You are on page 1of 11

ความตึงผิว ความหนืด พลศาสตร์ของของไหล

จัดทำโดย
นางสาวกุสุมา โพธิ์ ไทรย์ ม.5/1 เลขที่9
นางสาวทิพวรรณ ดีดวงพันธ์ ม.5/1 เลขที่14
ความตึงผิว
แรงดึงผิว (Surface tension force) คือ แรงที่พยายามยึดผิวของของเหลวไว้ แรง
ดึงผิวจะมีทิศขนานผิวของเหลวและตั้งฉากกับเส้นขอบของวัตถุที่สมั ผัสของเหลวดังรู ป
 ถ้าเรานำลวดเล็กๆ มาขดเป็ นวงกลมแล้วนำด้ายซึ่ งทำเป็ นวงกลมดังรู ป มาผูกไว้  เมื่อจุ่มลง

ในน้ำสบู่แล้วยกขึ้นมาจะมีลกั ษณะดังรู ปที่ 1 คือผิวของสบู่จะถูกแบ่งออกเป็ น 3 ส่ วน 


ล้อมรอบด้วยด้ายและลวด 2 ส่ วน และส่ วนที่ลอ้ มรอบด้วยด้ายอย่างเดียวอยูต่ รงกลาง  เมื่อ
เอาเข็มแทงตรงกลางส่ วนที่สามนี้  วงของด้ายจะเป็ นดังรู ปที่ 2   เหมือนกับว่าด้ายถูกดึง
ออกด้วยแรงที่ต้ งั ฉากกับด้านในทุกทิศทาง  ซึ่งอธิบายได้วา่ เมื่อฟองสบู่ยงั ไม่ขาด   แรง
ลัพธ์ที่กระทำต่อด้ายทุกจุดมีค่าเป็ นศูนย์ คือด้านนอกเท่ากับด้านใน  แต่เมื่อเราทำให้ผวิ ด้าน
ในขาด  แรงตึงผิวด้านในหรื อแรงตึงด้านในหมดไปเหลือแต่ดา้ นนอก  จึงดึงด้ายออกมา
เป็ นรู ปวงกลม
 ความตึงผิว (Coefficient of surface tension) คือ ความพยายามในการยึดผิวของเหลว มี
สัญลักษณ์ g  
 ในรู ป PQRS เป็ นโครงลวดที่มีลวด AB ปิ ดอยูอ่ ีกด้านหนึ่ง ในตอนแรกเส้นลวด AB อยูต่ ิดกับลวด  
QR    หลังจากแช่โครงลวดนี้ลงในน้ำสบู่   แล้วดึงลวด AB ไปทางซ้ายด้วยแรง F ก็จะทำให้เกิดฟิ ล์มสบู่ใน
บริ เวณ AQRB 
 ขณะหนึ่งให้ลวด AB อยูท่ ี่ตำแหน่ง CD และแรง F ยังคงดึงลวด AB ต่อไปจนตำแหน่งที่แสดงในรู ป ถ้าให้
ความยาวของลวด AB เป็ น L และระยะระหว่าง CD กับ AB เป็ น S   จะได้วา่ พื้นที่ของฟิ ล์มสบู่ที่เกิดขึ้น
ใหม่เป็ น SL เพราะว่าพลังงานที่ใช้ในการสร้างพื้นผิว แปรผันโดยตรงกับพื้นที่ของพื้นผิวที่สร้างนั้น โดยมีความ
ตึงผิว g  เป็ นค่าคงตัวของการแปรผัน ดังนั้นถ้าให้ E เป็ นพลังงานที่ใช้ในการเพิ่มพื้นผิว จะได้
 E = (g) (SL)
 แต่งานที่ใช้ในการดึงเส้นลวด  AB เท่ากับ ผลคูณระหว่างแรงกับระยะทางที่เส้นลวด AB เคลื่อนที่ตามแนวแรง
จึงได้  
 E = FS
 เพราะว่าพลังงานในสมการทั้งสองข้างบนเท่ากัน จึงได้ (g) (SL) = FS
 ทำให้ได้สมการความตึงผิวเป็ นเมื่อ F เป็ นแรงดึงผิว
และ L เป็ นความยาวของผิวสัมผัส
 ความตึงผิวของของเหลวแต่ละชนิดที่อุณหภูมิเดียวกัน มีค่าไมเท่ากัน
สำหรับของเหลวแต่ละชนิดหนึ่ง ความตึงผิวจะเปลี่ยนไปเมื่อของเหลวมี
วารเจือ เช่น น้ำเกลือหรื อสบู่จะมีความตึงผิวน้อยกว่าน้ำ และความตึงผิว
จะลดลงเมื่ออุณหภูมิของของเหลวเพิม่ ขึ้นดังตาราง ที่แสดงความตึงผิว
ของของเหลวบางชนิด ที่อุณหภูมิ    
