ไม่วา่ ผลลัพธ์จะเป็ นการเสย
อืน
่ หรือไม่ก็ตาม ถือว่าเป็ นการกระทำทีถ ่ ก
ู ต ้อง กล่าวคือ ถือหลักของผลประโยชน์ขององค์การเป็ นสำคัญ
โดยไม่คำนึงว่าจะมีผลเสย ี กับผู ้อืน
่ หรือไม่ อย่างไร

 The Utilitarian Ethic


 ถือหลักทีว่ า่ การกระทำใดทีทำ ่ ให ้เกิดความสุขถือว่าเป็ นการกระทำทีถ ่ ก
ู ต ้อง การกระทำใดทีก ่ อ
่ ให ้เกิด
ความทุกข์ถอ ื เป็ นการกระทำทีไ่ ม่ถก
ู ต ้อง การกระทำทีด
่ จ
ี งึ เป็ นการกระทำทีก ่ อ
่ ให ้เกิดความสุขมากทีส ่ ด
ุ ต่อ
คนจำนวนมาก

 The Right Ethic


ิ ธิของบุคคล กล่าวคือ บุคคลมีสท
 ถือหลักทางด ้านสท ิ ธิป้องกันตนจากการถูกกระทำการทีไ่ ม่เป็ นธรรมและ
การมีเสรีภาพในการกระทำการใด ๆ ก็ได ้ตามทีต่ นปรารถนา
แนวคิดจริยธรรมธุรกิจ
ิ ธิสว่ นบุคคลโดยองค์การสหประชาชาติ (United Nations
 สท
Universal Declaration of Human Rights)
ิ ธิในการเป็ นเจ ้าของและทีอ
 สท ่ ยูอ ั โดยลำพังหรือร่วมกับผู ้อืน
่ าศย ่
 สทิ ธิในการทำงาน ในการเลือกการจ ้างงาน ในการตัดสน ิ หรือเลือกสภาพ
แวดล ้อมในการทำงานทีต ่ นพอใจ และในการป้ องกันการเลิกจ ้างงาน
 สท ิ ธิในการตัดสน ิ หรือให ้เงินทดแทนต่อลูกจ ้างและครอบครัวลูกจ ้าง โดย
คำนึงถึงความเป็ นมนุษย์ผู ้ทีม ่ คี ณ
ุ ค่าของลูกจ ้าง
 สท ิ ธิในการร่วมหรือก่อตัง้ สหภาพ
 สท ิ ธิในการพักผ่อน โดยต ้องมีเวลาในการทำงานทีเ่ หมาะสมและได ้รับเวลาใน
การหยุดพักงานทีม ่ เี หตุผล โดยได ้รับค่าตอบแทน
แนวคิดจริยธรรมธุรกิจ
ิ ใจด ้านจริยธรรมธุรกิจสามารถแบ่งเป็ น 4
 การตัดสน
รูปแบบ Hero

