You are on page 1of 8

ชื่อ นางสาวศรลดา ศรอินทร์ รหัส 6310610248

1. จงบอกข้อดีและข้อเสียของการเชื่อม

ข้อดีของการเชื่อม

1.ให้แนวเชื่อมที่คุณภาพสูง และการบิดคัวน้อย

2.ปราศจาก Spatter และควัน เมื่อเทียบการเชื่อมวิธีอ่ น


ื ๆ

3.สามาถเชื่อมแบบเติมลวดเชื่อมหรือไม่เติมก็ได้

4.สามารถใช้เครื่องเชื่อมได้หลายขนาด

5.สามารถเชื่อมโลหะได้เกือบทัง้ หมด และสามารถเชื่อมโลหะต่างชนิด


กันได้ด้วย

6.สามารถควบคุมปริมาณความร้อนได้ดี

ข้อเสียของการเชื่อม

1. ทําให้คุณสมบัติของงานเชื่อมเปลี่ยนแปลง

2. งานบิดตัวและหดตัว
3. ทําให้เกิดความเค้นตกค้างอยูในวัสดุงานเชื่อม

4. การตรวจสอบคุณภาพของงานเชื่อมทําได้ยาก

5. ชิน
้ ส่วนของงานเชื่อมมีความไวต่อการเกิดความเค้นเฉพาะที่

2. อธิบายความหมายของคำหรือกระบวนการต่อไปนี ้

- กระบวนการเชื่อมโลหะ (Welding Processes) เกิดขึน


้ มาตัง้ แต่
ในอดีตในยุคที่มนุษย์ร้จ
ู ักการนําโลหะมาประยุกต์เป็ นเครื่องมือเครื่องใช้และ
กระบวนการเชื่อมได้วิวัฒนาการและพัฒนาการมาเป็ นลําดับ ซึ่งการเชื่อมได้
ถูกคิดค้นกระบวนการเชื่อมใหม่ๆ เพิ่มขึน
้ มากมาย โดยอาศัยความก้าวหน้า
ทางเทคโนโลยีชน
ั ้ สูงสมัยใหม่ ประกอบกับประสบการณ์ได้ปรับปรุงเพิ่มเติม
พัฒนากระบวนการเชื่อมที่มีอยู่ก่อนเพื่อให้เหมาะสมกับสภาพงานตรงตาม
ความต้องการของผู้ใช้และลักษณะงาน ไม่ว่าจะเป็ นงานผลิตหรืองานซ่อมบํา
รุงก็ตาม โดยพยายามให้เป็ นกระบวนการเชื่อมที่มีประสิทธิภาพสมบูรณ์มาก
ที่สุด ด้วยเหตุนจ
ี ้ ึงมีกระบวนการเชื่อมมากมายไม่น้อยกว่า 40 ชนิด

- กระบวนการเชื่อมแบบแก็สคลุม (Gas Shield Arc Welding)


จะเหมาะสมกับการผลิตในโรงงาน มากกว่าการใช้ที่หน้างาน ยิ่งห่างไกล
ความเจริญ ต้นทุนและค่าใช้จ่ายที่เกิดขึน
้ จากการขนส่งแก็สจะเพิ่มขึน
้ รวม
ถึงการควบคุมคุณภาพของรอยเชื่อมจะกระทำได้ยากขึน
้ ทัง้ เรื่องลม และฝน

กระบวนการเชื่อมแบบแก็สคลุม เป็ นกระบวนการเชื่อมในกลุ่มอาร์ก


(Arc Welding Process) ซึง่ กระบวนการเชื่อมกลุ่มนีม
้ ีบทบาทสำคัญอย่าง
มากในภาคอุตสาหกรรมการผลิต สามารถแบ่งได้ดังนี ้ 1. TIG 2.MIG/MAG
3. FCAW

ซึ่งการเชื่อมแบบแก็สคลุมมีหลักในการพิจารณาแบบง่ายๆว่า จะต้อง
ใช้ทงั ้ แก็สและไฟฟ้ าร่วมกัน หากขาดแก็สจะไม่สามารถทำการเชื่อมได้ แต่ก็
อาจมีข้อยกเว้นในกรณีที่การเชื่อม FCAW เป็ นแบบ Self Shield (ไม่ต้องใช้
แก็สคลุม)

