You are on page 1of 31

บทที 8

กลศาสตร์ ของของไหล (Fluid mechanics)

บทนํา
ของไหล คือ สสารที สามารถไหลได้ต ามธรรมชาติ และมีรูปร่ างเปลียนแปลงไปตาม
ภาชนะทีบรรจุ แบ่งได้เป็ นสองชนิด คือ ของเหลว (Liquid) และก๊าซ (Gas) ของเหลวโดยทัวไปจะมี
ปริ มาตรคงทีและรู ปร่ างจะเปลียนแปลงตามภาชนะทีบรรจุภายใต้ความโน้มถ่วงของโลก ส่ วนก๊าซ
เมือบรรจุ อยู่ในภาชนะและประกอบกัน เป็ นของเหลวจะอยู่ติด กันเสมอ แต่ ในสภาพทีเป็ นก๊าซ
โมเลกุล ต่ าง ๆ จะแยกจากกัน เป็ นอิ สระ เราจะได้ศึก ษาต่ อไปในทฤษฎี จ ลน์ ข องก๊าซระหว่า ง
ของเหลวและก๊าซมีขอ้ แตกต่างกันทีเห็นได้ชดั อย่างหนึ ง คือ การเปลียนแปลงปริ มาตรภายใต้แรง
กดดันภายนอก เมือทังของเหลวและก๊าซอยูใ่ นภาชนะปิ ดสนิท (Compressibility) เช่น เมือของเหลว
อยูใ่ นกระบอกสูบจะทีมีลูกสูบปิ ดสนิ ทพอดี เมือออกแรงภายนอกกดลูกสูบอย่างรุ นแรง ปริ มาตร
ของของเหลวในกระบอกสูบจะลดลงเพียงเล็กน้อย จนถือได้ว่าปริ มาตรเท่าเดิม จึ งแยกว่าของไหล
ทีไม่ สามารถกดให้ หดได้ (Incompressible fluid) สําหรับก๊าซเมือออกแรงเพียงเล็กน้อยต่อลูกสูบ
ปริ มาตรของก๊าซภายในลูกสู บจะเปลียนแปลงอย่า งง่ ายดายและเห็ นได้ชัด จึ งเรี ยกก๊ าซว่าเป็ น
ของไหลทีสามารถกดให้ หดได้ (Compressible fluid) ของไหลทุกชนิ ดเมือมีการเคลือนทีจะเกิด
แรงเสียดทานภายในชันทีประกอบเป็ นของไหลเอง ซึงก็คือแรงเสียดทานระหว่างโมเลกุลของไหล
ทีอยูน่ ิงเมือมีวตั ถุเคลือนทีผ่านก็จะมีแรงต้านทานการเคลือนทีของวัตถุเกิดขึนเช่นกัน แรงดังกล่าวนี
เรี ยกว่า แรงหนืด(Viscous force) สมบัติของของไหลทีทําให้เกิดแรงหนื ดได้นีเรี ยกว่า ความหนืด
(Viscosity)

8.1 สถิตศาสตร์ ของของไหล (Fluid static)


สถิต ศาสตร์ ข องของไหล เป็ นการศึ ก ษาคุ ณ สมบัติ ข องของเหลวและก๊าซที อยู่นิ ง ณ
อุณหภูมิปกติ โดยจะศึกษาเกียวกับความดันหลักของอาร์คิมีดีส ความตึงผิว และความหนืด
8.1.1 ความดันของของไหลและกฎของปาสคาล
แรงกระทําของระบบโมเลกุลต่อภายนอก ทีมีโมเลกุลยึดกันเป็ นของแข็งหรื อเป็ น
ของไหลก็ตามจะปรากฏเฉพาะที ผิว ของสสารเท่ านัน แรงที ผิวนี ถา้ เป็ นของแข็งแรงนี สามารถ
แสดงออกได้ทุกทิศทางของพืนทีผิวของของแข็งนัน แต่สาํ หรับของของไหลหรื อของเหลว แรงที
พืนทีผิวจะเกิดในทิศทางตังฉากกับพืนผิวเท่านัน ทังนีถา้ เกิดแรงทีไม่ตงั ฉากขึนเมือใด ของเหลวนัน
211

จะไม่สมดุลและจะไหลเปลียนรู ปทรงจนทําให้แรงนี ตงั ฉากกับพืนผิว จึงจะเกิด สมดุ ลและรักษา


รู ปทรงไว้ได้
ของไหลแต่ละชนิดมีแรงกระทําในแนวตังฉากต่อพืนผิวมากหรื อน้อยเท่าไร ขึนอยู่
กับปริ มาณของของไหลและพืนผิวทีห่ อหุ ้มของไหลนันด้วย ซึงยากต่อการเปรี ยบเทียบและกล่าว
อ้าง ดังนัน จึงได้ก าํ หนดค่ าที สามารถแสดงออกในเชิ งทดแทนแรงกระทําได้เป็ นค่ า ความดัน
(Pressure, P) โดยนิยามความดัน คือ ขนาดของแรงกระทําในแนวตังฉากกับพืนผิวต่อหนึ งหน่ วย
พืนผิวนัน ถ้าแรงกระทําเป็ น F และพืนทีเป็ น A เราสามารถเขียนสมการความดันได้เป็ น
F
P = A …..(8-1)
หน่ วยของความดัน คือ N/m2 แต่อาจจะบอกเป็ นบรรยากาศ (atm) ปาสคาล (Pa)
บาร์ (bar) ทอร์ (Torr) หรื อมิลลิเมตรของปรอท โดยกําหนดความสัมพันธ์ดงั นี
ความดัน 1 บรรยากาศ = 760 mm.Hg
ความดัน 1 บรรยากาศ = 1.013  105 N/m2
ความดัน 1.013  105 N/m2 = 1 bar
ความดัน 1 N / m2 = 1 Pa
ความดัน 1 mm.Hg = 1 Torr
สํา หรั บ ของไหลที มี พื น ผิว อยู่ใ นจํา พวกรู ปทรงธรรมดา การหาค่ า ความดัน
จะเหมาะสมขึน ถ้าใช้อนุพนั ธ์ของฟังก์ชนั คือ
ΔF dF
P = lim it = dA …..(8-2)
ΔA0 Δ A
โดยของไหลจะมี ก ารเปลี ยนแปลงความหนาแน่ น หรื อปริ มาตร เมื อมี
การเปลียนแปลงความดันและอุณหภูมิของของไหลนัน ดังนันการกําหนดความหนาแน่ นของของ
ไหลทุกครัง จะต้องกํากับด้วยว่าค่านันเป็ นความหนาแน่นทีความดันและอุณหภูมิเท่าไรด้วย

ตัวอย่างที 8-1 นํามันเครื องมวล 1,430 kg บรรจุในถังรู ปทรงกระบอกซึงมีเส้นผ่าศูนย์กลาง 0.7 m


จงคํานวณหาความดันทีก้นถังรู ปทรงกระบอกนี
วิธีทํา ขนาดของแรงทีกระทําต่อก้นถัง = 1,430  9.8 = 14,014 N
πd 2 π( 0.7 ) 2
พืนทีก้นถังรู ปทรงกระบอก = 4 = 4
3
= 0.385 m
212

F 14 ,014
ดังนันความดันทีก้นถัง P = A = 0.385
= 36,400 N/m2 ตอบ

ความดันในของไหล ณ จดใด ุ ๆ
ความสัมพันธ์ระหว่างความดัน P ณ จุดใด ๆ ในของไหลกับความสูง y จากระดับ
อ้างอิงพิจารณาดังนี ถ้าของไหลอยูใ่ นสภาวะสมดุล ทุกส่ วนภายในของไหลจะอยู่ในสภาวะสมดุล
ด้ว ย พิจ ารณาของไหลแผ่น บาง ๆ ดังรู ปที 8-1 ซึ งมีค วามหนา dy มีพืน ที ผิว A ของไหลมี
ความหนาแน่น  มวลของของไหลส่วนเล็ก ๆ นีจะมีค่า Ady และมีนาํ หนัก dW = gAdy แรงที
กระทําต่อชินของไหลอันเนืองมาจากของไหลทีล้อมรอบย่อมตังฉากกับผิวชินของไหลนีทุกจุด แรง
ลัพธ์ในแนวราบทีกระทําต่อชินของไหลย่อมเท่ากับศูนย์ ส่ วนแรงดันขึนจะอยู่ตรงผิวด้านล่าง คือ
PA และแรงดันลงหรื อกดลงทีผิวด้านบนของชินของไหล คือ (P + dP)A

รู ปที 8-1 แรงกระทําต่อชินเล็ก ๆ ของของไหลทีอยูใ่ นสมดุล


(ทีมา: Young Huge D.; &Roger A. Freedman, 2016, p.396)

