You are on page 1of 18

Lecture8 Weld Connection Introduction

ปัจจุบันการประกอบโครงสร้างเหล็กมักทําโดยวิธีการเชื่อมเป็นส่วนใหญ่ โดยการต่อโดยการเชื่อมนี้
Topics เป็นวิธีการต่อแผ่นโลหะให้ติดกันโดยใช้ความร้อนเผาโลหะตรงบริเวณรอยต่อให้ละลายแล้วพร้อม
กันนั้นใช้ลวดเชื่อมหลอมติดแผ่นโลหะนั้นเข้าด้วยกัน วิธีการเชื่อมด้วยลวดเชื่อมที่นิยมกันทั่วไปมี
• Introduction อยู่ 3 วิธี
1. การเชื่อมแบบแท่ง (Shielded metal arc welding , SMAW)
• Type of Welding , Electrode , Symbol
2. การเชื่อมแบบจุ่ม (Submerged arc welding , SAW)
• Failure of Welding , Effective Weld Area 3. การเชื่อมแบบใช้ก๊าซ (Gas metal arc welding , GMAW)
การเชื่อมแบบแท่ง จะเป็นลักษณะการเชื่อมด้วยมือโดยใช้ธูปเชื่อม ซึ่งประกอบด้วยแกนลวดหุ้ม
• Welding Connection Design ด้วยฟลักซ์ (flux) ความร้อนที่ปลายธูปจะทําให้ลวดและฟลักซ์หลอมละลาย ตัวลวดจะทําหน้าที่
เป็นตัวประสานให้ชิ้นงานเชื่อมติดกัน ส่วนฟลักซ์จะเปลี่ยนเป็นก๊าซที่ครอบคลุมบริเวณรอยเชื่อม
และ บางส่วนจะเปลี่ยนเป็นกาก (Slag) เกาะติดกับผิวรอยเชื่อมซึ่งสามารถเคาะออกได้ง่าย การ
เชื่อมด้วยวิธีนี้จะต้องมีการเปลี่ยนลวดเชื่อมเป็นช่วงๆทําให้รอยเชื่อมไม่สม่ําเสมอได้แต่เป็นวิธีเชื่อม
ที่สะดวกจึงมักนิยมใช้ในงานสนามทั่วไป

Introduction Introduction
การเชื่อมแบบจุ่ม จะเป็นลักษณะการเชื่อมแบบอัตโนมัติโดยฟลักซ์จะถูกกองไว้ในบริเวณที่เชื่อม
ก่อ นปลายลวดเชื่ อ มจะจุ่ ม อยู่ ใ นบริ เ วณฟลั ก ซ์ นี้ ลวดเชื่ อ มจะถู ก จ่ า ยออกมาอย่ า งต่ อ เนื่ อ งใน
ระหว่างการเชื่อมทําให้สามารถเชื่อมได้อย่างรวดเร็วและควบคุมคุณภาพรอยเชื่อมได้อย่างดีเป็น
วิธีการเชื่อมที่นิยมในโรงงาน

การเชื่อมแบบใช้ก๊าซ โดยวิธีนี้จะใช้ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เป็นก๊าซคลุม แทน การใช้ฟลักซ์ เส้น


ลวดเชื่อมจะถูกส่งจากขดลวดไปยังท่อเชื่อมทําให้สามารถทําการเชื่อมได้อย่างต่อเนื่องส่วนมักใช้
กับการเชื่อมในโรงงาน

SMAW
Introduction Type of Weld
ชนิดของจุดต่อสามารถแบ่งออกได้เป็น 3 แบบด้วยกัน คือ
1. การเชื่อมต่อแบบทาบ (Fillet Weld) เป็นการต่อแผ่นเหล็กที่ตั้งฉากกันหรือซ้อนกัน แล้ว
เชื่อมตามแนวยาวหรือตามขวาง รอยเชื่อมต่อแบบฟิลเลท สามารถรับได้ทั้งแรงดึง แรงอัด
แรงเฉือน
2. การเชื่อมต่อแบบชน (Butt Weld or Groove Weld) เป็นการเชื่อมต่อตรงปลายขอบ
ชิ้นส่วนที่นํามาวางชนกัน การเตรียมรอยต่อแบบนี้ต้องเตรียมขอบปลายที่จะเชื่อมไว้ก่อน
ล่วงหน้าลักษณะการเชื่อมมีทั้งแบบเชื่อมในร่องลึกตลอดความหนาของชิ้นส่วนที่นํามาต่อ
SAW หรือ เชื่อมในร่องลึกเพียงบางส่วนของความหนาก็ได้ รอยเชื่อมแบบนี้จะใช้สําหรับแรงดึง
หรือ แรงอัดโดยตรง
3. การเชื่อมอุดแบบปลั๊ก (Plug or Slot Weld) เป็นการต่อแผ่นเหล็ก 2 ชิ้นที่นํามาซ้อนกันโดย
การเจาะรูหรือทําช่องเตรียมไว้ก่อน แล้วจึงเชื่อมอุดลงในช่องให้ติดกัน การเชื่อมลักษณะนี้คือ
การเชื่อมต่อแบบทาบนั่นเอง สามารถรับแรงเฉือนได้ดี แต่ชิ้นส่วนอาจเกิดการบิดงอหรือโก่ง
GMAW ตัว

Type of Weld Type of Weld


Electrode Electrode
ลวดเชื่อมที่ใช้เป็นตัวประสานเพื่อเชื่อมต่อส่วนของโครงสร้าง ปกติบอกเป็นสัญลักษณ์ ดังนี้ AWS ได้กําหนดการจับคู่ระหว่างลวดเชื่อมกับชิ้นงานไว้ดังตารางที่ 8.1 โดยในการจับคู่นี้จะมีผลให้
E_ _ X X ซึ่งตัว E หมายถึง ลวดเชื่อมหรือ อิเล็กโทรด (electrode) ตัวถัดไปเป็นตัวเลข 2 ตัว กําลังของรอยเชื่อมมีค่าสูงกว่ากําลังของวัสดุชิ้นงานดังนั้นกําลังของรอยต่อจึงขี้นกับวัสดุชิ้นงาน ใน
ยกตัวอย่างเช่น 70 หมายถึง ลวดเชื่อมนี้สามารถรับแรงดึงประลัยได้ไม่น้อยกว่า 70 ksi ส่วนตัว รอยต่อที่ประกอบด้วยชิ้นงาน ที่มีกําลังวัสดุต่างกัน สามารถใช้ลวดเชื่อมที่จับคู่กับวัสดุที่มีกําลังสูง
อักษร XX บอกถึงคุณลักษณะการเคลือบผิวหรือสารที่ใช้เป็นเปลือกหุ้มลวดเชื่อมรวมถึงท่าหรือ กว่า หรือ ลวดเชื่อมที่จับคู่กับวัสดุที่มีกําลังต่ํากว่าที่ทําให้เกิดไฮโดรเจนตกค้างต่ําได้
ตําแหน่งที่เชื่อมลวด ดังนั้นเมื่อนําลวดมาใช้ต้องศึกษาและเลือกให้เหมาะสมกับกําลังต้านทานของ
ชิ้นโลหะ
E60 ใช้กับเหล็กที่มีกําลังจุดครากไม่เกิน 42 ksi เช่นเหล็กชนิด A36
E70 ใช้กับเหล็กทีมีกําลังจุดครากไม่เกิน 55 ksi เช่น เหล็กชนิด A36 (Fy = 36 ksi ,
A572 Grade 50 (Fy = 50 ksi)
FExx คือ กําลังรับแรงดึงประลัยของลวดเชื่อม
เท่ากับ 70 ksi หรือ 4,900 ksc. สําหรับลวดเชื่อม E70
เท่ากับ 60 ksi หรือ 4,200 ksc. สําหรับลวดเชื่อม E60