- บัดกรีแข็ง (Brazing) หรือบางท่านอาจจะเรียกว่าการแล่นประสาน


คือ กรรมวิธีการเชื่อมต่อโลหะที่มีตงั ้ แต่สองชิน
้ หรือมากกว่านัน
้ เข้าด้วยกัน
โลหะที่มาเชื่อมต่อกันอาจจะเป็ นชนิดเดียวกันหรือต่างชนิดกันก็ได้ โดยใช้
อุณหภูมิความร้อนแก่รอยต่อที่อุณหภูมิสูงกว่า 450 องศา ด้วยโดยโลหะเติม
จะลอมละลาย แต่ไม่ถึงกับอุณหภูมิหลอมละลายของโลหะขิน
้ งานที่นำมา
บัดกรีแข็ง โดยอาศัยปฏิกิริยาคาปิ ลารี (Capillary action) หลอมละลาย
โลหะเติมแทรกซึมเข้าไปในช่องว่าระหว่างรอยต่อ โดยลักษณะโลหะเติมจะ
เป็ นโลหะที่ไม่อยู่จำพวกเหล็ก อาจจะเป็ นโลหะผสม เช่น ลวดทองแดงผสม
ฟอสฟอรัส ทองเหลือง หรือที่เราอาจจะชอบเรียกกันว่า ลวดเชื่อม โดยที่
โลหะเติมเหล่านีจ
้ ะมีจุดหลอมเหลวสูงกว่า 450 องศา ในงานระบบปรับ
อากาศ งานบัดกรีแข็งมักจะถูกนำมาใช้ในงานเชื่อมต่อท่อทอแดง

- บัดกรีอ่อน (Soldering) คือ กรรมวิธีการเชื่อมต่อโลหะที่มีตงั ้ แต่


สองชิน
้ หรือมากกว่านัน
้ เข้าด้วยกัน โลหะที่มาเชื่อมต่อกันอาจจะเป็ นชนิด
เดียวกันหรือต่างชนิดกันก็ได้ โดยใช้อุณหภูมิความร้อนแก่รอยต่อที่อุณหภูมิ
ต่ำกว่า 450 C แข็ง โดยอาศัยปฏิกิริยาคาปิ ลารี (Capillary action)
หลอมละลายโลหะเติมแทรกซึมเข้าไปในช่องว่าระหว่างรอยต่อเหมือนเดิม
แต่โลหะเติมจะมีอุณหภูมิหลอมเหลวต่ำกว่า 450 C ส่วนใหญ่จะนำมาบัดกรี
สายไฟ หรือ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกในแผงวงจรหรือแผงควบคุม ในระบบปรับ
อากาศ

- การเชื่อมต้านทาน (Resistance Welding) เป็ นการสร้างความ


ร้อนจากการผ่านกระแสไฟฟ้ าผ่านโลหะที่มีความต้านทานไฟฟ้ า ซึ่งบริเวณที่
มีความต้านทานสูงคือบริเวณรอยที่ผิวโลหะคนละชิน
้ มาสัมผัสกัน จะเกิด
ความร้อนสูงสุด ทำให้โลหะหลอมละลายเกิดเป็ นบ่อหลอมเชื่อมต่อโลหะทัง้
สองชิน
้ เข้าด้วยกันที่มีกระแสไฟฟ้ า (1000–100,000 A) ไหลผ่านโลหะ โดย
ทั่วไปกระบวนการเชื่อมนีท
้ ำให้เกิดมลพิษต่ำ แต่มีข้อจำกัดด้านการใช้งานที่
ไม่หลากหลาย และอุปกรณ์มีราคาแพง

- บริเวณกระทบร้อน (Heat Affected Zone, HAZ) เป็ นบริเวณที่


อยู่ใกล้แนวรอยเชื่อม ซึ่งมีอุณหภูมิสูงมากขณะทำการเชื่อม แต่มีอุณหภูมิไม่
สูงเพียงพอที่จะเกิดการหลอมละลายเป็ นเนื้อรอยเชื่อม บริเวณนีจ
้ ะได้รับ
ความร้อนสูงมากขณะเชื่อมและจะเกิดการเย็นตัวอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะ
ชิน
้ งานที่มีพ้น
ื ที่หน้าตัดมาก หรือมีความหนาของชิน
้ งานมาก จากการเย็นตัว
ที่รวดเร็วทำให้บริเวณ HAZ มีโครงสร้างที่แข็ง,เปราะ และมีความต้านทาน
ต่อการแตกร้าวได้ต่ำ HAZ จึงเป็ นบริเวณที่มีโอกาสเกิดความเสียหายได้มาก
เช่นการเกิด Weld decay หรือ การเกิด Inter Granular Corrosion