เนืองจากของไหลชินนีอยูใ่ นสภาวะสมดุล คือ ไม่มีการไหล ดังนัน


Fy =0
PA – (P + dP)A - gAdy =0
dP
dA = -g …..(8-3)
เนื องจาก  และ g เป็ นบวกและมีค่ าคงที ดังนัน เมือ dy เพิมขึน หรื อส่ ว นสู ง
เพิมขึน dP จะมีค่าลดลง ถ้า P1 และ P2 เป็ นความดันทีระดับ y1 และ y2 เหนื อระดับอ้างอิงแล้ว
Integrated สมการที (8-3) ได้
P2 - P1 = -g(y2 - y1) …..(8-4)
213

รู ปที 8-2 ตําแหน่งความดันของของเหลวทีต้องการหา


(ทีมา: Young Huge D.; &Roger A. Freedman, 2016, p.397)

เมื อนํา สมการที (8-4) นี ม าใช้ก ับ ของเหลวที อยู่ใ นภาชนะเปิ ด ดัง รู ป ที 8-2
โดยกําหนดให้จุดที 1 มีความดัน P และจุดที 2 อยู่ทีผิวของของเหลวทีมีความดันเท่ากับความดัน
บรรยากาศ Pa ดังนัน
Pa - P = -g(y2 - y1)P = Pa + gh …..(8-5)
เมือ h คือ ความลึกของของเหลวเมือวัดจากผิว ของของเหลว และจากสมการที
(8-5) ถ้าเพิมความดัน Pa เพิมขึนจะทําให้ค วามดัน P ทีความลึกใด ๆ เพิมขึนเป็ นจํานวนเท่ากับ
ความดันทีเพิมขึนนี

รู ปที 8-3 ความดันไม่เปลียนแปลงไปกับรู ปร่ างของภาชนะ


(ทีมา: Young Huge D.; &Roger A. Freedman, 2016, p.397)
214

จากผลทีได้จะเห็นว่าทีความลึก h ใด ๆ จะมีค่าแรงดันเท่ากันหมด ไม่ว่าภาชนะนัน


จะมีรูปร่ างเป็ นอย่างไรก็ตาม ดังรู ปที 8-3 ซึงก็หมายความว่าความดันทีกระทําต่อผนังของภาชนะที
ระดับเดียวกัน และตังฉากกับพืนผิวเท่ากันเช่นกัน
จากการศึกษาความดันของของไหลทีจุดใด ๆ นี ปาสคาลเป็ นผูพ้ บ เรี ยกว่า กฎของ
ปาสคาล (Pascal’s Law) มีใจความว่า “ถ้าออกแรงกดของไหลทีอยูใ่ นพืนทีผิวกําหนดแน่นอน แรง
กดนี จะถูกถ่ายทอดไปทัวทังของไหลนันโดยไม่ลดลงเลย และจะแสดงออกทีผิวหรื อทีผนังของ
ภาชนะด้วยความดันทีเท่ากันทุกจุด” เรานําหลักการนี มาใช้ประโยชน์ คือ ทําเครื องอัดไฮดรอลิก
ดังรู ปที 8-4

รู ปที 8-4 เครื องอัดไฮดรอลิกพืนทีหน้าตัด A และ a


(ทีมา: Young Huge D.; &Roger A. Freedman, 2016, p.397)

เมือออกแรงกดขนาด f ทีลูกสูบเล็กจะเกิดความดัน f/a ส่งผ่านไปตลอดทุก ๆ ส่ วน


ของของไหล ซึงมีต่อไปยังลูกสูบใหญ่เกิดแรงขนาด F = PA ในเมือความดันของทังสองลูกสูบ
เท่ากัน ดังนัน
f F
P = a = A
A
หรื อ F = af …..(8-6)
จะเห็นได้ว่าถ้าเราทําให้ F ใหญ่มากเท่าใดก็ได้ทีปลอดภัยและสะดวก แต่ถา้ ลูกสูบ
ใหญ่มาก ๆ ต้องใช้ของไหลมากและเสี ยเวลามาก เครื องใช้อาศัยหลักการนี ก็อย่างเช่ น เก้าอีช่าง
ทําฟัน เก้าอีช่างตัดผม แม่แรงยกของ ห้ามล้อไฮดรอลิค เป็ นต้น
215

ตัวอย่างที 8-2 ลูกสูบเล็กและลูกสูบใหญ่ในเครื องไฮดรอลิค ซึงมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 3 cm และ


24 cm ตามลําดับ ถ้าออกแรงกระทําทีลูกสูบเล็ก 600 N จงคํานวณว่าแรงทีเกิดทีลูกสูบใหญ่กีนิวตัน
วิธีทํา จากสมการที (8-6) แรงทีกระทําต่อลูกสูบใหญ่จะมีค่าเท่ากับ
A
F = af
เมือ A = (12  10-2)2 และ a = (1.5  10-2)2 และ f = 600 N แทนค่า จะได้
π (1210 -2 ) 2
F =  600
π(1.510 -2 ) 2
F = 38,400 N ตอบ
เครืองมือวัดความดัน
เครื องมือวัดความดันทีพบมากทีสุ ด คือ แบบมาโนมิเตอร์ (Manometer) ดังรู ปที
8-5 ซึงมีลกั ษณะเป็ นหลอดแก้วรู ปตัวยู โดยปลายหลอดด้านขวามือเปิ ดสู่บรรยากาศซึงมีความดัน
บรรยากาศ Pa ส่วนบริ เวณด้านซ้ายมือเป็ นบริ เวณทีต้องการวัดความดัน ภายในหลอดแก้วรู ปตัวยู
จะมีของเหลวทีมีความหนาแน่น  บรรจุอยู่

รู ปที 8-5 นาโนมิเตอร์ บรรจุของเหลวความหนาแน่น 

สมมติว่าบริ เวณทีจะวัดความดันมีความดันเท่ากับ P และระดับของเหลวปลายปิ ด


เมือเทียบกับระดับอ้างอิงอยูท่ ี y1 และปลายเปิ ดอยูท่ ี y2 ตามลําดับ จะได้
ความดันทีก้นหลอดด้านซ้ายมือ = P + gy1
ความดันทีก้นหลอดด้านขวามือ = Pa + gy2
เนืองจากความดันทีระดับเดียวกัน (ก้นหลอด) ย่อมเท่ากัน ดังนัน
P + gy1 = Pa + gy2
P - Pa = g(y2 – y1) = gh …..(8-7)-
ความดัน P เรี ยกว่า ความดันสั มบรณ์ ู (Absolute pressure) ส่ วนผลต่างของ
ความดันสัมบูรณ์กบั ความดันบรรยากาศ คือ P - Pa เรี ยกว่า ความดันเกจ (Gauge pressure)
216

ส่ วนเครื องมือวัด ความดันอีกแบบหนึ งทีนิ ยมใช้ คือ แบบบาร์ โ รมิเตอร์ ซึงเป็ น


เครื องทีใช้วดั ความดันของบรรยากาศ มีลกั ษณะเป็ นหลอดแก้วปิ ด บรรจุของเหลวความหนาแน่ น
 แล้วควําลงในกระบะอ่างทีบรรจุของเหลวชนิดเดียวกัน ดังแสดงในรู ปที 8-6 ซึงทําให้จุด P2 มี
ความดันเป็ นศูนย์ และจุด P1 = Pa ซึงเป็ นค่าทีต้องการทราบ ดังนัน

รู ปที 8-6 บาร์ โรมิเตอร์ บรรจุปรอท ความหนาแน่น 

ความดันทีก้นกระบะอ่างเนืองจากตําแหน่งที 1 = Pa + gy1
ความดันทีก้นกระบะอ่างเนืองจากตําแหน่งที 2 = 0 + gy2
ความดันทีระดับเดียวกันย่อมเท่ากัน นันคือ
Pa + gy1 = 0 + gy2
Pa = g(y2 - y1) = gh …..(8-8)
ถ้าในกระบะอ่างบรรจุปรอท จะเห็นว่าความสูงของลําปรอทแปรผันโดยตรงกับ
ความดันบรรยากาศ เราจึงมักบอกความดันของบรรยากาศและความดันอืน ๆ เป็ นความสูงของ
ปรอท เช่น ความดัน 760 มิลลิเมตรของปรอท เป็ นต้น

ตัวอย่างที 8-3 จงคํานวณหาความดันบรรยากาศในวันหนึ งซึงความสูงของปรอทในบาร์ โรมิเตอร์


อ่านได้ 76 cm กําหนดให้ความหนาแน่นของปรอทเท่ากับ 13.6  103 kg/m3 และอัตราเร่ งเนื องจาก
ความโน้มถ่วงของโลกเท่ากับ 9.8 m/s2
วิธีทํา จากสมการที 8-8 ความดันบรรยากาศ
Pa = g(y2 - y1) = gh
= 13.6  103  9.8 0.76
= 1.013  105 N/m2 ตอบ
217