ความตึงผิวของของเหลวบางชนิด ที่อุณหภูมิ ของเหลวความตึง
ผิว(N/m)ปรอท 0.4350น้ำ 0.0728กลีเซอรอล 0.0631
เบนซิ น 0.0289เอทิลแฮลกอฮอล์ 0.0223 
ความหนืด
 ความหนืด คือค่าบ่งชี้คุณสมบัติความต้านทานการไหลในตัวของไหล ซึ่งทำให้เกิดการ
เปลี่ยนรู ปจากการกระทำของความเค้นเฉื อนหรื อความเค้นภายนอก ความหนืดนี้ อธิบายถึง
ความสามารถในการต้านทานการไหลภายในตัวของไหล และอาจจะถูกพิจารณาให้เป็ นตัว
ชี้วดั ความเสี ยดทานของไหลได้ ยิง่ ของไหลมีความหนืดต่ำมากเท่าไร มันก็จะยิง่ มีความ
สามรถในการเปลี่ยนรู ปได้มากเท่านั้นสำหรับคำเรี ยกใช้โดยทัว่ ไป อาจจะใช้คำว่า "ความ
หนา" ตัวอย่างเช่น น้ำ ที่มีความหนืดต่ำอาจจะถูกเรี ยกว่า "บาง" ในขณะที่น ้ำผึ้งซึ่งมี
ความหนืดสูงนั้นอาจจะถูกเรี ยกว่า "หนา" สำหรับของไหลในความเป็ นจริ งนั้น (ยกเว้น
ซูเปอร์ฟลูอิด) จะมีค่าความหนืดในตัว แต่อย่างไรก็ตาม ในทางอุดมคติ ของไหลอาจจะถุก
สมมติให้ไร้ความหนืด เรี ยกว่า ของไหลในอุดมคติ หรื อ ของไหลไร้ ความหนืด สำหรับวิชา
ที่ศึกษาเกี่ยวกับของไหลคือ วิทยาศาสตร์การไหล
 ความหนืด (Viscosity)
           ความหนืด (Viscosity) เป็ นค่าที่บอกถึงคุณสมบัติการต้านการไหลของน้ำมันหล่อลื่น ยิง่ มีค่ามากก็หมายถึงน้ำมัน
หล่อลื่นนั้นเหนียวข้นมากหรื อหนืดมาก ยิง่ มีค่าน้อยก็หมายถึงความหนืดน้อย
          ค่าความหนืดมีมาตรฐานกำหนดอยูห่ ลายมาตรฐานด้วยกันตามแต่หน่วยงานหรื อองค์กรที่เกี่ยวข้องเป็ นผูกำ
้ หนด ซึ่งทำให้ค่า
ความหนืดแต่ละมาตรฐานมีค่าที่แตกต่างกันออกไป อาทิ มาตรฐาน ISO, SAE (พบในน้ำมันหล่อลื่นของยานยนต์), SUS
(ส่ วนใหญ่เป็ นของอเมริ กา),  AGMA (พบในน้ำมันเกียร์อุตสาหกรรม), Engler, Redwood เป็ นต้น
          สำหรับมาตรฐานที่นิมใช้กนั หรื อพบเห็นกันมาก ได้แก่
 ISO (International Organization for Standardization) - เป็ นมาตรฐานที่นิยมใช้กนั
มากเป็ นสากล โดยใช้วิธีการวัดที่อุณหภูมิมาตรฐาน 40 oC มีหน่วยเป็ น เซนติสโตรก (Centistroke, cSt) แล้วกำหนด
เป็ นลำดับตัวเลขเรี ยกว่า ISO VG (ISO Viscosity Grade) ซึ่งพอจะลำดับได้ ดังนี้ ISO VG 2, 3, 5, 7,
10, 15, 22, 32, 46, 68, 100, 150, 220, 320, 460, 680, 1000, 1500
 SAE (The American Society of Automotive Engineers) - เป็ นมาตรฐานที่กำหนด
ขึ้นโดยสมาคมวิศวกรยานยนต์แห่งสหรัฐอเมริ กา วัดที่อุณหภูมิ 100 oC โดยมีการกำหนดค่าความหนืดทั้งแบบเกรดเดียว
(monograde) และเกรดรวม (multigrade) แยกเป็ นน้ำมันเครื่ องและน้ำมันเกียร์ยานยนต์ ยกตัวอย่างเช่น 
สำหรั บน้ำมันเครื่ องเกรดเดียว (monograde) : SAE 0W, 5W, 10W, 15W, 20W, 25W, 20, 30,