3. ข้อบกพร่องที่อาจจะได้จากการเชื่อม
ความบกพร่องของแนวเชื่อม สามารถจำแนกออกได้ 4 แบบ ความ
บกพร่องจุด (Point Defects) ความบกพร่องแบบเส้น (Line Defects)
ความบกพร่องแบบระนาบ (Interface Defects) ความบกพร่องขนาดใหญ่
(Bulk Defects) ซึ่งความบกพร่องนัน
้ ที่กล่าวมาข้างต้นนีอ
้ าจเกิดหลาย
สาเหตุและปั จจัยต่าง ๆ เหล่านีไ้ ด้

1.ฟองอากาศ (Porosity) ฟองอากาศเกิดจากแก๊สภายในแนวเชื่อม


กล่าวคือระหว่างการเชื่อม อาจจะมีออกซิเจนรวมตัวอยู่เนื้อลวดที่มีสภาพ
เป็ นของเหลว และอากาศเหล่านีไ้ ม่สามารถวิ่งออกมาข้างนอกได้ ทำให้เย็น
ตัวลงพร้อมกับแนวเชื่อม ฟองอาการมีลักษณะต่าง ๆ เช่น ทรงกลม ทรง
กระบอก เป็ นต้น นอกจากนัน
้ ฟองอากาศนัน
้ สามารถเกิดขึน
้ ได้ตามแนวยาว
แบบกลุ่ม หรือแบบกระจาย

2.อนุภาคเจือปนในวัสดุ (Slag Inclusion) เกิดจากการแทรกตัวของ


สารปลอมแปลกต่าง ๆ แทรกซึมอยู่ระหว่างแนวเชื่อมและโละหะชิน
้ งานใน
รูปแบบอนุภาคเจือปน ซึ่งส่งผลต่อความแข็งแรงของโลหะ

3. รอยร้าว (Cracks) อาจเกิดจากการออกแบบการเชื่อมที่ไม่ดี ส่งผล


ต่อคุณสมบัติเชิงกลโดยเฉพาะทำให้วัสดุเปราะ และรอยร้าวจะเกิดการขยาย
ตัวเมื่อได้รับแรงกระทำ

4. รอยพอกเกย (Overlap) เกิดจากการวางชิน


้ โลหะที่ไม่ตรงตำแหน่ง
ระดับของตัวยึดไม่เท่ากันทัง้ สองด้าน จึงส่งผลให้แนวเชื่อมไม่สมดุล ทัง้ ด้าน
ซ้าย-ขวา และบน-ล้าง หรือที่เรียกว่าขบ
4. การตรวจสอบงานเชื่อมแบบไม่ทำลายมีอะไรบ้าง

NDT หรือ Non – Destructive Testing เป็ นการทดสอบความ


สมบูรณ์ของแนวเชื่อมเพื่อหาข้อบกพร่องที่เกิดขึน
้ ในเนื้อเชื่อม โดยไม่ทำลาย
แนวเชื่อมนัน
้ ๆ และยังคงใช้งานต่อได้อย่างปลอดภัย เพื่อให้แนวเชื่อมนัน
้ รับ
แรงได้ตามการออกแบบของแนวเชื่อมนัน
้ ๆ (Conformance to Design)
ซึ่งการทดสอบจะใช้หลักการของสมบัติทางฟิ สิกส์เป็ นหลัก อาทิเช่น แสง
รังสี X หรือ Gamma, สนามแม่เหล็ก, คลื่นเสียงความถี่สูง เป็ นต้น