Electrode Symbol
ตารางที่ 8.1 การจับคู่ (Matching) ของชิ้นงานเชื่อมกําหนดโดย AWS D 1.1
สั ญ ลั ก ษณ์ ก ารเชื่ อ มตามมาตรฐานอเมริ กั น
(American Welding Society , AWS) ซึ่ง
มาตรฐาน AISC ได้นํามาใช้เป็นการเขียนบอก
น้อยกว่าหรื อเท่ากับความหนา 19 มม. ให้ ช่ า งก่ อ สร้ า งได้ ท ราบถึ ง ลั ก ษณะ วิ ธี ก าร
เชื่ อ ม ขนาดขาเชื่ อ ม ความยาวรอยเชื่ อ ม
ตําแหน่งที่จะเชื่อม ลวดเชื่อมที่จะใช้ เป็นต้น
Symbol Failure of Welding , Effective Weld Area
หน่วยแรงต่างๆที่เกิดบนรอยเชื่อม

Failure of Welding , Effective Weld Area Failure of Welding , Effective Weld Area
การวิบัติของรอยเชื่อมอาจเกิดได้ 2 แบบ คือ การวิบัติที่รอยเชื่อม หรือ การวิบัติที่แผ่นเหล็กนํามา สําหรับการเชื่อมแบบต่อทาบที่มีขนาดขาเชื่อมเท่ากัน ระยะความหนาประสิทธิผลจะเป็นระยะที่
ต่อ การวิบัติทั้งสองแบบเกิดจากแรงกระทําในระนาบใดระนาบหนึ่ง เช่น แรงดึง , แรงอัด , แรง สั้นที่สุดที่วัดจากมุมของการเชื่อมไปยังผิวเชื่อมสมมุติ ซึ่งเป็นผิวเชื่อมในแนวเรียบที่วัดจากขาเชื่อม
เฉือน ซึ่งอาจอยู่ในระนาบของรอยเชื่อมหรือในระนาบของแผ่นเหล็ก จากรูปแสดงระนาบการวิบัติ หนึ่งไปยังขาเชื่อมอีกอันหนึ่ง นั่นคือ ระยะความหนาประสิทธิผล มีค่าเท่ากับ 0.707 เท่าของขนาด
ของรอยเชื่อม หรือ ที่แผ่นเหล็กเมื่อรับแรงเฉือนโดยแผ่นเหล็กอาจเกิดการวิบัติที่ระนาบ 1-1 หรือ ขาเชื่อมเมื่อเชื่อมด้วยวิธี SMAW ( แต่ถ้าเชื่อมด้วยวิธี SAW จะให้ค่ามากขึ้นอีกเล็กน้อย) ส่วนการ
3-3 และ รอยเชื่อมเกิดการวิบัติที่ระนาบ 2-2 ซึ่งเป็นระนาบที่มีพื้นที่น้อยที่สุด ที่เรียกว่า เนื้อที่ เชื่อมแบบต่อทาบที่มีขนาดขาไม่เท่ากัน ระยะความหนาประสิทธิผลจะเป็นระยะตั้งฉากที่วัดจาก
ประสิทธิผลของรอยเชื่อม โดยหาได้จาก ผลคูณของความยาวของรอยเชื่อมกับระยะความหนา มุมของการเชื่อมไปยังผิวเชื่อมสมมุติดังกล่าวแล้ว
ประสิทธิผล Throat = Size x Cos 45 Failure
plane
= (0.707)(Size) P
size

45 P
L
size size
Failure of Welding , Effective Weld Area Failure of Welding , Effective Weld Area
สําหรับการเชื่อมแบบต่อชน และ เชื่อมลึกตลอดความหนาของชิ้นส่วน
เนื้อที่ประสิทธิผล = (ความหนาของชิ้นส่วนที่บางกว่า)(ความยาวของการเชื่อม)
สําหรับการเชื่อมในรูหรือในช่อง
เนื้อที่ประสิทธิผล = เนื้อที่หน้าตัดของรูหรือช่องที่รับแรงกระทํา

1. รอยเชื่อมแบบร่อง (Groove Welds)


พื้นที่ประสิทธิผล ของรอยเชื่อมแบบร่องมีค่า Aw = Le x te
โดยที่ Le คือ ความยาวประสิทธิผลของรอยเชื่อม (ซม.) หรือ ความยาวของรอยเชื่อมบนชิ้นงาน
te คือ ความหนาประสิทธิผลของรอยเชื่อม (ซม.) (ดูได้จากรูป หรือ ตาราง J2.1)
กรณีรอยเชื่อมลึกเต็มหน้า te คือ ความหนาของชิ้นงานที่น้อยกว่า
กรณีรอยเชื่อมลึกไม่เต็มหน้า te คือ D – 3 เมื่อ 45 <  < 60
te คือ D เมื่อ > 60