ตัวอย่างที 8-4 จงคํานวณหาความดันเครื องวัดทีพอดีใช้กบั แม่แรงไฮดรอลิค ซึงลูกสูบมีพืนที 800


cm2 เพือยกรถยนต์ทีมีมวล 1,500 kg
วิธีทํา แรงสุทธิ = ความดันของเครื องวัด  พืนที
1,500  9.8 = Pg  800  10-4
ดังนัน Pg = 1.84  105 N/m2
หรื อ Pg = 184 kPa ตอบ

8.1.2 แรงลอยตัวและหลักของอาร์ คมิ ดี ีส


หลัก การลอยตัวของเรื อ หรื อของวัตถุทีลอยตัวอยู่ในของเหลว หรื อนําหนักขอ
วัตถุลดลงขณะอยูใ่ นของเหลวนัน ทังหมดนีเป็ นไปตามหลักของอาร์คิมีดีส ซึงได้กล่าวไว้ว่า “วัตถุ
ใด ๆ จะมีบางส่วนจมอยูใ่ นของเหลวหรื อจมอยูใ่ นของเหลวทังหมดก็ตาม วัตถุนนั จะถูกแรงลอยตัว
กระทําตลอดเวลา โดยแรงลอยตัวทีกระทําต่อวัตถุนันจะเท่ากับนําหนักของของเหลวทีมีปริ มาต
เท่ากับปริ มาตรของวัตถุส่วนทีอยู่ในของเหลวนัน หรื ออาจกล่าวได้อีกอย่างหนึ งคื อปริ มาตรของ
ของเหลวทีถูกแทนทีนันเอง”
แรงลอยตัวทีกระทําต่อวัตถุนีจะต้องผ่านจุศนู ย์กลางมวลของวัตถุนนั วัตถุจึงจะอยู่
ในสภาวะสมดุลได้ เมือใดก็ตามถ้าแรงลอยตัวไม่กระทําผ่านจุดศูนย์กลางมวล เช่น การลอยของเรื อ
ทีเอียงจะเกิดการปรับตัวของเรื อจนแรงลอยตัวผ่านจุดศูนย์กลางมวลจะทําให้เรื อกลับสู่จุดสมดุลได้

รู ปที 8-7 แรงดันทีด้านใต้วตั ถุแรงดันลงบนวัตถุ


218

พิจ ารณาจากรู ปที 8-7 ถ้าแท่ งวัต ถุรู ป สี เหลียมซึ งมีพืน ที หน้าตัด A จมอยู่ใ น
ของเหลวทีมีความหนาแน่น  ทีผิวด้านข้างมีแรงดันจากของเหลวกระทําในแนวราบและจะหักล้าง
กันหมด ส่วนผิวด้านบนของวัตถุจะได้รับแรงดัน F1 ซึงเป็ นแรงดันลง มีค่าเท่ากับ
F1 = P1A = (Pa + gh1)A
และแรง F2 ซึงเป็ นแรงดันขึน เท่ากับ
F2 = P2A = (Pa + gh2)A
ดังนัน แรงลัพธ์ = F2 - F1 = g(h2 - h1)A
= ghA
= นําหนักของของเหลวปริ มาตรเท่าวัตถุ
แรงลัพธ์ = นําหนักของของของเหลวทีถูกแทนที .....(8-9)
กรณี ของเรื อดํานําทีลอยนิงอยูใ่ ต้ทะเล ณ ความลึกค่าหนึ งได้ เพราะนําหนักของเร
เท่ า กับ นํา หนัก ของนํา ทะเลทีถูก แทนที นัน คือ ความหนาแน่น เฉลียของเรื อ ดําํ น าจะเท่ ั าก บ
ความหนาแน่ น ของนําทะเล วัตถุทีมีค วามหนาแน่น เฉลียน้อยกว่าความหนาแน่น ของของเหลว
สามารถลอยในของเหลว และบางส่ วนของวัตถุจะโผล่เหนื อผิวของของเหลว เรื อทุกลํานอกจาก
จะสร้างให้ลอยนําได้แล้วยังต้องสร้างให้อยูใ่ นสภาวะสมดุลเสถียรและไม่โคลงเคลงไปมาด้วย ดังนั
ในการต่อเรื อใด ๆ จึงต้องทําให้แนวแรงลอยตัวของเรื อผ่านจุดศูนย์กลางมวลของเรื อด้วย

ตัวอย่างที 8-5 อลูมิเนี ยมชินหนึ งหนัก 24 N ในอากาศ และ 15.1 N เมือจมมิดในนํา จงหาปริ มาต
ของอลูมิเนียมชินนี และความหนาแน่นของอลูมิเนียม
วิธีทํา นําหนักทีหายไปในนํา เท่ากับ 24 - 15.1 = 8.9 N ซึงเป็ นนําหนักของนําทีถูกแทนที
เนืองจากนํา 1 m3 หนัก 1,000  9.8 = 9,800 N เพราะ
ดังนันนําหนักของนํา 8.9 N จะมี
8.9
ปริ มาตร = 9,800
= 9.1  10-4 m3
ดังนัน ความหนาแน่นของอลูมิเนียม คือ
m 24 / 9.8
 = V =
9.110 -4
= 2.69  103 kg/m3 ตอบ
219

ตัวอย่ างที 8-6 แท่งอลูมิเนี ยมหนัก 63 N เมือชังในอากาศ และหนัก 45 N เมือจมอยู่ในของเหลว


ชนิ ด หนึ ง ถ้าความหนาแน่ น ของอลูมิเนี ยมเท่ากับ 2.7  103 kg/m3 จงหาความหนาแน่ น ของ
ของเหลวนัน
วิธีทํา ปริ มาตรของอลูมิเนียม คือ
m 63/9.8
V = ρ =
2.710 3
= 2.38  10-3 m3
และ
แรงลอยตัวของแท่งอลูมิเนียม = นําหนักของของเหลวทีถูกแทน
63 - 45 = 1  2.38  10-3  9.8
ความหนาแน่นของของเหลว
1 = 7.7  102 kg/m3 ตอบ

ตัวอย่ างที 8-7 อยากทราบว่าภูเขานําแข็งลอยโผล่เหนือผิว นําทะเลร้อยละเท่าไรของปริ มาตร


ทังก้อน เมือกําหนดให้ค วามหนาแน่ น ของนําแข็งและนําทะเลเท่ากับ 9.2  102 kg/m3 และ
1.03103 kg/m3 ตามลําดับ
วิธีทํา นําหนักของนําแข็ง Wi = iVig โดย Vi คือปริ มาตรของนําแข็งและนําหนักของนําท
ปริ มาตร VW ทีถูกแทนที คือ แรงลอยตัว B = WVWg
เนืองจาก Wi = B ดังนัน WVWg = iVig
VW ρi
จัดเทอมจะได้ Vi = ρW
9.210 2
=
1.0310 3
= 0.89
นันคือ ปริ มาตรของนําทีถูกแทนที คือปริ มาตรของนําแข็งส่วนทีจมเท่ากับ 89% หรื อโผล่
พ้นนํา 11% ตอบ
220

8.1.3 ความตึงผิว (Surface tension)


จากทีกล่าวมาแล้วว่าของเหลวเป็ นสสารทีมีโมเลกุลยึดกันแบบหลวม ๆ ทําให้ผิว
ของของเหลวปรากฏแรงกระทําสู่ภายนอกในทิศตังฉากกับพืนผิวนัน การยึดกันของโมเลกุลตามผิว
ของของเหลวสามารถทีจะยึดกับโมเลกุลต่างชนิดกันได้ดว้ ยแรงกระทําระหว่างโมเลกุล เราสามารถ
แบ่งแยกออกเป็ น 2 ประเภท ได้ดงั นีคือ
1) แรงยึดติด (Cohesive force) เป็ นแรงยึดระหว่างโมเลกุลชนิดเดียวกัน
2) แรงเกาะติด (Adhesive force) เป็ นแรงยึดระหว่างโมเลกุลต่างชนิดกัน
สําหรับพฤติกรรมของแรงเกาะติดของของเหลวนี สามารถแสดงได้โดยการเอา
ห่วงลวดเล็ก ๆ จุ่มลงในของเหลว แล้วค่อย ๆ ดึงขึนมาจะปรากฏว่า จะต้องออกแรงมากกว่าแรงยก
นําหนัก ของห่ว งลวดนัน ขึน มา และระหว่างที กําลังจะพ้น ผิวของของเหลว จะเห็นว่าของเหลว
จะเกาะติดห่วงนูนสูงตามห่วงลวดขึนมาด้วย ดังแสดงในรู ปที 8-8 และ รู ปที 8-9