40, 50, 60
สำหรั บน้ำมันเครื่ องเกรดรวม (multigrade) : SAE 15w-40, 20W-50, 5W-40, 10W-30, 15W-
50 เป็ นต้น
สำหรั บน้ำมันเกียร์ ยานยนต์ monograde : SAE 70W, 75W, 80W, 85W, 90, 140, 250
สำหรั บน้ำมันเกียร์ ยานยนต์ multigrade : SAE 80W-90 เป็ นต้น
พลศาสตร์ของของไหล
 พลศาสตร์ของของไหล คือศึกษาการเคลื่อนที่
  ของของไหลได้แก่ ของเหลวและก๊าซ
 7.1 ของไหลในอุดมคติ ( ideal flow ) ซึ่งมีสมบัติดงั นี้
1. ของไหลมีการไหลอย่างสม่ำเสมอ ( steady flow ) หมายถึง ความเร็ วของ
ทุกอนุภาค ณ ตำแหน่ง
หนึ่งๆ ในของไหลมีค่าคงตัว โดยความเร็ วของอนุภาคของของไหลเมื่อ
ไหลผ่านจุดต่างๆ กันจะเท่ากันหรื อต่างกันก็ได้
2. ของไหลมีการไหลโดยไม่หมุน ( irrotational flow ) กล่าวคือ บริ เวณโดยรอบ
จุดหนึ่งๆ ในของไหล
จะมีอนุภาคของของไหลเคลื่อนที่ดว้ ยความเร็ วเชิงมุมรอบจุดนั้นๆ เลย
3. ของไหลมีการไหลโดยไม่มีแรงต้านเนื่องจากความหนืดของของไหล
( nonviscous flow ) หมายความ
ว่า ไม่มีแรงต้านภายในเนื้ อของของไหลมากระทำต่ออนุภาคของของไหล
4. ของไหลไม่สามารถอัดได้ ( incompressible flow ) หมายความว่า ของไหล
มีปริ มาตรคงตัวโดยปริ มาตรของไหลแต่ละส่ วนไม่วา่ จะว่าจะไหลผ่านบริ เวณ
ใดยังคงมีความหนาแน่นเท่าเดิม
7.2 การไหลของของไหลในอุดมคติ&7.3 สมการความต่ อเนื่อง
อนุภาคของของไหล มีการเคลื่อนที่อย่างเป็ นระเบียบ โดยอนุภาคหนึ่งจะเคลื่อนที่ตาม เส้นกระแส เส้นหนึ่ง โดยเส้นกระแสจะ
ไม่ตดั กันเลย
ถ้าให้เส้นกระแสจำนวนหนึ่งประกอบกันเป็ นมัดดังรู ป 9.17 จะเรี ยกมัดของเส้นกระแสนี้ วา่ หลอดการไหล ( tube
flow ) หลอดการไหลนี้ เสมือนเป็ นท่อที่มีของไหลไหลเข้าทางปลายหนึ่งและไหลออกอีกปลายหนึ่ง
 สมการความต่ อเนื่อง
 จึงสรุ ปได้วา่ ผลคูณของพื้นที่หน้าตัดของไหลไหลผ่านกับอัตราเร็ วของ
ของไหลที่ผา่ นไม่วา่ จะเป็ นตำแหน่งใดในหลอดการไหลมีค่าคงที่น้ นั
คือ AV = ค่าคงที่ซ่ ึงเรี ยกว่า อัตราการไหล ( flow rate หรื อ
volume flux) ใช้สญ ั ลักษณ์ แทนด้วย Qดังนั้น Q = AV มีหน่วย
เป็ น ลบ.ม ต่อ วินาที
จากอัตราการไหลจึงพอสรุ ปได้วา่ อัตราเร็ วของของไหลแปรผกผันกับพื้นที่
หน้าตัดของหลอดการไหล
 สมการของแบร์ นูลลี
-หลักของแบร์ นูลลี
“เมื่อของไหลที่เคลื่อนที่ในแนวระดับมีอตั ราเร็ วเพิ่มขึ้น  ความดันในของไหล
จะ
  ลดลงและเมื่อของไหลมีอตั ราเร็ วลดลง  ความดันในของไหลจะเพิ่มขึ้น”
 - สมการของแบร์ นูลลี (Bernoulli’s  equation)
“ผลรวมของความดัน  พลังงานจลน์ต่อหน่วยปริ มาตร  และพลังงานศักย์ต่อ
หน่วยปริ มาตร  ณ  จุดใด ๆ  ภายในท่อที่มีของไหลผ่านมีค่าคงตัว”

You might also like