Failure of Welding , Effective Weld Area Failure of Welding , Effective Weld Area
ความหนาประสิทธิผลน้อยที่สุดของรอยเชื่อม
กรณีรอยเชื่อมแบบลึกไม่เต็มหน้าของชิ้นงาน ความหนาประสิทธิผลน้อยที่สุดได้กําหนดให้มีค่าตาม
ตาราง 8.2
ตารางที่ 8.2 ความหนาประสิทธิผลน้อยที่สุดของรอยเชื่อมแบบร่อง
ความหนาของชิ้นงานที่ ความหนาประสิทธิผลน้อยสุด
บางกว่า (t) (มม.) ของรอยเชื่อมแบบร่อง (มม.)
t 6 3
6 < t  13 5
13 < t  19 6
19 < t  38 8
38 < t  57 10
57 < t  150 13
t > 150 16
Failure of Welding , Effective Weld Area Failure of Welding , Effective Weld Area
2. รอยเชื่อมแบบพอก (fillet Welds)
พื้นที่ประสิทธิผล ของรอยเชื่อมแบบร่องมีค่า Aw = Le x te te คือ ความหนาประสิทธิผลของรอยเชื่อม (ซม.) หรือ ระยะที่สั้นที่สุดของรอยเชื่อมไปยังผิวของ
โดยที่ Le คือ ความยาวประสิทธิผลของรอยเชื่อมแบบพอก (ซม.) โดยมีข้อกําหนดดังต่อไปนี้ รอยเชื่อม
(a.) กรณีออกแบบโดยวิธีกําลัง Le  4a หรือ มิฉะนั้น a  Le / 4 (a.) กรณีของขนาดขาเชื่อมเท่ากัน te = 0.707a
(b.) กรณีเหล็กแบนรับแรงดึงที่มีรอยเชื่อมตามแนวยาวเท่านั้น Le  w โดยที่ w เป็นระยะตั้งฉาก (b.) กรณีขนาดขาเชื่อมไม่เท่ากัน te = ab / (a2+b2)0.5
ระหว่างรอยเชื่อม (c.)กรณีการเชื่อมแบบจุ่ม te = a เมื่อ a 10 มม. และ 0.707a + 3 เมื่อ a > 10 มม.
(c.) กรณีเชื่อมรับแรงที่ปลาย (รอยเชื่อมตามแนวยาวขนานกับแนวแรงเพื่อทําหน้าที่ถ่ายแรงตาม a คือ ขนาดของขาเชื่อม (ซม.) ดูได้จากตารางขนาดขาเชื่อมสําหรับรอยเชื่อมแบบพอก
แกนที่ปลายองค์อาคาร) ให้ L คือ ความยาวจริงของรอยเชื่อม จะได้
เมื่อ L  100a ; Le = L
เมื่อ 100a < L  300a ; Le = L โดยที่  = 1.2 – 0.002(L/a)  1.0
เมื่อ L > 300a ; Le = 0.6 L
(d.) กรณีรอยเชื่อมเว้นระยะ Le = Li โดยที่ Li คือ ความยาวของรอยเชื่อมแต่ละช่วง (4a หรือ
40 มม.)
(e.) กรณีจุดต่อแบบทาบ Le  5t หรือ 25 มม. โดยที่ t คือความหนาของชิ้นงานที่บางกว่า

Failure of Welding , Effective Weld Area Failure of Welding , Effective Weld Area
การสิ้นสุดของรอยเชื่อมแบบพอก สามารถหยุดรอยเชื่อมต่ไปจนถึงปลายหรือด้านข้างของชิ้นส่วน
ต่อ ยกเว้นในกรณีดังต่อไปนี้
ตารางแสดงขนาดขาเชื่อมสําหรับรอยเชื่อมแบบพอก 1.) กรณีจุดต่อแบบทาบกับองค์อาคารรับแรงดึง รอยเชื่อมแบบพอกบนชิ้นส่วนที่นําไปต่อจะต้อง
ตารางที่ 8.3 ตารางแสดงขนาดขาเชื่อมสําหรับรอยเชื่อมแบบพอก เว้นระยะจากขอบขององค์อาคารหลักนี้เป็นระยะไม่น้อยกว่าขนาดของรอยเชื่อม
ความหนาของชิ้นงานที่ ขนาดขาเชื่อมที่เล็กที่สุด a ขนาดขาเชื่อมใหญ่ที่สุด a 2.) กรณีการเชื่อมอ้อมปลาย (end return) ความยาวของรอยเชื่อมที่อ้อมปลายนี้จะต้องน้อยกว่า
บางกว่า (t) มม. (มม.) (มม.)
4 เท่าขนาดของรอยเชื่อมหรือครึ่งหนึ่งของความกว้างชิ้นงาน
t 6 3 6
3.) รอยเชื่อมแบบพอกที่ใช้ในการเชื่อมต่อระหว่างแผ่นเหล็กตั้งเสริมกําลังกับเอวของคานแผ่น
6 < t  13 5 t-2
เหล็กประกอบที่มีความหนาเอว 19 มม. หรือน้อยกว่าจะต้องเว้นระยะห่างจากรอยเชื่อมต่อ
13 < t  19 6 t-2
t > 19 8 t-2
แผ่นเอวและปีกไม่น้อยกว่า 4 เท่า และ ไม่มากกว่า 6 เท่าของความหนาของแผ่นเอว ยกเว้น
ในกรณีที่ส่วนปลายของแผ่นเหล็กตั้งเสริมกําลังเชื่อมติดปีก
End Return
P P
Failure of Welding , Effective Weld Area Failure of Welding , Effective Weld Area
รอยเชื่อมแบบอุดรูกลมและร่อง (Plug and Slot Welds)
พื้นที่ประสิทธิผล (Ae)
พื้นที่รับแรงเฉือนประสิทธิผลมีค่าเท่ากับพื้นที่หน้าตัดระบุหรือร่องในระนาบของผิวสัมผัสระหว่าง โดยที่ t คือ ความหนาของชิ้นงาน (มม.)
องค์อาคาร  คือ เส้นผ่าศูนย์กลางของรอยเชื่อม (มม.)
ตารางแสดงค่ากําหนดต่างๆเกี่ยวกับขนาดรอยเชื่อม ระยะห่าง และ ความยาวของรอยเชื่อมแบบ w คือ ความกว้างของรอยเชื่อม (มม.)
อุดรูกลมและอุดรูร่อง L คือ ความยาวของรอยเชื่อม (มม.)
ขนาดของรอยเชื่อม รอยเชื่อมแบบอุดรูกลม รอยเชื่อมแบบอุดรูร่อง
s คือ ระยะห่างระหว่างศูนย์กลางรู (มม.)
a (มม.) ข้อกําหนดอื่นๆ ข้อกําหนดอื่นๆ S(L) คือ ระยะระหว่างศูนย์กลางของรอยเชื่อมในแนวขนานกับความยาว (มม.)
t  16 a = t t + 8 มม.    2.25 a t + 8 มม. w  2.25 a S(T) คือ ระยะระหว่างศูนย์กลางของรอยเชื่อมในแนวตั้งฉากกับความยาว (มม.)
t >16 a t/2  (min) + 3 มม. L  10a
> 16 มม. s  4 S(L)  2L
S(T)  4w