รู ปที 8-8 การหาความตึงผิว

พิจารณารู ปที 8-8 เป็ นลวดวงแหวนผูกห้อยเป็ นสาแหรก ซึงนิ ยมใช้สาํ หรับหาค่า


ความตึงผิว ถ้ากําหนดให้ L คือ ความยาวของเส้นรอบวงของลวด ของเหลวจะยึดลวดไว้ทงั สองผิว
คือทังผิวด้านในและผิวด้านนอก สมมติว่าแรงทีเพิมขึน F นี พอดี ทําให้ขดลวดหลุดออกจากผิว
ของเหลวได้ ดังนัน F = 2L แรงนีหาได้โดยแขวนปลายเชือกไว้กบั ตาชังสปริ ง แล้วค่อย ๆ ดึงถ้วย
ของเหลวลง สปริ งจะยึดออกจนกระทังผิวของแผ่นฟิ ล์มเนื องจากของเหลวหลุดออกจากขดลวด
อ่านค่าของแรง F ที เพิมขึน จากเดิมตอนขดลวดอยู่นิงในของเหลวกับตอนที พอดีหลุดออกจาก
ของเหลว โดยค่าความตึงผิว คือ
F
 = 2L …..(8-10)
221

รู ปที 8-9 ลวดยาว L อยูใ่ นสมดลภายใต้แรงตึงผิว 2L กับแรงดึงลง F = W1 + W2

หรื อกรณี ของรู ปที 8-9 แสดงกรอบลวดรู ปตัวยู มีลวดเกลียงตรงอันหนึ งเลือนไป


มาได้คล่องบนขาตัวยู เมือจุ่มลวดนีลงในนําฟองสบู่ แล้วค่อย ๆ ดึงขึนช้า ๆ ถ้านําหนักของลวด W1
ไม่มากนัก จะเห็นเป็ นแผ่นฟิ ล์มติดอยูท่ ีกรอบลวด เพิมนําหนัก W2 ลงไป แรง F = W1 + W2 จะฉุ ด
ให้แผ่น ฟิ ล์ม ยืด ออกและยังคงอยู่ใ นสภาวะสมดุ ล พืน ที ของแผ่น ฟิ ล์มบาง ๆ จะมีข นาดคงที
ถ้าอุณหภูมิคงที พืนทีนีจะเปลียนไปมากตามคุณสมบัติของความตึงผิวของฟิ ล์ม ว่าจะทนแรงดึงได้
มากน้อยเท่าใด ถ้าความยาวของลวดทีเลือนได้ยาว L แต่เนืองจากผิวฟิ ล์มมีสองผิว ดังนันความยาว
ของผิวลวดทีถูกแรงกระทําจึงยาวเท่ากับ 2L ความตึงผิว  มีนิยามเป็ นอัตราส่ วนระหว่างแรง F ที
กระทําไปตามผิว ต่ อ ความยาวของผิว ที ถูก แรงนัน กระทํา ความยาวนี ต ้อ งตัง ฉากกับ แรงด้ว ย
เพราะฉะนันเราสามารถเขียนความตึงผิวได้ตามสมการที 8-10 โดยมีหน่ วยเป็ น N/m สําหรับตาราง
ที 8-1 แสดงค่ าของความตึ งผิว ของสารบางอย่าง จากตารางนี เราจะเห็ นว่าความตึงผิว ของนํา
จะลดลงเมืออุณหภูมิเพิมขึน
222

ตารางที 8-1 ค่าความตึงผิวของสสารบางชนิดทีได้จากการทดลอง

ของเหลวเมือสัมผัสกับอากาศ อุณหภูมิ (C) ความตึงผิว (N/m)


กลีเซอรี น 20 6.3110-2
คาร์บอนเตตระคลอไรด์ 20 2.6810-2
นํา 0 7.5610-2
นํา 20 7.2810-2
นํา 60 6.6210-2
นํา 100 5.8910-2
นําสบู่ 20 2.5010-2
นํามันมะกอก 20 3.2010-2
เบนซิน 20 2.8910-2
ปรอท 20 4.6510-1
เอธิลแอลกอฮอล์ 20 2.2310-2
ออกซิเจน -193 1.5710-2
นิออน -247 5.1510-3
ฮีเลียม -269 1.2010-4

(ก) (ข)
รู ปที 8-10 (ก) ของเหลวในหลอดแก้วขึนสู งจนนําหนักของลําของของเหลวเท่ากับความตึงผิวทีแตกออกไป
ตามแนวดิง (ข) ของเหลวทีไม่เปี ยกภาชนะซึ งมีมุมสัมผัสเกิน 90 ของเหลวทีอยูใ่ นหลอดจะตํากว่
ข้างนอกหลอด
223

สําหรั บหลอดแก้ว รู เล็กปลายเปิ ด เมือจุ่ มลงในของเหลว ดังแสดงในรู ปที 8-10


ของเหลวจะขึนไปตามหลอดแก้วสูงกว่าระดับของเหลวในภาชนะ ในกรณี ของปรอทระดับปรอท
ในหลอดแก้วจะตํากว่าระดับปรอทในภาชนะสําหรับของเหลวทีขึนไปตามหลอดแก้วได้ เนื องจา
แรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลของของเหลวมีค่าน้อยกว่าหรื อมากกว่าแรงดึงดูดต่างโมเลกุลระหว่าง
ของเหลวกับแก้ว
ในการคํานวณหาความสูงของของเหลวทีขึนไปตามหลอดแก้ว ดังรู ปที 8-10 (ก)
เนืองจากของเหลวเกาะหลอดแก้วเป็ นรู ปวงกลมตามรู ปทรงของหลอด ณ เส้นสัมผัสของเหลวทํา
มุม  กับผนังของหลอดแก้ว มุมนีเรี ยกว่า มมสั ุ มผัส (Contact angle) ของเหลวจะขึนสูงจนกระทัง
นําหนัก ของลําของเหลวซึ งสูง h มีค่ าเท่ากับแรงตึ งผิว ทีแยกออกไปตามแนวดิ ง ถ้าให้  เป็ น
ความตึงผิว และ r เป็ นรัศมีของรู หลอดแก้ว ของเหลวทํามุมสัมผัสรอบหลอดไปตามเส้นรอบวง
ซึงยาว 2r ดังนัน
แรงดึงขึนทังหมด คือ
F = 2rcos
และแรงดึงลง คือ นําหนักของของเหลวในหลอดแก้วซึงมีค่าเท่ากับ
W = mg
gV = gr2h
เพราะว่าของเหลวในหลอดแก้วอยูใ่ นสภาวะสมดุล ดังนัน
2 γcosθ
h = ρgr …..(8-11)
สํา หรั บ ของเหลวที เปี ยกหลอดแก้ว มุ ม สั ม ผัส  จะเล็ก มาก ค่ า ของ cos
มีค่าประมาณหนึ ง เช่น กรณี นาํ กับแก้ว สําหรับปรอทกับแก้ว ค่า  เท่ากับ 139 จะได้ค่า h จาก
สมการที 8-11 เป็ นค่าลบ ดังแสดงในรู ปที 8-9 (ข) ถ้าเป็ นนํากับโลหะเงิน ค่า  เท่ากับ 90 และนํ
จะไม่ขึนไปตามหลอดโลหะเงิน มุมสัมผัสระหว่างของเหลวกับของแข็งชนิ ดต่าง ๆ สามารถแสดง
ได้ดงั รู ปที 8-11

รู ปที 8-11 มุมสัมผัสระหว่างของเหลวและของแข็ง


224

หลักการของความตึงผิวทีเกียวข้องกับชีวิตประจําวันมีหลายอย่าง เช่น การเติมสบู่


หรื อผงซักฟอกลงไปในนําเพือลดแรงตึงผิวของนํา ทําให้นาํ ซึมเข้าไปในเสื อผ้าได้ง่าย และผลักดั
สิงสกปรกออกมา กรณี เสื อกันนําก็ใช้วิธีการฉาบสารบางอย่างบนเสื อผ้าเพือลดแรงดึงดูดระหว่า
โมเลกุลนํากับเสือผ้า นําจะไม่เปี ยกเสือผ้า แต่จะรวมตัวกันเป็ นหยดนําแล้วหลุดร่ วงไป จากสิงทีกล่า
ทั ง หมดจะเห็ น ว่ า ปรากฏการณ์ ที นํ า หลอดแก้ ว รู เล็ ก ๆ ปลายเปิ ดไปจุ่ ม ในของเหลว
แล้วของเหลวจะไหลขึนไปในรู หลอดสูงกว่าระดับของเหลวภายนอก ปรากฏการณ์เช่นนี เรี ยกว่า
คะปิ ลลาริตี (Capillarity) ตัวอย่างทีอาศัยหลักการคะปิ ลลาริ ตี เช่น การซึมของนํามันก๊าดขึนไปตา
ไส้ตะเกียง การซึมของนําในเสือผ้า หรื อกระดาษซับ การซึมของนําใต้ดิน การลาเลีํ ยงนําและอาหา
ลําต้นของพืช เป็ นต้น

ตัวอย่างที 8-8 จุ่มลวดวงแหวนซึงมีเส้นผ่าศูนย์กลาง 75 mm ลงในนํามันดิบ ปรากฏว่าต้องออกแร