 ปั จเจกนิยม ได ้แก่ ผู ้ทีเ่ ห็นแก่ประโยชน์ของตนเอง


 ผู ้เห็นแก่ประโยชน์สว่ นรวม ได ้แก่ ผู ้ทีส ่ ละความต ้องการสว่ นตัวจิตอาสา
เพือ ่ คนอืน่ รักษาเผ่าพันธุข ์ องมนุษย์ในอนาคต
 นักปฏิบต ั นิ ย
ิ ม ได ้แก่ ผู ้ทีห ่ ว่ งใยสถานการณ์ทเี่ กิดขึน
้ ใกล ้ตัวใน
ปั จจุบนั ไม่เพียงแต่เฉพาะตนเองหรือผู ้อืน ่ การตัดสนิ ใจจะเกิด
จากความต ้องการชว่ งระยะเวลาสน ั ้ และเป็ นลักษณะเฉพาะกาล
 นักอุดมคติ ได ้แก่ ผู ้ทีม
Ideal ่ ห
ี ลักการ กฎเกณฑ์ ระเบียบและคุณค่า
และเหตุผล ในการตัดสน ิ ใจและการกระทำ
ความหมายและความสำคัญของจริยธรรมธุรกิจ
 จริยธรรมธุรกิจ (Business Ethics) หมายถึง มาตรฐานการกระทำทีผ ่ ู้
บริหารควรปฏิบต ั ใิ นการจัดการธุรกิจ เป็ นมาตรฐานความตัง้ ใจของแต่ละ
ฝ่ ายทีเ่ กีย
่ วข ้องในการทำธุรกิจควรปฏิบต ั ต
ิ อ
่ กันอย่างมีเหตุผลและไว ้
วางใจซงึ่ กันและกัน อีกทัง้ ยังรวมถึงมาตรฐานการผลิตสน ิ ค ้าและบริการ
เพือ่ ผลตอบแทนตามคุณค่าของการลงทุนโดยเป็ นธรรมต่อทุกฝ่ าย
 ความสำคัญของจริยธรรมธุรกิจ
 ก่อให ้เกิดภาพลักษณ์ตอ ่ องค์การ (Create Good Image)
 ก่อให ้เกิดความน่าเชอ ื่ ถือ (Create the Credit)
 ่ เท (Create the Devotion)
ก่อให ้เกิดการทุม
 ก่อให ้เกิดการทำงานอย่างมีความสุข (Create Happy Work)
 ก่อให ้เกิดผลทางกฎหมาย (Create the Legitimacy Value)

ธุรกิจก ับความร ับผิดชอบต่อสงคม

เจา้ ของและผู้
บุคลากร สงิ่ แวดลอ
้ ม
ถือหุน

ชุมชน ลูกคา้
ิ ธิผู ้บริโภค (Consumer Rights)
สท
สิทธิท่ี จะได้รับความปลอดภัย (Right to สิทธิในการเลื อก (Right to Choose)
Safety) หมายถึงสท ้ ้ นฐานของผู้
ิ ธิขันพื หมายถึงสท ้ ริ โภคที่จะเลือกซ้ ือสน
ิ ธิของผูบ ิ คา้
บริ โภคที่ธุรกิจตอ
้ งจัดหาสน ิ คา้ และบริ การที่มี และบริ การที่มีจำหน่ายอยูใ่ นตลาดโดยที่ไมถ ่ ูก
ความปลอดภัย จำกัดทางการแขง่ ขันหรื อการกดดันจากธุรกิจ

Consumer Bill
of Rights
สิทธิท่ี จะได้รับรู้ (Right to be Informed)
สิทธิท่ี จะบอกกล่าว (Right to be Heard)
หมายถึงการที่ผูบ ิ ธิท่ีจะได้รับขอ
้ ริ โภคมีสท ้ มูล หมายถึงสท
ขา่ วสารดว้ ยความซ่ือสั ตยแ์ ละเป็ นจริ งเกี่ยวกับ ้ ริ โภคที่จะติดตอ่ ส่อ
ิ ธิของผูบ ื สารกับ
ธุรกิจได้
สน ิ คา้ และบริ การที่จำหน่ายในตลาดแบบเสรี
จริยธรรมตามหน ้าทีใ่ นองค์การธุรกิจ

จริยธรรมทางด้ านบัญชี (Accounting จริยธรรมทางด้ านการเงิน (Financial


Ethics) Ethics)

จริยธรรมทางด้ านการตลาด (Marketing จริยธรรมทางด้ านการจัดการการดำเนินงาน


Ethics) (Operation Management Ethics)

จริยธรรมทางด้ านการบริหารทรัพยากรมนุษย์
จริยธรรมทางด้ านเทคโนโลยีสารสนเทศ
(Human Resources Management
(Information Technology Ethics)
Ethics)
ประเด็นสำคัญด้านจริ ยธรรมในองค์การธุรกิจ

ิ บน (Bribery)
 การรับสน

 การใชเวลาทำงานไปทำเรื
อ ่ งสว่ นตัว (Misuse of Company Time)
่ งสว่ นตัว (Misuse of Company Resources)
้ พยากรขององค์การไปทำเรือ
 การใชทรั
s l
n
as a
t me
rr exu