Welding Connection Design Welding Connection Design


กําลังแรงระบุของรอยเชื่อม
กําลังแรงระบุของรอยเชื่อมชนิดต่างๆ ได้แก่ กําลังแรงระบุที่น้อยกว่าระหว่างกําลังแรงระบุของ
วัสดุชิ้นงานกับกําลังระบุของลวดเชื่อม ซึ่งคํานวณได้ดังต่อไปนี้
วัสดุชิ้นงาน ; Rn = FnBMABM (8.1)
บนรอยเชื่อม ; Rn = FnwAwe (8.2)
โดยที่ Rn คือ กําลังแรงระบุของวัสดุชิ้นงานหรือรอยเชื่อม (กก.)
FnBM คือ กําลังแรงระบุของวัสดุชิ้นงาน (ดูตาราง Table J2.5) (กก./ ตร.ซม.)
Fnw คือ กําลังแรงระบุของลวดเชื่อม (ดูตาราง Table J2.5) (กก./ ตร.ซม.)
ABM คือ พื้นที่หน้าตัดของวัสดุชิ้นงาน (ตร.ซม.)
Awe คือ พื้นที่ประสิทธิผลของรอยเชื่อม (ตร.ซม.)
Welding Connection Design Welding Connection Design
การออกแบบรอยเชื่อม สําหรับรอยเชื่อมแบบพอกที่มีแรงกระทําในระนาบ สามารถใช้  = 0.75 และ = 2.00 โดยค่า
มาตรฐาน AISC กําหนดการออกแบบรอยเชื่อมดังนี้ กําลังแรงระบุของรอยเชื่อมมีค่าดังนี้
ASD ; Ra = Rn/  (8.3) a.) กลุ่มของรอยเชื่อมเป็นแนวเส้นที่มีแรงกระทําในระนาบผ่านจุดศูนย์ถ่วง
LRFD ; Ru = Rn (8.4) Rn = FnwAwe (8.5)
โดยที่ Ra คือ กําลังแรงใช้งานที่สามารถรับได้ (กก.) โดยที่ Fnw คือ 0.6FEXX(1.0+0.50sin1.5  ) กก./ตร.ซม.
Ru คือ กําลังแรงปรับค่าที่สามารถรับได้ (กก.) คือ มุมระหว่างแรงกับแกนตามยาวของรอยเชื่อม (องศา)
Rn คือ กําลังแรงระบุของรอยเชื่อม (กก.) Awe คือ พื้นที่ประสิทธิผลของรอยเชื่อม (ตร.ซม.)
 คือ ตัวคูณความปลอดภัย (ดูตาราง Table J2.5) b.) กลุ่มของรอยเชื่อมมีแนวขนานและตั้งฉากกับแนวแรง
 คือ ตัวคูณความต้านทาน (ดูตาราง Table J2.5) กําลังแรงระบุของกลุ่มรอยเชื่อม ได้แก่ ค่าที่มากกว่าจากสมการ (8.6)
Rn = Rnwl + Rnwt หรือ Rn = 0.85Rnwl + 1.5Rnwt (8.6)
โดยที่ Rnwl คือ กําลังแรงระบุรวมของรอยเชื่อมที่มีแนวขนานกับแรง (ดูตาราง Table J2.5)
Rnwt คือ กําลังแรงระบุรวมของรอยเชื่อมที่มีแนวขวางกับแรง (ดูตาราง Table J2.5)

Welding Connection Design Welding Connection Design


สู ตรการคํานวณค่าโมเมนต์หน้าตัด(Sx) และ โพลาร์ โมเมนต์อินเนอร์ เชี ยรอบจุดศูนย์ถ่วงรอย X(c.g.)

เชื่อม (Ip) เมื่อกําหนดรอยเชื่อมมีลกั ษณะเป็ นเส้น Y(c.g.) X(c.g.) = b2 / 2(b - d)


d.) d Sx = (4bd + d2 ) / 6 Ip =[ (b +d )4 – 6b2d2] / 12(b + d)
Y(c.g.) = d2 / 2(b + d)

a.) d Sx = d2 / 6 Ip = d3 / 12 b

X(c.g.)

b.) d Sx = d2 / 3 Ip = d(3b2 +d2 ) / 6 e.) d X(c.g.) = b2 / (2b + d) Sx = bd + d2 / 6 Ip = [(8b3+6bd2+d3 )/ 12] – [b4 / (2b+d)]

b b

c.) d Sx = bd Ip = b(3d2 +b2 ) / 6

b
Welding Connection Design Welding Connection Design
b

Y(c.g.) Y(c.g.) Y(c.g.) = d2 / (b + 2d) Sx = (2bd + d2 ) / 3 Ip = [(b3+8d3 )/ 12] – [d4 / (b+2d)]


Y(c.g.) = d2 / 2b + d Sx = (2bd + d2 ) / 3 Ip = [(b3+6b2d+8d3 )/ 12] – [d4 / (2b+d)]
d h.) d
f.)

b
b

b
d Sx = bd + d2 / 3 Ip = [(b3+3b2+d3 )/ 6]
i.)
g.) d Sx = bd + d2 / 3 Ip = (d +b )3 / 6

Welding Connection Design Welding Connection Design


รอยต่อด้วยสลักเกลียวและการเชื่อมร่ วมกัน
x x Ip = 2r3
ปั จจุบนั มาตรฐาน AISC ไม่อนุญาตให้ใช้สลักเกลียวรับแรงร่ วมกับรอยเชื่อม ยกเว้นใน
j.) Sx = r2
รอยต่อรับแรงเฉื อนซึ่ งติดตั้งด้วยรู เจาะแบบมาตรฐาน หรื อ แบบร่ องสั้นขวางกับทิศของแนวแรง
r
ให้สามารถรับแรงร่ วมกับรอยเชื่อมแบบพอกตามยาวได้ ซึ่ งในกรณี ดงั กล่าวสลักเกลียวจะรับแรง
ได้ไม่เกินร้อยละ 50 ของแรงที่สามารถรับได้ของรอยต่อชนิ ดรับแรงแบกทาน และ ความร้อน
จากการเชื่อมจะไม่มีผลต่อคุณสมบัติเชิงกลของสลักเกลียว
ในกรณี การเสริ มกําลังโครงสร้างจากรอยต่อเดิมที่ใช้สลักเกลียวกําลังสู ง สามารถใช้
การเชื่อมเสริ มกําลังได้ โดยกําหนดให้สลักเกลียวรับแรงที่กระทํา ณ ปั จจุบนั และรอยเชื่ อมรับ
แรงส่ วนที่เพิ่มขึ้น (ข้อกําหนดดังกล่าวข้างต้นไม่คลอบคลุมถึงรอยต่อชนิ ดสลักเกลียวร่ วมกับ
รอยเชื่อมที่ใช้ในรอยต่อของคาน-คาน , คาน – เสา และรอยต่อที่มีลกั ษณะใกล้เคียงกัน
Welding Connection Design Welding Connection Design
การจัดตําแหน่งรอยเชื่อมและสลักเกลียว การออกแบบรอยต่อเชื่อมเพื่อรับแรงตรงศูนย์
กลุ่มรอยเชื่อมหรื อสลักเกลียวที่ปลายองค์อาคารที่ทาํ หน้าที่ถ่ายแรงตามแนวแกนเข้าสู่ รอยต่อที่รับแรงกระทําผ่านจุดศูนย์ถ่วงของรอยต่อเชื่ อม เรี ยกว่า รอยต่อเชื่อมเพื่อรับ
องค์อาคารนั้นๆจะต้องจัดวางให้แนวจุดศูนย์ถ่วงของกลุ่มทับกับแนวจุดศูนย์ถ่วงขององค์อาคาร แรงร่ วมศูนย์ หน่วยแรง(stress) ที่เกิดขึ้นบนรอยเชื่อมจะสมมติให้แผ่กระจายอย่างสมํ่าเสมอ โดย
ยกเว้นในกรณี ที่ได้ออกแบบโดยคํานึงถึงการเยื้องศูนย์น้ ี ไว้แล้ว และในรอยต่อที่ปลายเหล็กฉาก รอยเชื่อมจะรับแรงกระทําเท่าๆกัน หน่วยแรงที่เกิดขึ้นอาจเป็ น หน่วยแรงดึง หน่วยแรงอัด หรื อ
เดี่ยว เหล็กฉากคู่ และ องค์อาคารประเภทอื่นๆในลักษณะเดียวกันที่รับนํ้าหนักบรรทุกสถิต เช่น หน่ วยแรงเฉื อน แต่สําหรั บการคํานวณรอยต่อเชื่ อมแบบทาบ จะพิจารณาให้หน่ วยแรงนั้นๆ
รอยต่อขององค์อาคารในโครงถัก (Truss) เป็ นต้น กระทํา บนเนื้ อ ที่ ป ระสิ ท ธิ ผ ลของรอยเชื่ อ มเสมอ ซึ่ งหน่ ว ยแรงที่ เ กิ ด ขึ้ น บนรอยเชื่ อ ม หรื อ
ชิ้นส่ วนที่นาํ มาต่อ ต้องมีค่าไม่เกินหน่วยแรงที่กาํ หนดตามมาตรฐาน AISC ในการออกแบบรอย
เชื่อมต่อของเหล็กฉากเพื่อให้รับแรงร่ วมศูนย์ ต้องพิจารณาจัดให้แนวศูนย์ถ่วงของรอยเชื่อมอยู่
ในแนวเดียวกับแนวศูนย์ถ่วงของเหล็กฉากที่รับแรงกระทําในแนวนั้นซึ่ งพิจารณาหาความยาว
รอยเชื่อมได้ดงั นี้