8.62  10-3 N จึงจะดึงให้หลุดพ้นจากนํามันดิบนีได้ จงหาความตึงผิวของนํามันดิบนี
วิธีทํา เมือดึงลวดออกจากผิวของนํามันดิบ ผิวฟิ ล์มจะเกาะทังด้านในและด้านนอกของเส้นรอบ
วงของผิ ว ฟิ ล์ม ทัง สองด้า นนี โดยมี ล ัก ษณะเป็ นวงกลมร่ วมจุ ด ศู น ย์ก ลางเดี ย วกัน และมี
เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณเท่ากับเส้นผ่าศูนย์กลางของลวดวงกลม
เส้นรอบวงของลวด =   เส้นผ่าศูนย์กลาง
= 3.14  75  10-3
= 0.236 m
จากความตึงผิวของนํามันดิบ
F
 = 2L
8.6210 -3
= 20.236 = 0.0183 N/m ตอบ
225

ตัวอย่างที 8-9 เมือเอาหลอดคะปิ ลลารี จุ่มลงในของเหลวชนิ ดหนึ ง ปรากฏว่าระดับของเหลวนัน


สูงขึน 5 mm และผิวของเหลวส่วนทีติดกับผนังหลอดแก้วทํามุม 30 ถ้าหลอดแก้วมีเส้นผ่าศูนย์กลาง
เท่ากับ 1 mm และของเหลวนี มีความหนาแน่ นเท่ากับ 1.3  103 kg/m3 จงหาความตึงผิวของ
ของเหลวนี
วิธีทํา จากปรากฏการคะปิ ลลาริ ตีความสูง
2 γcosθ
h = ρgr
เมือ h = 5  10-3 m,  = 300,  = 1.3  103 kg/m3 และ r = 0.510-3 m ดังนัน
ρgrh
 =
2cosθ
1.310 3 9.80.510 -3 510 -3
=
2 cos30 
= 0.018 N/m ตอบ

8.2 พลศาสตร์ ของของไหล (Fluid Dynamic)


พลศาสตร์เป็ นวิชาทีว่าด้วยการเคลือนทีของสสารใด ๆ โดยเฉพาะอย่างยิงการเคลือนที
ของของไหล ในตอนเริ มต้นนี จะพิจารณาลักษณะของไหลทีเรี ยกว่า ของไหลในอดมคติ ุ (Ideal
fluid) กล่าวคือ เป็ นของไหลทีอัดไม่ได้และไม่มีความหนืด หรื อไม่มีแรงเสียดทานภายในของเหลว
นันเอง สําหรับข้อสมมติเรื องสภาพอัดไม่ได้นีใช้ได้ดีในกรณี ทีเป็ นของเหลว ส่ วนก๊าซนันสามารถ
พิจารณาว่าไม่ถกู อัดตัวเมือการไหลนันอยูใ่ นสภาพทีความดันไม่แตกต่างกันมากนัก ความเสียดทาน
ภายในของไหลจะทําให้เกิดความเค้นเฉื อน เมือชันของไหลสองชันเคลือนทีสัมพัทธ์กนั หรื อเมือ
ของไหลไหลในหลอดหรื อไหลรอบสิงกีดขวางการไหลจริ ง ๆ ส่วนใหญ่แล้วพอทีจะตัดแรงเฉื อนนี
ทิงได้ เพราะมีค่าน้อยมากเมือเทียบกับแรงโน้มถ่วงของโลก และแรงทีเกิดจากความดันทีแตกต่างกัน
8.2.1 ความหนืด (Viscosity)
เป็ นความเสี ยดทานภายในของของไหล ซึงเป็ นความเสี ยดทานระหว่างโมเลกุล
ของของไหล เวลาไหลไป หรื อระหว่างวัตถุอืนกับของไหลขณะเคลือนทีไปในของไหลนัน
ในการหาความหนื ด สมมติ ให้ข องไหลจํานวนหนึ งถูก แรงกระทําที ชันบนสุ ด
และมีทิศทางไปทางขวามือของของไหลนัน ชันบนของของไหลจะพยายามไหลตามแรงทีกระทํา
แต่ถกู แรงเสียดทานซึงมีทิศทางตรงกันข้ามต้านไว้ ทําให้ของไหลชันต่าง ๆ ไหลตาม แต่ความเร็ ว
จะค่อย ๆ น้อยลง ดังแสดงในรู ปที 8-12
226

รู ปที 8-12 แสดงการไหลของของไหลเมือถูกกระทําด้วยแรง F

ถ้าพิจารณาของไหลบริ เวณ a b c d เมือถูกแรง F กระทําจะเปลียนไปเป็ น a b dc


จากพฤติกรรมทีเกิดขึนนี ถ้าหาอัตราเฉลียของแรงกระทําต่อพืนทีจะได้เท่ากับ F/A และอัตราเฉลีย
เปลียนแปลงความเร็ วต่ อความหนาจะได้เท่ ากับ v/L ซึ งอัต ราทังสองนี จ ะเป็ นปฏิภ าคโดยตรง
หรื อผันแปรกันโดยตรงต่อกัน นันคือ
F v
A  L
ตามหลักการพืนฐานทางคณิ ตศาสตร์ จะได้
F v
A = L 
เมือ  (อ่านว่า Eta) เป็ นค่าคงที ซึงจะต้องเป็ นคุณสมบัติเฉพาะของของไหลนัน
เรี ยกว่าค่าสัมประสิ ทธิความหนื ด (Coefficient of viscosity) หรื อเรี ยกสัน ๆ ว่า ความหนืด (Viscosity)
ดังนัน
FL
 = vA …..(8-12)
vA
หรื อ F =L
หน่วยของ  มีหน่วยเป็ น N/m2 หรื อ dyne-sec/cm2 สําหรับหน่วยเฉพาะทีนิ ยมใช้
คือ Poise โดยกําหนดให้ 1 Poise = 1 dyne-sec/cm2
สโตค (Stokes) ได้ทาํ การศึกษาเรื องความหนื ดของของไหล โดยนําเอาวัตถุทรง
กลมเคลื อนที ไปในของไหล และในที สุ ด สามารถหาความสัมพัน ธ์ ที เรี ยกว่ า กฎของสโตค
(Stokes’s Law) ซึงกําหนดให้
Ff = 6rv …..(8-13)
เมือ Ff คือ แรงเสียดทานภายในของเหลว
 คือ ความหนืด
227

r คือ รัศมีทรงกลม
v คือ ความเร็ วเฉลียทีวัตถุทรงกลมเคลือนทีไปในของเหลวนัน

รู ปที 8-13 แสดงวัตถุทรงกลมกําลังเคลือนในของไหล

ค่าความเร็ ว v ในสมการที 8.13 สามารถหาได้จากการทดลอง ดังแสดงในรู ปที


8-13 หรื อหาจากการคํานวณ โดยการคํานวณหาค่าความเร็ ว v นัน เริ มจากการหานําหนัก ของ
ทรงกลม คือ
4
W = mg = 3 r3g
4
และแรงลอยตัว B = 3 0r3g
เมือ  เป็ นความหนาแน่นของทรงกลม
0 เป็ นความหนาแน่นของของไหล
ถ้าสมมติว่าวัต ถุทรงกลมเคลือนทีลงมา จากกฎการเคลือนทีข้อสองของนิ ว ตัน
จะได้
W - B- Ff = ma …..(8-14)
B  Ff
หรื อ a = g- m
ถ้ากําหนดให้แรงเสี ยดทานภายในของเหลว Ff = 0 และเริ มปล่อยวัตถุทรงกลม
ในของเหลวทีตําแหน่งจุดหยุดนิง v = 0 วัตถุทรงกลมตกลงมาด้วยความเร่ ง a0 ดังนัน
4 3
B 3 πρ 0 r g
a0 = g- m = g- 4
3
3 πρ r
ρ -ρ 0
a0 =g ρ …..(8-15)
228

แสดงว่า ขณะทีลูกทรงกลมกําลังเคลือนทีไปในของไหลด้วยความเร่ ง a0 ความเร็ ว


จะเพิมขึ น เรื อย ๆ ซึ งหมายความว่ าแรงต้านหรื อ แรงเสี ย ดทานภายในของเหลวเพิ มขึ น ด้ว ย
เมือความเร็ วถึงจุดพอเหมาะหรื อสมดุล ความเร็ วนันจะคงที ค่าความเร่ งจะเป็ นศูนย์ ดังนันสมการที
(8-14) จะเป็ น
W - B- Ff =0 …..(8-14)
4 3 4 3
หรื อ 3 r g = 3  0r g + 6rv
2 r 2 g (ρ -ρ 0 )
ดังนัน v = 9 η …..(8-16)

ตัวอย่ างที 8-10 จงหาความเร็ วปลายของลูกปื นทรงกลมรัศมี 2 mm ในกลีเซอรี น ถ้ากําหนดให้