่ (Intimidating Behavior)
Bully
Ha S

 พฤติกรรมการคุกคามผู ้อืน in g
 พฤติกรรมการดูถก ่ (Abusive Behavior)
ู เหยียดหยามผู ้อืน
 การมีผลประโยชน์สว่ นตัวขัดกับผลประโยชน์องค์การ (Conflict of Interest)
ฮัว้ ป
ระม
 ความเป็ นธรรมและความซอ ั ย์ของพนักงานต่อองค์การ (Fairness and Honestyโคof
ื่ สต รงก ูล
Employees) าร

ื่ สต
 ความเป็ นธรรมและความซอ ี (Fairness and
ั ย์ขององค์การต่อผู ้มีสว่ นได ้เสย
Honesty of Companies)
การจัดการด ้านจริยธรรมขององค์การธุรกิจ
1. การให้ความสำค ัญก ับจริยธรรมธุรกิจและการกำหนดกรอบทางจริยธรรม
ธุรกิจ
การกำหนดผู้มี การสร้ างทาง
การรั บรู้ นัยทาง
2. การกำหนดหล ักจรรยาบรรณ จริยธรรมที่
เกี่ยวข้ องกับ
ส่ วนเสียได้ ส่วน
เสียที่สำคัญ ๆ
เลือกในทาง
ปฏิบัตแิ ละ
การเลือกทาง
เลือกที่ดีท่ สี ุด
และผลกระทบ จำแนกผลที่เกิด
การตัดสินใจ
้ ล ักจรรยาบรรณ
ที่จะเกิดขึน้ ขึน้
3. การประกาศใชห
4. การฝึ กอบรมการประพฤติปฏิบ ัติทม
ี่ จ
ี ริยธรรม
5. การจ้างบุคลากรทีเ่ หมาะสม Whistleblowing!!!
6. การตรวจสอบจริยธรรม
ื่ สารสองทาง
7. การสร้างว ัฒนธรรมการสอ
8. การสร้างการมีสว่ นร่วมให้ก ับบุคลากรในการกำหนดมาตรฐานทางจริยธรรม
แนวคิดเรือ
่ งธรรมาภิบาล
 ธรรมาภิบาล คือ การใชส้ ท ิ ธิของความเป็ นเจ ้าของ (Ownership
Rights) ทีจ ่ ะปกป้ องดูแลผลประโยชน์ของตน โดยผ่านกลไกที่
เกีย
่ วข ้องในการบริหาร ธรรมาภิบาลสามารถแบ่งเป็ นของภาครัฐ
และภาคเอกชน
 ในกรณีของภาคร ัฐ ผูเ้ ป็นเจ้าของคือประชาชน ซงึ่ ใชส้ ท ิ ธิของตนผ่านการ
เลือกตัง้ ในเขตเลือกตัง้ ขณะทีผ ่ ู ้ทีไ่ ด ้รับการเลือกตัง้ เข ้าไปทำหน ้าทีใ่ นรัฐสภา
เพือ ่ กำกับดูแลผู ้บริหารประเทศ คือ รัฐบาล ควรบริหารประเทศไปในทางทีถ ่ ก

ต ้อง และสอดคล ้องกับความต ้องการของประชาชน
 ในกรณีของภาคเอกชน ผูเ้ ป็นเจ้าของคือผูถ ้ อ
ื หุน้ ซงึ่ ใชส้ ท
ิ ธิของตนเลือก
คณะกรรมการบริษัท เพือ ่ เข ้าไปกำหนดนโยบาย คัดเลือกและกำกับดูแลผู ้
บริหาร ให ้บริหารงานเพือ ่ เพิม ่ มูลค่าของกิจการให ้สูงยิง่ ขึน ้ ตามเจตนารมณ์ของ
ผู ้ถือหุ ้น
หลักการทีสำ
่ คัญ 6 ประการของธรรมาภิบาล

หลัก หลัก หลักความ


นิ ติธรรม คุ ณธรรม โปร่งใส

หลักการมี หลักความ หลักความ


สว
่ นร่วม รั บผิดชอบ คุ้ มค่า

You might also like