Welding Connection Design Welding Connection Design


P1 L1
การออกแบบรอยต่อเชื่อมเพื่อรับแรงเยื้องศูนย์
a
P รอยต่อที่รับแรงกระทําไม่ผา่ นจุดศูนย์ถ่วงของรอยเชื่อมต่อ เรี ยกว่า รอยเชื่อมต่อรับแรง
แกนศูนย์ถ่วงของเหล็กฉากซึ่ งเป็ นแนวศูนย์ถ่วงของรอยเชื่อมด้วย
b เยื้องศูนย์ เมื่อพิจารณาย้ายแรงให้กระทําผ่านจุดศูนย์ถ่วงของรอยเชื่อมต่อ จะเห็นว่ารอยเชื่อมต่อ
P2
L2 นั้นต้องรับโมเมนต์ดดั หรื อโมเมนต์บิดด้วยแล้วแต่กรณี นัน่ คือ รอยเชื่อมต้องรับทั้งแรงดึงหรื อ
แรงอัด ซึ่ งเกิดจากโมเมนต์ดดั หรื อโมเมนต์บิด และ แรงเฉื อนร่ วมกัน โดยรอยเชื่ อมจะรับแรง
ให้ P เป็ นแรงที่กระทําผ่านศูนย์ถ่วงของเหล็กฉาก ซึ่งรอยเชื่อมต้องรับแรงนี้ เฉื อนเท่าๆกันตลอดความยาวที่เชื่ อม ส่ วนแรงดึงหรื อแรงอัดที่รอยเชื่ อมต้องรับ คํานวณหาได้
ให้ P1 และ P2 เป็ นแรงต้านทานของรอยเชื่อมที่เชื่อมยาวเท่ากับ L1 และ L2 ตามลําดับ ดังนั้นเมื่อ จากสู ตรแรงดัด หรื อ แรงบิด แล้วแต่กรณี รอยเชื่ อมที่อยูห่ ่ างจากจุดศูนย์ถ่วงของรอยเชื่ อมต่อ
พิจารณาหาโมเมนต์รอบแนวเชื่อม L2 จะได้ P1 = (P)(b) / (a+b) และ ถ้าให้ Pw เป็ นกําลังแรง มากที่สุดจะรับแรงดึงหรื อแรงอัดมากที่สุด แรงลัพธ์ที่ได้จากการรวมแรงที่กระทําร่ วมกันจะเป็ น
ของรอยเชื่อมต่อหน่วยความยาว ดังนั้นจะได้ระยะ L1 = P1 / Pw ในทํานองเดียวกันจะได้ P2 = แรงเฉื อนที่รอยเชื่อมต้องรับ ซึ่งต้องมีค่าไม่เกินกว่าค่าที่ยอมให้ตามที่มาตรฐาน AISC กําหนดไว้
(P)(a) / (a+b) และ L2 = P2 / Pw
Welding Connection Design Example
ตัวอย่างที่ 8.1) องค์อาคารมีการต่อแบบทาบ และ การเชื่อมแบบพอกด้วยวิธี SMAW แผ่นเหล็ก
P
P P End Return
ขนาด 200x9 มม. ชนิด Fy = 2,450 ksc. และ Fu = 4,000 ksc. ลวดเชื่อมชนิด E70 ขนาดขาเชื่อม 5
e
มม. ให้คาํ นวณหากําลังแรงดึงที่สามารถรับได้ของรอยต่อด้วยวิธี ASD และ LRFD
PL 200x9 mm. PL 200x9 mm.