ความหนาแน่นของเหล็ก 7.9  10-3 kg/m3 และของกลีเซอรี น 1.3  103 kg/m3 ส่วนความหนื ดของ
กลีเซอรี นเท่ากับ 0.833 N.s/m2
วิธีทํา จากรู ปที 8-12 แรงภายนอกทีกระทําต่อลูกปื น คือแรงโน้มถ่วงของโลกในทิศทางพุ่งลง
และแรงลอยตัวมีทิศพุ่งขึน จากกฎของสโตค และสมการที (8.16) จะได้
2 r 2 g (ρ -ρ 0 )
v = 9 η
เมือ r = 2  10-3 m,  = 7.9  103 kg/m3, 0 = 1.3  103 kg/m3
ดังนันแทนค่าจะได้
2 ( 210 -3 ) 2 9.8(7.9 -1.3) 3
v = 9 0.833
= 0.069 m/s
ดังนันความเร็ วปลายของลูกปื นขณะตกลงมาคือ 0.069 m/s ตอบ

8.2.2 สมการต่อเนือง (The Equation of continuity)


เมือบางส่ วนหรื อทังหมดของของไหลถูกแรงกระทํา ไม่ว่าจะเป็ นแรงภายนอก
หรื อแรงภายในก็ตาม ของไหลจะเกิดการเคลือนทีทันที เนื องจากโมเลกุลของของไหลยึดติดกัน
แบบหลวม ๆ และมีค วามหนื ด ในของไหล ทํา ให้ก ารเคลือนที ของแต่ ละส่ ว นของของไหล
มีความสัมพันธ์ซึงกันและกันตลอด ซึงเป็ นพฤติกรรมการไหล ถ้าพฤติกรรมการไหลของของไหล
เป็ นระเบียบเรี ยบร้อยเราเรี ยกว่า การไหลสมําเสมอ (Steady flow) และถ้าการไหลของของไหล
ไม่เป็ นระเบียบหรื อไม่สมําเสมอจะเรี ยกว่า การไหลแบบปันป่ วน (Non steady flow)
229

สําหรั บ การไหลแบบสมําเสมอ จะหมายถึง การไหลแบบสายกระแส หรื อเส้


กระแส (Stream line flow หรื อ laminar flow) ณ จุดใดจุดหนึ งในบริ เวณทีมีการไหลนัน ของไหล
ทีจุดนันจะมีความเร็ วเท่ากับ v และเมือของไหลจํานวนนี ผ่านไปแล้ว ของไหลจํานวนใหม่ทีผ่าน
เข้าถึงจุดนันจะมีความเร็ วเท่ากับ v เช่นเดิม อาจกล่าวได้ว่าการไหลแบบเป็ นระเบียบเสมือนเป็ น
การไหลในหลอด ซึงเรี ยกแนวบริ เวณการไหลนีว่า หลอดกระแส (Tube of flow)

(ก) แสดงความเร็ วของของไหลทีจุดใด ๆ (ข) หลอดการไหลห้อมล้อมด้วยสายกระแส


รู ปที 8-14 แสดงความเร็ วและสายกระแส
(ทีมา: Young Huge D.; &Roger A. Freedman, 2016, p.403)

พิจารณาการเคลือนทีของของไหลจากรู ปที 8-14 (ก) เป็ นการไหลแบบสายกระแส


โดยทุกๆ โมเลกุลของของไหล เมือเคลือนทีมาถึงจุด a จะต้องมีความเร็ วเท่ากับ va แล้วเคลือนที
มาถึงจุด c จะต้องมีความเร็ วเท่ากับ vc โดยเส้นแนวทางการไหลจะขนานกับทิศทางความเร็ วตลอด
ดังแสดงเป็ นรู ปหลอดกระแสในรู ปที 8-14 (ข) ดังนันการไหลแบบสายกระแสจึงสามารถกําหนด
ขอบเขตการไหลทีต้องการได้สะดวก ซึงเป็ นลักษณะหลอดของการไหลดังทีกล่าวมาแล้ว
การไหลของของไหลแต่ละส่วนหรื อแต่ละโมเลกุลของของไหลนัน สามารถจะมี
ความเร็ วทีแตกต่างกันและมีความเร็ วทีเปลียนไปตามจุดต่าง ๆ ได้ แต่จาํ นวนมวลของของไหลที
ผ่านไป ณ จุดใดจุดหนึ งจะต้องเท่ากันกับจุดอืน ๆ ในช่วงเวลาเดียวกันเสมอ กล่าวคือ อัตราการ
เปลียนมวลในหนึงหน่วยเวลา ซึงเรี ยกว่า มวลฟลักซ์ (Mass flux) จะคงที
Δm
= constant …..(8-17)
Δt
230

รู ปที 8-15 พืนทีแรเงาแสดงปริ มาณ


การไหล

ถ้าพิจารณาสองบริ เวณในการไหลแบบสายกระแส ดังแสดงในรู ปที 8-15 มวลของ


ของไหลในหลอดของการไหลจะไม่สูญเสี ยไปนอกบริ เวณเลย ถ้าทีจุด P มีพืนทีหน้าตัด A1 ของ
ไหลมีความเร็ ว v1 และทีจุด Q มีพืนทีหน้าตัด A2 มีความเร็ ว v2 ดังนันในช่วงระยะเวลา dt ทีจุด P
จะมีมวลไหลผ่าน
 Δm  = v11A1 …..(8-18)
 Δt 
 P
และทีจุด Q
 Δm  = v22A2 …..(8-19)
 Δt 
 Q
เนืองจากในหลอดกระแสของการไหลเดียวกัน มวลฟลักซ์จะต้องคงทีเสมอ ดังนัน
= v11A1 = v22A2
หรื อ vA = constant …..(8-20)
สําหรับของไหลชนิดเดียวกัน ความหนาแน่น () จะไม่เปลียนแปลง นันคือจะได้
สมการ
vA = constant …..(8-21)
ค่าของ vA นีอาจจะเรี ยกเป็ นอัตราปริ มาตรของของไหล (Volume Flux) หรื ออัตรา
การไหล (Volume flow rates) ได้ และเรี ยกสมการที 8-21 ว่าสมการต่อเนือง (Equation of Continuity)

ตัวอย่างที 8-11 นําในท่อตรงทีมีพืนทีภาคตัดขวาง 1.0  10-3 m2 มีความเร็ ว 1.2 m/s เมือไหลไปถึง


ท่อทีมีพืนทีภาคตัดขวาง 2.0  10-4 m2 จะมีความเร็ วเท่าใด
วิธีทํา จากสมการต่อเนือง
vA = constant
v1 A1
ดังนัน v2 = A2
231

A1 1.010 -3
แทนค่า จะได้ v2 = v1  A = 1.2 
2 2.010 -4
v2 = 6.0 m/s
นันคือ ของไหลขณะเคลือนทีผ่านพืนที 2.010-4 m2 จะมีความเร็ วเท่ากับ 6.0 m/s ตอบ

8.2.3 สมการเบอร์ นูลี (Bernoulli’s equation)


พิจารณาของไหลทีไหลในท่ออย่างสมําเสมอ ดังรู ปที 8-16 ให้พืนทีภาคตัดขวาง
ของท่อเป็ น A1 ทางปลายท่อด้านซ้ายมืออยู่สูงจากระดับอ้างอิง y1 ท่ อค่ อย ๆ โตขึน และสู งขึ น
พร้อม ๆ กันไปจนมีพืนทีหน้าตัด A2 และอยูเ่ หนือระดับอ้างอิง y2 จะพิจารณาเฉพาะส่ วนทีแรเงาไว้
และเรี ยกของไหลส่วนนีว่า “ระบบ (System)” สังเกตการเคลือนทีของระบบจากตําแหน่ ง ดังแสดง
ในรู ปที 8-16 (ก) ไปยังรู ปที 8-16 (ข) ทุก ๆ จุดในส่วนทีแคบของท่อมีความดัน P1 ความเร็ ว v1 และ
ในส่วนท่อกว่างมีความดัน P2 ความเร็ ว v2

(ก) (ข)
รู ปที 8-16 ส่ วนของไหลเคลือนทีผ่านท่อจากตําแหน่ง ดังแสดงในรู ป (ก) ไปยังรู ป (ข)

จากทฤษฎีงานและพลังงานที กล่าวว่า “งานทีกระทําโดยแรงลัพธ์ต่ อระบบมีค่ า


เท่ากับการเปลียนพลังงานจลน์” ในรู ปที 8-16 แรงทีกระทําต่อระบบ คือ P1A1 และ P2A2 ซึงกระทํา
ทางซ้ายและทางขวา ตามลําดับ กับแรงเนืองจากแรงโน้มถ่วงของโลก เมือของไหลไหลไปตามท่อ
ผลทีได้เมือเทียบระหว่างรู ปทังสองก็คือ ยกของไหลส่วนทีแรเงาในรู ปที 8-16 (ก) ไปยังตําแหน่งใน
รู ปที 8-16 (ข) ปริ มาณของของไหลทีแรเงาไม่เปลียนแปลงเนืองจากการไหล เราสามารถหางาน W
ทีแรงลัพธ์กระทําต่อระบบได้ดงั นี คือ
1) งานเนืองจากแรงดัน P1A1 คือ P1A1x1
2) งานเนืองจากแรงดัน P2A2 คือ -P2A2x2 (เครื องหมายลบหมายถึงงานเนืองจาก
ระบบ)
232