การตรวจสอบงานเชื่อมแบบ NDT มี 5 ประเภท ดังนี ้

1. Visual Testing (VT) – การทดสอบโดยวิธีการตรวจพินิจ เป็ นการ


ทดสอบชิน
้ งานโดยใช้สายตาของผู้ทดสอบ และสามารถใช้อุปกรณ์
ช่วยในการทดสอบได้ เช่น แว่นขยาย เครื่องมือวัดความยาวต่างๆ
ในกรณีที่ต้องเข้าไปในพื้นที่แคบๆ เช่น ท่อ, อุปกรณ์แลกเปลี่ยน
ความร้อน อาจใช้กล้องวีดีโอสโคป (ซึง่ เป็ นกล้องขนาดเล็ก)
2. Magnetic Particle Testing (MT) - การทดสอบด้วยอนุภาคแม่
เหล็ก เป็ นการทดสอบหารอยร้าวบนผิวของวัตถุโดยใช้หลักการ
เหนี่ยวนำของสนามแม่เหล็ก โดยมีวิธีการดังนี ้ ขัน
้ ตอนแรกให้โรย
ผงเหล็กย้อมสีขนาดเล็กลงบนบริเวณที่ทดสอบ จากนัน
้ นำอุปกรณ์
สร้างสนามแม่เหล็กอาจเป็ นแม่เหล็กถาวรหรือแบบใช้ไฟฟ้ าเหนี่ยว
นำก็ได้ หากพบรอยแตกร้าวขนาดเล็กบนผิวชิน
้ งานบริเวณดังกล่าว
ก็จะ “ปรากฏเป็ นผงเหล็กเกาะกันเป็ นแนวเส้นตามรอยร้าว”
3. Liquid Penetration Testing (PT) - การตรวจสอบโดใช้สาร
แทรกซึม เป็ นวิธีการทดสอบหารอยบกพร่อง หรือความไม่ต่อเนื่อง
ที่เปิ ดสู่ผิว สามารถทดสอบกับวัสดุชนิดที่ไม่เป็ นรูพรุน เช่น แก้ว
พลาสติก เซรามิค โลหะ เป็ นต้น โดยการทดสอบนีอ
้ าศัยหลักของ
ปฏิกิริยาแทรกซึม (Capillary Action) ซึง่ เป็ นปรากฏการณ์ตาม
ธรรมชาติ โดยใช้วิธีการทาหรือพ่นของเหลวย้อมสีที่มีคุณสมบัติ
แทรกซึมเข้าไปในรอยร้าวหรือรูเล็กๆได้ดี
4. Radiographic Testing (RT) – การทดสอบโดยใช้รังสี คือการใช้
คุณสมบัติเฉพาะของรังสีที่เป็ นพลังงานคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ ามีอำนาจ
ทะลุทะลวงวัสดุที่มีความหนาแตกต่างกันออกไป โดยภาพที่ได้จาก
การทดสอบด้วยรังสี จะให้ภาพลักษณะขาว - ดำ โดยในบริเวณที่มี
ความหนาน้อยกว่าบริเวณอื่น (รังสีทะลุผ่านได้มากกว่า) ภาพจะ
ออกมาดำเข้ม ในทางกลับกันหากชิน
้ งานอยู่ในสภาพปกติและมี
ความหนาเท่ากันตลอดทัง้ ชิน
้ งาน (รังสีทะลุผ่านได้น้อยกว่า) ภาพ
จะออกเป็ นสีขาวกว่าบริเวณอื่น
5. Ultrasonic Testing (UT) - การทดสอบโดยใช้คลื่นเสียงความถี่สูง
เป็ นการทดสอบโดยอาศัยคลื่นเสียงความถี่สูงที่หูมนุษย์ไม่สามารถ
ได้ยิน คลื่นเสียงความถี่สูงจะถูกสร้างขึน
้ จากผลึกซึ่งอยู่ภายในหัว
ทดสอบ (Probe) คลื่นเสียงจะเคลื่อนที่สู่ชน
ิ ้ งานโดยผ่านสารช่วย
สัมผัส (Couplant) ถ้าชิน
้ งานไม่มีรอยความไม่ต่อเนื่องจากหน้าจอ
ของเครื่องมือก็จะมีสัญญาณสะท้อนจากผิวด้านล่างของชิน
้ งาน
5. กระบวนการต่อยึดนอกจากการเชื่อมแล้วมีอะไรบ้าง

กรรมวิธีทางกล ประกอบด้วย

- การย้ำหมุด

- การยึดด้วยนัตและโบลท์

- การยึดด้วยสกรู

- การยึดด้วยสตัด

กรรมวิธีทางความร้อน ประกอบด้วย

- การบัดกรี (Soldering)

- การแล่นประสาน (Brazing)

- การเชื่อม (welding)

กรรมวิธีทางเคมี ประกอบด้วย

- การยึดด้วยกาวสังเคราะห์เทอร์โมเซ็ทติง้ (Thermosetting
Adhesive) ซึ่งประกอบด้วยกาวอีพอกซี (Epoxcy)กาวฟิ โนลิก
(Phenulice) และกาวซิลิโคน (Silicone)เป็ นต้น

- การยึดด้วยกาวสังเคราะห์เทอร์โมพลาสติก (Thermoplastic
Adhesive) ประกอบด้วย เซลลูโลสดีรีเวทีฟ (Cellulose
Derivatives) และอะครีลิก (Acrylics) เป็ นต้น

You might also like