P 200 mm. P

5 200
P 9 mm.
9 mm. P

5 200

Example Example
กําลังรับแรงดึงที่สามารถรับได้ เมื่อพิจารณาการวิบตั ิของแผ่นเหล็กดังนี้
กําลังรั บแรงดึ งที่สามารถรั บได้ของรอยต่อ ขึ้นอยู่กบั กําลังรั บแรงของรอยเชื่ อมและของแผ่น เนื่องจากการคราก ; Pn = 2,450x0.9x20 / 1000 = 44.1 ตัน
เหล็ก ASD ; Pn / t = 44.1 / 1.67 = 26.40 ตัน
กําลังรับแรงดึงที่สามารถรับได้ เมื่อพิจารณาการวิบตั ิของรอยเชื่อมดังนี้ LRFD ; tPn = 44.1x0.9 = 39.69 ตัน
เนื่องจากเป็ นการเชื่อมแบบ SMAW จะได้ความหนาประสิ ทธิ ผลของรอยเชื่อม te = 0.707a = เนื่องจากการขาด Pn = FuAe = 4,000x0.9x20x1.00 / 1000 = 72 ตัน ; (U=1.00)
0.707x5 = 3.535 มม. จากตารางที่ 8.1 แผ่นเหล็กชนิดเทียบเท่า A36 สามารถจับคู่ได้กบั ชนิดลวด ASD ; Pn / t = 72 / 2 = 36 ตัน
เชื่อม E70 LRFD ; tPn = 72x0.9 = 64.8 ตัน
ดังนั้นจาก Table J2.5 พิจารณาในส่ วนของรอยเชื่อมแบบพอก ซึ่งพฤติกรรมการถ่ายแรงจะเป็ น ดังนั้นจะได้วา่ กําลังแรงดึงที่สามารถรับได้เนื่องจากการวิบตั ิของแผ่นเหล็ก มีค่า
แบบแรงเฉื อนบนพื้นที่ประสิ ทธิผล จะได้ ASD ; Pn / t = 44.1 / 1.67 = 26.40 ตัน
หน่วยแรงระบุของรอยเชื่อม Fnw = 0.6FEXX = 0.60x4900 = 2,940 ksc. LRFD ; tPn = 44.1x0.9 = 39.69 ตัน
กําลังแรงระบุของรอยเชื่อม Rn = FnwteLe = 2,940x0.3535x20x2/1000 = 41.57 ตัน ดังนั้นกําลังรับแรงดึงที่สามารถรับได้ของรอยต่อ ได้แก่ กําลังแรงดึงที่สามารถรับได้จากการวิบตั ิ
ASD ; Rn /  = 41.57 / 2 = 20.785 ตัน ของรอยเชื่อม
LRFD ; Rn = 0.9x41.57 = 37.41 ตัน ASD ; Rn /  = 41.57 / 2 = 20.785 ตัน
LRFD ; Rn = 0.9x41.57 = 37.41 ตัน
Example Example
ตัวอย่างที่ 8.2) รอยต่อแบบทาบและการเชื่อมแบบพอกด้วยวิธี SMAW ขององค์อาคารรับแรงดึง กําลังรับแรงดึงที่สามารถรับได้ของรอยต่อ คํานวณได้จาก
ใช้ลวดเชื่อมชนิด E60 แผ่นเหล็กชนิด Fy = 2,450 ksc. และ Fu = 4,000 ksc. ให้คาํ นวณกําลังแรง จากตารางที่ 8.3 เมื่อความหนาของชิ้นงานส่ วนที่บางกว่า t = 20 มม. จะได้ขนาดขาเชื่อมที่เล็กสุ ด
ดึงที่สามารถรับได้ของรอยต่อด้วยวิธี ASD และ LRFD เท่ากับ 8 มม. และ ขนาดขาเชื่อมใหญ่สุดเท่ากับ 18 มม. ดังนั้น เลือกใช้ขนาดขาเชื่อม 12 มม.
L=200 แผ่นเหล็ก a PL 150x25 ใช้ได้
ตรวจสอบความยาวของรอยเชื่อม
กรณี เหล็กแบนรับแรงดึงที่มีรอยเชื่อมตามแนวยาวเท่านั้น Le  w โดยที่ w เป็ นระยะตั้งฉาก
P P ระหว่างรอยเชื่อม
Le = 200 มม. > w = 150 มม. ใช้ได้
กําลังแรงดึงของรอยเชื่อมที่สามารถรับได้
12 200
te = 0.707 a = 0.707 x 12 = 8.484 มม.
แผ่นเหล็ก b PL 250x20 Le = 2x200 = 400 มม.
Awe = Lete = 400x8.484 /100 = 33.936 ตร.ซม.
กําลังแรงดึงระบุ Rn = 0.6FE60Awe = 0.6x4,200x33.936/1,000 = 85.518 ตัน

Example Example
ASD ; Pn / t = 85.518 / 2 = 42.759 ตัน 1.) การครากบนพื้นที่หน้าตัดรวม : Tn= Fy Ag = 2450x37.50 / 1000 = 91.90 ตัน
LRFD ; tPn = 85.5x0.75 = 64.138 ตัน
ASD : 91.90 / 1.67 = 55.0 ตัน
กําลังรับแรงดึงของแผ่นเหล็กที่สามารถรับได้ LRFD : 91.90 x 0.90 = 82.7 ตัน
แผ่นเหล็ก 150x25 : Ag = 15x2.5 = 37.5 ตร.ซม. 2.) การขาดบนพื้นที่หน้าตัดสุ ทธิประสิ ทธิผล : Tn = FuAe = 4000x28.12 / 1000 = 112.5 ตัน
แผ่นเหล็ก 250x20 : Ag = 25x2.0 = 50.0 ตร.ซม. ASD : 112.50 / 2.00 = 56.20 ตัน (เฉพาะแผ่นเหล็ก 150x25 มม.)

เนื่องจาก 150 มม.(w) < 200 มม. (L) < 1.5x150(1.5w) จึงใช้ U = 0.75 จะได้ Ae = UAn = 0.75 x LRFD : 112.50 x 0.75 = 84.40ตัน

15.0 x 2.5 = 28.125 ตร.ซม. ส่ วนแผ่นเหล็ก 250x20 มม. ไม่ตอ้ งคํานวณเนื่องจากไม่วบิ ตั ิ


Example Example
3.) การเฉื อนออก : Tn = 0.6FuAnv + UbsFuAnt  0.6FyAgv + UbsFuAnt ASD : กําลังรับแรงดึงที่สามารถรับได้ คือ Min(55,56.2,119) เท่ากับ 55 ตัน
โดยที่ Anv = Agv = 2x20x2 = 80.0 ตร.ซม. LRFD : กําลังรับแรงดึงที่สามารถรับได้ คือ Min(82.7,84.4,179) เท่ากับ 82.7 ตัน
Ant = 15x2 = 30.0 ตร.ซม. ดังนั้นกําลังรับแรงดึงที่รอยต่อสามารถรับได้ ได้แก่ กําลังแรงดึงที่สามารถรับได้จากการวิบตั ิของ
0.6FuAnv = (0.6x4000x80.0)/1000 = 192.0 ตัน รอยเชื่อม มีค่าดังนี้
0.6FyAgv =(0.6x2450x80.0)/1000 = 118.0 ตัน ASD ; Pn / t = 85.518 / 2 = 42.759 ตัน
LRFD ; tPn = 85.5x0.75 = 64.138 ตัน
UbsFuAnt =(1.0x4000x30.0)/1000 = 120.0 ตัน
ดังนั้น Tn = 118 + 120 = 238 ตัน
ASD : Tn /t = 238 /2 = 119 ตัน
LRFD : tTn = 0.75x238 = 179 ตัน

Example Example
ตัว อย่า งที่ 8.3) ให้ ค าํ นวณหากํา ลัง ของแรงที่ ส ามารถรั บ ได้ข องรอยต่ อ ระหว่ า งเหล็ก ฉาก 1.) การครากบนพื้นที่หน้าตัดรวม : Tn= Fy Ag = 2450x19.00 / 1000 = 46.55 ตัน
100x100x10 มม. (Ag = 19 ตร.ซม.) กับองค์อาคาร WT เพื่อถ่ายแรงดึงสถิต การเชื่อมแบบพอก
ASD : 46.55 / 1.67 = 27.87 ตัน
SMAW ลวดเชื่อมชนิด E70 เหล็กมี Fy =2,450 ksc. และ Fu = 4,000 ksc. ด้วยวิธี ASD และ
LRFD T. LRFD : 46.55 x 0.90 = 41.89 ตัน

c.g. ของรอยเชื่อม
2.) การขาดบนพื้นที่หน้าตัดสุ ทธิประสิ ทธิผล : Tn = FuAe = 4000x15.43 / 1000 = 61.72 ตัน
c.g. ของเหล็กฉาก
ASD : 61.72 / 2.00 = 30.86 ตัน
L100x100x10
LRFD : 61.72 x 0.75 = 46.29ตัน
6 mm.

L=150 mm. 6 150 หมายเหตุ Ae = (1- 28.2/150)(19) = (0.812)(19) = 15.43 ตร.ซม.