3) งานเนืองจากแรงโน้มถ่วงของโลกซึงยกของไหลส่ วนทีแรเงาจากระดับความสูง
y1 ไปยังความสูง y2 คือ -mg(y2 - y1) เมือ m เป็ นมวลของของไหลส่ วนทีแรเงา เครื องหมายลบ
แสดงถึงงานทีระบบกระทําเพือต้านแรงโน้มถ่วง ดังนันงานลัพธ์ W ทีเกิดจากแรงลัพธ์กระทําต่อ
ระบบจะหาได้จากผลบวกทางพีชคณิ ตของแต่ละเทอมข้างบน คือ
W = P1A1x1 -P2A2x2 - mg(y2 - y1)
เนืองจาก A1x1 เท่ากับ A2x2 และเป็ นปริ มาตรของของไหลส่วนทีแรเงา ซึงมีค่า
เท่ากับ m/ เมือ  เป็ นความหนาแน่นของของไหลซึงคงที ดังนัน
m
W = (P1 - P2) ρ - mg(y2 - y1)
เนื องจากของไหลเคลือนทีจากตําแหน่ งที 1 ซึงมีความเร็ ว v1 ไปยังตําแหน่ งที 2
ซึงมีความเร็ ว v2 การเปลียนแปลงพลังงานจลน์ของของไหลก็คืองานทีใช้ในการเคลือนที ดังนัน
W = (Ek)1 - (Ek)2
1 1
= 2 mv 22 - 2 mv 12
1 1 m
 2 mv 22 - 2 mv 12 = (P1 - P2) ρ - mg(y2 - y1)
จัดรู ปแบบสมการใหม่ จะได้
1 1
P1 + 2 ρv 12 +gy1 = P2 + 2 ρv 22 +gy2=
1
หรื อ P + 2 v2 +gy = constant …..(8-22)
สมการที (8-22) เรี ยกว่า สมการเบอร์ นูลี (Bernoulli’s equation) ใช้ได้กบั ของ
ไหลทีไม่หนืด อัดไม่ได้ และไหลสมําเสมอ

ตัวอย่างที 8-12 นําไหลในท่อด้วยอัตราการไหลเท่ากับ 10 ลูกบาศก์เมตรต่อนาที ท่อนี ผ่านจุดสอง


จุดมีระดับต่างกัน 0.6 m ทีระดับสูงท่อมีเส้นผ่าศูนย์กลาง 0.3 m มีความดันนําเท่ากับ 105 N/m2
ส่วนจุดทีอยูร่ ะดับตําท่อมีเส้นผ่าศูนย์กลางเท่ากับ 0.15 m ทีจุดระดับตํานีจะมีความดันเท่าไร
วิธีทํา จากสมการต่อเนือง
v1A1 = v2A2
เมืออัตราการไหลของนําเท่ากับ 10 ลูกบาศก์เมตรต่อนาที = 0.16 m3/s ดังนัน
v1A1 = v2A2 = 0.16
สามารถคํานวณหา
233

0.16 0.16
v1 = A = 2 = 9.05 m/s
1 0 . 15
π 2 
 
0.16 0.16
และ v2 = A = 2 = 2.26 m/s
2 0 . 30
π 2 
 
สําหรับ y2 - y1 = 0.6 m , ความหนาแน่น  = 10 kg/m3 และ g = 9.8 m/s2
3

จากสมการเบอร์นูลี
1 1
P1 + 2 ρv 12 +gy1 = P2 + 2 ρv 22 +gy2=
1
หรื อ P1 = P2 + 2 ρ( v 22 - v 22 ) +g(y2 - y1)
1
แทนค่าจะได้ P1 = 105 + 2 103(2.262 - 9.052) + 103 9.8  0.6
= 6.79  104 N/m2 ตอบ

ประโยชน์ ของสมการเบอร์ นูลี (Application of Bernoulli’s equation)


เราสามารถนําสมการเบอร์นูลีมาประยุกต์ใช้ได้หลายอย่าง เช่น ทีฉี ดยากันยุง ทีฉี ดนําหอม
เครื องฉีดนําให้เป็ นละอองฝอย เป็ นต้น นอกจากนีเรายังสามารถใช้สมการเบอร์นูลีพิสูจน์หาความดั
ทีจุดใด ๆ ในของเหลวทีบรรจุในภาชนะปิ ดใด ๆ ดังแสดงในรู ปที 8-17 ถ้าความเร็ วทีจุดที 1 และ 2
มีค่าเท่ากับ v1 = v2 = 0 และความดันทีจุดที 2 คือ P2 = Pa ซึงเป็ นความดันบรรยากาศ

รู ปที 8-17 ของเหลวบรรจุอยูใ่ นภาชนะปิ ดใด ๆ

ดังนัน จากสมการเบอร์นูลี ในสมการที (8-22)


1 1
P1 + 2 ρv 12 +gy1 = P2 + 2 ρv 22 +gy2
234

ดังนันนัน เมือแทนค่าจะสามารถหาความดันทีจุดที 1 ได้ ดังนี


P1 = P2 + (h2 - h1) = Pa +gh
ซึงผลลัพธ์ทีได้จะให้ผลลัพธ์เช่นเดียวกับสมการที (8-5)

ทฤษฎีของเทอร์ ริเชลลี (Thorri Celli’s theorem)


ทฤษฎี เทอร์ ริ เชลลีกล่าวว่า “ของเหลวทีไหลออกมาจากรู ขา้ งถังบรรจุ ของเหลว จะมี
ความเร็ วเท่ากับของเหลวนันตกลงมาอย่างอิสระภายใต้แรงโน้มถ่วงของโลก จากระยะทางเท่ากับ
ความลึกของจุดนันในของเหลว” ดังแสดงในรู ปที 8-18

รู ปที 8-18 แสดงความเร็ วของของไหล

จากสมการเบอร์นูลี
1 1
P1 + 2 ρv 12 +gy1 = P2 + 2 ρv 22 +gy2
ในสภาพของของเหลวไหลจากรู ณ ตําแหน่งที 1 ทีความสูง h1 เมือวัดจากก้นถัง ความดัน
ในของเหลวจะเท่ากับความดันบรรยากาศ ดังนัน P1 = P2 = Pa สําหรั บความเร็ วของของเหลว
ทีตําแหน่งที 2 จะมีค่าเท่ากับศูนย์ และเมือแทนค่าในสมการเบอร์นูลี จะได้
1
Pa + 2 ρv 12 +gh1 = Pa + gh2
1 2
2 ρv 1 = g(h2 - h1) = gh
v1 = 2 gh …..(8-23)
หมายเหตุ: ความเร็ วจากการตกอย่างอิสระพิจารณาจาก v 12 = v 22 + 2gh เมือ v2 = 0
235

เครืองวัดเวนจรีู (Venturi meter)


เป็ นเครื องมือวัดความเร็ วของของไหลภายในท่อมีลกั ษณะ ดังรู ปที 8-19 ถ้ากําหนดให้ v1
และ v2 เป็ นความเร็ วของของไหลทีมีพืนทีภาคตัดขวาง A1 และ A2 ซึงมีความดันทีวัดโดยเครื องมือ
วัดความดัน G1 และ G2 คือ P1 และ P2 ตามลําดับ

รู ปที 8-19 เวนจูรีมิเตอร์ ใช้วดั ความเร็ วของของไหล

เราอาจหาความเร็ วของของไหลในรู ปผลต่ างของความดันได้ ถ้าพิจ ารณาจากสมการ


ต่อเนือง
v1 A1 A1
v2 A2= หรื อ v2 = A 2  v1
กรณี ทีท่อทังสองปลายอยูใ่ นแนวราบ ดังนันสมการเบอร์นูลี จะเป็ น
1 1
P1 + 2 ρv 12 +gy1 = P2 + 2 ρv 22 +gy2
1 1
P1 + 2 ρv 12 = P2 + 2 ρv 22
1 1 A1 2
P1 + 2 ρv 12 = P2 + 2 ρ A  v1 
 2 
1 A1 2 1
P1 - P2 = 2 ρ A  v1  - 2 ρv 12
 2 
2 ( P1 - P2 )
แก้สมการจะได้ v1 =
 A 12  2 
 2  -1
 A 2  
2 ( P1 - P2 )
A2 =
ρ( A12 - A 22 )
236

และมีอตั ราการไหลเท่ากับ
2 ( P1 - P2 )
A1v1 = A1A2
ρ( A12 - A 22 )

ตัวอย่ างที 8-13 นํามันมีความหนาแน่น 8.5102 kg/m3 ไหลในท่อขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 3 cm