WT (หนา 9 มม.)
X(c.g.) = 28.2 รับแรงดึง

100 6 50 50
Example Example
3.) การเฉื อนออก : Tn = 0.6FuAnv + UbsFuAnt  0.6FyAgv + UbsFuAnt ASD : กําลังรับแรงดึงที่สามารถรับได้ คือ Min(27.87,30.86,37.8) เท่ากับ 27.87 ตัน
โดยที่ Anv = Agv = 2x15x0.9 = 27 ตร.ซม. LRFD : กําลังรับแรงดึงที่สามารถรับได้ คือ Min(41.89,46.29,56.7) เท่ากับ 41.89 ตัน
Ant = 10x0.9 = 9.0 ตร.ซม. กําลังรับแรงดึงของรอยเชื่อมที่สามารถรับได้
0.6FuAnv = (0.6x4000x27)/1000 = 64.8 ตัน เนื่ องจากเป็ นรอยต่อของเหล็กฉากภายใต้แรงดึงสถิต จึงไม่จาํ เป็ นต้องคํานึ งถึงผลของการเยื้อง
0.6FyAgv =(0.6x2450x27)/1000 = 39.69 ตัน ศูนย์ของรอยเชื่อม กําลังแรงดึงสามารถคํานวณได้ดงั นี้
UbsFuAnt =(1.0x4000x9)/1000 = 36 ตัน Rnwl = FnwLete = 0.6x4900x2x15x0.707x0.6/1000 = 37.4 ตัน
ดังนั้น Tn = 39.6 +36 = 75.6 ตัน Rnwt = FnwLete = 0.6x4900x10x0.707x0.6/1000 = 12.5 ตัน
ASD : Tn /t = 75.6 /2 = 37.8 ตัน จะได้ Rn = Rnwl + Rnwt = 37.4 + 12.5 = 49.9 ตัน
LRFD : tTn = 0.75x75.6 = 56.7 ตัน หรื อ Rn = 0.85Rnwl + 1.5Rnwt = (0.85x37.4) + (1.5x12.5) = 50.5 ตัน

Example Example
กําลังแรงระบุ Rn = 50.5 ตัน (ใช้ค่าที่มากกว่า) ตัวอย่างที่ 8.4) ให้ออกแบบรอยต่อของเหล็กฉากขนาด 100x100x10 มม. กับแผ่นเหล็กหนา 9
ASD ; Pn / t = 50.5 / 2 = 25.2 ตัน มม. เพื่อถ่ายแรงดึงได้เต็มกําลังของเหล็กฉาก ใช้การเชื่อมแบบพอกวิธี SMAW ลวดเชื่อมชนิด E
LRFD ; tPn = 50.5x0.75 = 37.90 ตัน 70 เหล็กมี Fy = 2,450 ksc. และ Fu = 4,000 ksc. ด้วยวิธี LRFD และ กําหนดให้จุดศูนย์ถ่วงของ
กําลังรับแรงดึงของรอยต่อที่สามารถรับได้ นั้นขึ้นอยูก่ บั กําลังจากรอยเชื่อม และ มีค่าดังนี้ เหล็กฉากทับกับจุดศูนย์ถ่วงของรอยเชื่อม (Xc.g. = 28.2 มม.)
ASD ; Pn / t = 50.5 / 2 = 25.2 ตัน
LRFD ; tPn = 50.5x0.75 = 37.90 ตัน
L1

P
L3= 100 L100x100x10
A
แผ่นเหล็กหนา 9 มม. L2
Example Example
กําลังรับแรงดึงที่สามารถรับได้ของเหล็กฉาก ดังนั้นจะได้วา่ กําลังรับแรงดึงปรับค่าที่เหล็กฉากสามารถรับได้ คือ 41.89 ตัน
1.) การครากบนพื้นที่หน้าตัดรวม : Tn= Fy Ag = 2450x19.00 / 1000 = 46.55 ตัน ออกแบบรอยเชื่อม
LRFD : 46.55 x 0.90 = 41.89 ตัน โดยรอยเชื่อมต้องมีขนาดอยูร่ ะหว่าง 5 < a < 7 ดังนั้นจึงเลือกใช้ขนาดขาเชื่อม 6 มม.
2.) การขาดบนพื้นที่หน้าตัดสุ ทธิประสิ ทธิผล : Tn = FuAe = 4000x16.15 / 1000 = 64.60 ตัน ดังนั้นจะได้กาํ ลังรอยเชื่อมต่อความยาว เท่ากับ Fnvte = 0.75x(0.60x4900)x(0.707x0.6) =
LRFD : 64.60 x 0.75 = 48.45ตัน 935.361 กก./ซม.
หมายเหตุ Ae = (0.85)(19) = 16.15 ตร.ซม. เนื่องจากยังไม่ทราบความยาวรอยเชื่อม จึงสมมติใช้ ความยาวรอยเชื่อม L1 และ L2 คํานวณได้จากสมดุลของโมเมนต์รอบจุด A และ แรงตาม
U = 0.85 และ เนื่ องจากยังไม่ทราบความยาวรอยเชื่อม จึงสมมติว่ารอยต่อไม่เกิดการวิบตั ิ แนวแกนดังนี้
เนื่ องจากการเฉื อนออกแต่จะต้องทําการตรวจสอบการวิบตั ิลกั ษณะนี้ ในภายหลังเมื่อทราบค่า
ความยาว L2 แล้ว

Example Example
ตรวจสอบค่า U
L1
935.361L1 U = 1 – (2.82 / 27.15) = 0.896 > 0.85 ใช้ได้
9353.61 P 3.) การเฉื อนออก : Tn = 0.6FuAnv + UbsFuAnt  0.6FyAgv + UbsFuAnt
L100x100x10
935.361L2 A โดยที่ Anv = Agv = 2x27x0.9 = 48.6 ตร.ซม.
แผ่นเหล็กหนา 9 มม. L2
Ant = 10x0.9 = 9.0 ตร.ซม.
0.6FuAnv = (0.6x4000x48.6)/1000 = 116.64 ตัน
MA = 0 ; 41,890 x 2.82 = 935.361L1x10 + 9,353.61x5 จะได้ L1 = 7.629 ซม. 0.6FyAgv =(0.6x2450x48.6)/1000 = 71.44 ตัน
Fx = 0 ; 41,890 = [935.361x(7.629 + L2)] + 9353.61 จะได้ L2 = 27.15 ซม. UbsFuAnt =(1.0x4000x9)/1000 = 36 ตัน
ดังนั้น Tn = 71.44 +36 = 107.44 ตัน
LRFD : tTn = 0.75x107.44 = 80.58 ตัน > 41.90 ตัน
Example Example
ตัวอย่างที่ 8.5) ให้หาขนาดรอยเชื่ อมของรอยต่อบ่าเสา โดยการเชื่ อมแบบพอกด้วยวิธี SMAW การออกแบบด้วยวิธี ASD
ใช้ลวดเชื่อม E70 แผ่นเหล็กมีความหนา 12 มม. และไม่เกิดการวิบตั ิภายใต้แรงกระทําด้วยวิธี
จาก Case (e.) การหารอยเชื่อมลักษณะเส้น จะได้ x(c.g.) = 152 / (2(15) + 60) = 2.5 ซม.
ASD และ LRFD กําหนดให้แรงกระทําใช้งานเนื่องจากนํ้าหนักบรรทุกคงที่ 4 ตัน และ นํ้าหนัก
บรรทุกจร 14 ตัน Rv , f v
 8b3  6bd 2  d 3
Ip  
12

b4   8(15)3  (6)(15)(60) 2  154
 te  
2b  d  12

154 
 te  46687te
(2)(15)  60 
 
P
y
Rx , fx Ry , f y โมเมนต์บิดในรอยเชื่อม Mt = 18x(35+15 -2.5) = 855 ตัน-ซม.
A
Xc.g.
150 350
A แรงเฉื อนเนื่องจากโมเมนต์บิดในทิศทาง x และ y ที่จุด A มีค่า
A
Rx = (Mt y / Ip ) te = (855x1000x30 / 46687 ) = 549.40 กก./ซม.
Plate 12 mm. d
600 x
x Ry = (Mt x / Ip ) te = (855x1000x12.5 / 46687 ) = 228.91 กก./ซม.
แรงเฉื อนในทิศทาง y เนื่องจากแรงใช้งาน P = 18 ตัน มีค่า
y Rv = fvte = P / L = 18x1000 / [(2x15) + 60] = 200 กก./ซม.

Example Example
แรงลัพธ์ R = ( (549.40)2 + (228.91 + 200 )2 )0.5 = 697 กก./ซม. การออกแบบด้วยวิธี LRFD
จากตาราง Table J 2.5แรงเฉื อนที่รอยเชื่อมสามารถรับได้ แรงปรับค่าที่ตอ้ งการ Pu = (1.2x4) + (1.6x14) = 27.2 ตัน
Rn /  = (0.6 / 2)(4900)(0.707a) = 1039a กก./ซม. โมเมนต์บิดที่ตอ้ งการ Mt = 27.2(35+15-2.5) = 1,292 ตัน-ซม.
ดังนั้นจะได้ขนาดขาเชื่อมที่ตอ้ ง a  697 / 1039 = 0.67 ซม. แรงเฉื อนเนื่องจากโมเมนต์บิดในทิศทาง x และ y ที่จุด A มีค่า
และเนื่องจากแผ่นเหล็กมีความหนา 12 มม. จะได้ขนาดขาเชื่อมจากตารางที่ 8.3 คือ 5  a  10 Rux = (Mut y / Ip ) te = (1292x1000x30 / 46687 ) = 830.20 กก./ซม.
ดังนั้นใช้ลวดเชื่อม E70 ขาเชื่อมขนาด 7 มม. Ruy = (Mut x / Ip ) te = (1292x1000x12.5 / 46687 ) = 345.92 กก./ซม.
แรงเฉื อนในทิศทาง y เนื่องจากแรงปรับค่า P = 27.2 ตัน มีค่า
Ruv = fvte = Pu / L = 27.2x1000 / [(2x15) + 60] = 302.22 กก./ซม.
Example Example
แรงลัพธ์ R = ( (830.2)2 + (345.92 + 302.22 )2 )0.5 = 1053.24 กก./ซม. ตัวอย่างที่ 8.6) ให้หาขนาดรอยเชื่อมของรอยต่อสําหรับฐานรองคานเพื่อรับแรงปฏิกิริยาใช้งาน
เนื่ องจากนํ้าหนักบรรทุกคงที่ 1.5 ตัน และ นํ้าหนักบรรทุกจร 3.5 ตัน แผ่นเหล็กมีความหนา 6
จากตาราง Table J 2.5แรงเฉื อนที่รอยเชื่อมสามารถรับได้
มม. และสมมุติวา่ ฐานรองรับคานมีความแข็งแรงพอ ใช้การเชื่อมแบบพอกด้วยวิธี SMAW ลวด
Rn = (0.6 x0.75)(4900)(0.707a) = 1558.93a กก./ซม. เชื่อม E70 ด้วยวิธี ASD และ LRFD
ดังนั้นจะได้ขนาดขาเชื่อมที่ตอ้ ง a  1053.24 / 1558.93 = 0.675 ซม. 150 mm.
P
te te
และเนื่องจากแผ่นเหล็กมีความหนา 12 มม. จะได้ขนาดขาเชื่อมจากตารางที่ 8.3 คือ 5  a  10
ดังนั้นใช้ลวดเชื่อม E70 ขาเชื่อมขนาด 7 มม. 250 mm. 250 mm.
Plate 6 mm.

E-70
a 250

Example Example
การออกแบบด้วยวิธี ASD ดังนั้นจะได้ขนาดขาเชื่อมที่ตอ้ ง a  373.63 / 1039 = 0.359 ซม.
แรงเฉื อน เนื่องจากแรงใช้งาน P = 5 ตัน มีค่า และเนื่องจากแผ่นเหล็กมีความหนา 6 มม. จะได้ขนาดขาเชื่อมจากตารางที่ 8.3 คือ 3  a  6
Rv = fvte = P / L = 5x1000 / (2x25) = 100 กก./ซม. ดังนั้นใช้ลวดเชื่อม E70 ขาเชื่อมขนาด 4 มม.
M = 5x1000x15 = 75,000 กก. – ซม.
จาก Case (b.) ของการเชื่อมลักษณะเส้น จะได้ Sx = (252 / 3)te = 208.33 ซม3.
แรงดึงเนื่องจากโมเมนต์ Rt = ft te = Mte / S = 75,000 / 208.33 = 360 กก./ซม.
แรงลัพธ์ R = (Rv2 + Rt2)0.5 = (1002 + 3602)0.5 = 373.63 กก./ซม.
จากตาราง Table J 2.5แรงเฉื อนที่รอยเชื่อมสามารถรับได้
Rn /  = (0.6 / 2)(4900)(0.707a) = 1039a กก./ซม.
Example Example
การออกแบบด้วยวิธี LRFD ดังนั้นจะได้ขนาดขาเชื่อมที่ตอ้ ง a  552.9 / 1558.93 = 0.354 ซม.
แรงเฉื อน เนื่องจากแรงปรับค่าที่ตอ้ งการ P = 1.2x1.5 + 1.6x3.5 = 7.4 ตัน มีค่า และเนื่องจากแผ่นเหล็กมีความหนา 6 มม. จะได้ขนาดขาเชื่อมจากตารางที่ 8.3 คือ 3  a  6
Rv = fvte = P / L = 7.4x1000 / (2x25) = 148 กก./ซม. ดังนั้นใช้ลวดเชื่อม E70 ขาเชื่อมขนาด 4 มม.
Mu = 7.4x1000x15 = 111,000 กก. – ซม.
แรงดึงเนื่องจากโมเมนต์ Rt = ft te = Mute / S = 111,000 / 208.33 = 532.8 กก./ซม.
แรงลัพธ์ Ru = (Ruv2 + Rut2)0.5 = (1482 + 532.82)0.5 = 552.9 กก./ซม.
จากตาราง Table J 2.5แรงเฉื อนที่รอยเชื่อมสามารถรับได้
Rn = (0.6 x 0.75)(4900)(0.707a) = 1558.93a กก./ซม.

You might also like