มีความดัน 1.6105 N/m2 และไหลในท่อขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 2 cm มีความดัน 1.0 105 N/m2
จงคํานวณหาอัตราการไหลของนํามันในท่อ
วิธีทํา จากโจทย์กาํ หนด P1 = 1.6105 N/m2 และ P2 = 1.0105 N/m2
ดังนัน P1 - P2 = 6.0  104 N/m2
π 2
 2 
 A1  2  4 ( 0.03) 
และ  A2  = π = 5.06
   ( 0.02 ) 2 
4 
2 ( P1 - P2 )
จาก v1 =
 A 12  2 
 2  -1
 A 2  
2610 4
= = 5.89 m/s
8.510 2 5.06
ดังนัน อัตราการไหลของนํามัน = A1v1
π
= 4 ( 0.03) 2 5.89
= 4.16  10-3 m3/s
237

แบบฝึ กหัด

1. ลูกสูบของแม่แรงไฮดรอลิกมีเส้นผ่าศูนย์กลาง 14 cm จงหาความกดดันเป็ น N/m2 เพือใช้ยก


รถยนต์มวล 2,000 kg
2. ถ้าของเหลวในมานอมิเตอร์ปลายเปิ ดดังรู ป คือปรอท และมีค่า h = 5 cm ความดันบรรยากาศ
เท่ากับ 970 mbar

รู ปภาพ สําหรับโจทย์ขอ้ ที 2

(ก) ความดันสัมบูรณ์ทีก้นหลอดแก้วรู ปตัวยูเป็ นเท่าไร


(ข) ความดันสัมบูรณ์ในหลอดปลายเปิ ดทีความลึก h = 5 cm จากผิวเป็ นเท่าไร
(ค) ความดันสัมบูรณ์ของก๊าซในถัง A เป็ นเท่าไร
(ง) อ่านความกดดันของก๊าซจากเครื องมือวัดได้กีเซนติเมตรของปรอท
(จ) ความดันทีอ่านได้นีเท่ากับกีเซนติเมตรของนํา
3. ความดันค่าหนึงดันนําให้สูง 60 cm แต่ดนั นําเกลือได้สูง 50 cm ถามว่านําเกลือมี
ความหนาแน่นเท่าใด
4. ลูกสูบของแม่แรงไฮดรอลิกมีรัศมี 5 cm และ 30 cm
(ก) จะต้องออกแรงทีลูกสูเล็กเท่าไร จึงจะได้แรงดันทีลูกสูบใหญ่ 5, 000 N
(ข) ความดันทีลูกสูบใหญ่เท่ากับเท่าใด
(ค) ความดันทีลูกสูบเล็กเท่ากับเท่าใด
238

5. วงลวดเหล็กเส้นรอบวงยาว 160 mm หย่อนให้แตะผิวแอลกอฮอล์ ปรากฏว่าต้องออกแรงดึง


อันเนื องจากแรงตึงผิว 7.22  10-3 จึงจะดึงวงลวดออกจากแอลกอฮอล์ได้ จงหาความตึงผิว
ของแอลกอฮอล์
6. หลอดแก้วปลายปิ ดมีพืนทีภาคตัดขวาง 1 cm2 ติดตังอยู่กบั กระบะสูง 1 cm ซึงกระบะอ่างนี มี
พืนทีหน้าตัด 100 cm2 เมือเติมนําลงทางปลายหลอดแก้วจนสูง 100 cm จากก้นของกระบะอ่าง
ดังรู ป

รู ปภาพ สําหรับโจทย์ขอ้ ที 6

(ก) แรงดันของนําทีก้นกระบะเป็ นเท่าไร


(ข) นําทังหมดมีนาํ หนักเท่าไร
7. แท่งไม้รูปลูกบาศก์ยาวด้านละ 0.1 m ลอยอยู่ร ะหว่างนํากับนํามันดังรู ป ด้านล่างอยู่ตากว่

ผิวสัมผัสระหว่างนํามันและนํา 0.02 m ถ้านํามันมีความหนาแน่น 600 kg/m3 จงหา

รู ปภาพ สําหรับโจทย์ขอ้ ที 7

(ก) มวลของแท่งไม้
(ข) ความดันเกจทีด้านล่างของแท่งไม้
8. หลอดแก้วมีเส้นผ่าศูนย์กลางภายนอกและภายในเท่ากับ 4 และ 3.5 cm ตามลําดับ จุ่มอยู่ในนํ
โดยหลอดแก้ว อยู่ในแนวดิ ง จงหาแรงดึ งที กระทําต่ อหลอดแก้ว อัน นี เนื องจากแรงตึ งผิว
กําหนดความตึงผิวของนําเท่ากับ 0.074 N/m
239

9. จงคํา นวณหาความตึ ง ผิว ของของเหลวซึ งขึ น ไปได้สู ง 50 cm ในหลอดแก้ว ขนาด


เส้นผ่าศูนย์กลางภายใน 0.04 mm ความหนาแน่ นของของเหลวเท่ากับ 8.0  102 kg/m2 มุม
สัมผัสระหว่างของเหลวกับหลอดแก้วเท่ากับ 20
10. จงคํานวณหาพืนทีหน้าตัดของก้อนนําแข็งหนา 30 cm ซึงสามารถรองรับคนหนัก 784 N ไว้ได้
โดยไม่จม ถ้าความหนาแน่ นของก้อนนําแข็งเท่ากับ 9.17  102 kg/m3 ละนําแข็งลอยอยูใ่ น
นําจืด
11. โลหะผสมทองและอลูมิเนี ยมหนัก 49 Nแขวนกับตาชังสปริ ง แล้วจุ่มโลหะนี ลงในอ่างนําอ่า
นําหนักได้ 32.9 N จงหานําหนักของทองในโลหะผสมนี กําหนดให้ความหนาแน่นของทอ
และอลูมิเนียมเท่ากับ 1.93  104 kg/m3 และ 2.5  103 kg/m3 ตามลําดับ
12. วัตถุ A แขวนกับตาชังสปริ ง D และจุ่มอยู่ในของเหลว C ทีบรรจุอยู่ในภาชนะ B ดังรู ป
ถ้านําหนักของภาชนะ B เท่ากับ 9.8 N นําหนักของของเหลวเท่ากับ 14.7 N ตาชังสปริ ง D
อ่านค่าได้ 24.5 N และเครื องชัง E อ่านค่าได้ 73.5 Nปริ มาตรของวัตถุ A เท่ากับ 2.710-3 m3
จงหาความหนาแน่นของของเหลว C

รู ปภาพ สําหรับโจทย์ขอ้ ที 12
240

13. ถ้าต้องการให้นาํ พุ่งออกจากปลายท่อนําดับเพลิงด้วยความเร็ ว 24 m/s ดังรู ป จงหาความดันเกจ


ทีจุดซึงอยู่ห่างจากปลายท่อ A เล็กน้อย กําหนดให้เส้นผ่าศูนย์กลางของท่อ A และ B มีค่ า
เท่ากับ 8 และ 4 cm ตามลําดับ

รู ปภาพ สําหรับโจทย์ขอ้ ที 13

14. จงหาความเร็ วปลายของทรงกลมรัศมี 2 mm ในกลีเซอรี น กําหนดให้ความหนาแน่นของเหล็ก


และกลีเซอรี นเท่ากับ 7.9103 kg/m3 และ 1.3  103 kg/m3 ตามลําดับ และค่าสัมประสิ ทธิของ
ความหนืดของกลีเซอรี นเท่ากับ 0.833 Ns/m2
15. จงหาความเร็ วปลายของฟองอากาศขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 1 mm กําลังลอยขึนในของเหลวทีมี
สัมประสิทธิความหนืด 1.5 cent-poise และมีความหนาแน่น 9 102 kg/m3 ในทํานองเดียวกัน
ถ้าของเหลวนันเป็ นนําซึงค่าความหนืด 0.656 centi-poise ความเร็ วปลายของฟองอากาศจะเป็ น
เท่าไร
16. ท่อส่งนําอันหนึง ดังรู ป เมือวัดพืนทีหน้าตัดของรู ใหญ่ A และท่อรู เล็ก B ได้ 0.02 และ 0.01 m2
ตามลําดับ ถ้าตําแหน่ งศูนย์กลางท่อเล็ก B อยู่ตากว่
ํ า A เท่ากับ 0.1 m ขณะทีมีการส่ งนําด้ว
ปริ มาณ 2 m3/s และวัดความดันในท่อ B ได้ 7,000 N/m2 จงหาความดันในท่อ A

รู ปภาพ สําหรับโจทย์ขอ้ ที 16

17. เครื องบินลําหนึ งต้องมีแรงยก 20 N/m2 จึงจะสามารถบินขึนได้ ถ้าความเร็ วของอากาศทีพัด


ผ่านส่วนล่างของปี กเท่ากับ 300 m/s จงหาความเร็ วของอากาศทีพัดผ่านส่วนบนของปี กเพือให้
เกิดแรงยก 20 N/m2 กําหนดความหนาแน่นของอากาศในขณะนันเท่ากับ 1.29103 kg/m3

You might also like