You are on page 1of 119

บทที่ 7 แกสและสมบัติของแกส

ลิขสิทธิ์ของ สสวท. ใชเพื่อการศึกษาเทานั้นโดยอางอิงผูจัดทํา หามนําสวนหนึ่งสวนใดของไฟลนําเสนอนี้ไปใชเพื่อการพาณิชย โดยเด็ดขาด


คําถามสําคัญ
1. ความสัมพันธระหวางปริมาตร ความดัน อุณหภูมิ และจํานวนโมลของแกสเปนอยางไร
2. ความรูเกี่ยวกับสมบัติของแกสนําไปใชประโยชนอะไรไดบาง

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 2
จุดประสงคการเรียนรู
1. อธิบายความสัมพันธระหวางปริมาตรและความดันของแกส และคํานวณปริมาตรหรือ
ความดัน โดยใชความสัมพันธตามกฎของบอยล
2. อธิบายความสัมพันธระหวางปริมาตรและอุณหภูมิของแกส และคํานวณปริมาตรหรือ
อุณหภูมิ โดยใชความสัมพันธตามกฎของชารล
3. อธิบายความสัมพันธระหวางความดันและอุณหภูมิของแกส และคํานวณความดันหรือ
อุณหภูมิ โดยใชความสัมพันธตามกฎของเกย–ลูสแซก
4. คํานวณปริมาตร ความดัน หรืออุณหภูมิของแกสที่ภาวะตาง ๆ ตามกฎรวมแกส
5. อธิบายความสัมพันธระหวางปริมาตรและจํานวนโมลของแกส และคํานวณปริมาตรหรือ
จํานวนโมลโดยใชความสัมพันธตามกฎของอาโวกาโดร

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 3
จุดประสงคการเรียนรู
6. คํานวณปริมาตร ความดัน อุณหภูมิ จํานวนโมล หรือมวลของแกส โดยใชความสัมพันธตาม
กฎแกสอุดมคติ
7. คํานวณความดันยอยหรือจํานวนโมลของแกสในแกสผสม
8. อธิบายกฎตาง ๆ ของแกส โดยใชทฤษฎีจลนของแกส
9. อธิบายการแพรของแกสโดยใชทฤษฎีจลนของแกส
10. อธิบายความสัมพันธของอัตราการแพรกับมวลตอโมลของแกส
11. คํานวณและเปรียบเทียบอัตราการแพร หรือมวลตอโมลของแกส โดยใชกฎการแพรผานของเกรแฮม
12. สืบคนขอมูล อธิบายปรากฏการณ และยกตัวอยางการนําความรูเกี่ยวกับแกสและสมบัติของแกส
ไปใชประโยชน

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 4
ตรวจสอบความรูกอนเรียน
ใสเครื่องหมาย หนาขอความที่ถูกตอง และเครื่องหมาย หนาขอความที่ไมถูกตอง
…...1. แกสและของเหลวเปลี่ยนแปลงรูปรางตามภาชนะที่บรรจุ แตแตกตางกันตรงที่
ปริมาตรของแกสเปลี่ยนแปลงตามภาชนะที่บรรจุได
……2. ความดันของอากาศที่ระดับน้ําทะเลมีคาเทากับ 1 บรรยากาศ
…...3. แกส A 1.0 โมล ผสมกับแกส B 4.0 โมล เศษสวนโมลของแกส A เทากับ 0.25
......4. ที่ STP แกสตางชนิดกันมีปริมาตรเทากันเมื่อมีมวลเทากัน
......5. แกสฮีเลียม 2.00 กรัม มีจํานวนโมลเทากับแกสออกซิเจน 16.00 กรัม
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 5
ตรวจสอบความรูกอนเรียน
ใสเครื่องหมาย หนาขอความที่ถูกตอง และเครื่องหมาย หนาขอความที่ไมถูกตอง
......6. แกสคารบอนไดออกไซด 44.01 กรัม มีปริมาตร 22.4 ลิตรที่ STP
…...7. จากสมการ 2H2(g) + O2(g) 2H2O(g) แสดงวา แกสไฮโดรเจน 10 มิลลิกรัม
ทําปฏิกิริยาพอดีกับแกสออกซิเจน 5 มิลลิกรัม เกิดเปนไอน้ํา 10 มิลลิกรัม
......8. จากสมการ 2H2 (g) + O2(g) 2H2O(g) แสดงวา ที่ความดันและอุณหภูมิคงที่
แกสไฮโดรเจน 10 มิลลิลิตร ทําปฏิกิริยาพอดีกับแกสออกซิเจน 5 มิลลิลิตร เกิดเปน
ไอน้ํา 10 มิลลิลิตร
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 6
ตรวจสอบความรูกอนเรียน
ใสเครื่องหมาย หนาขอความที่ถูกตอง และเครื่องหมาย หนาขอความที่ไมถูกตอง
…...1. แกสและของเหลวเปลี่ยนแปลงรูปรางตามภาชนะที่บรรจุ แตแตกตางกันตรงที่
ปริมาตรของแกสเปลี่ยนแปลงตามภาชนะที่บรรจุได
……2. ความดันของอากาศที่ระดับน้ําทะเลมีคาเทากับ 1 บรรยากาศ
…...3. แกส A 1.0 โมล ผสมกับแกส B 4.0 โมล เศษสวนโมลของแกส A เทากับ 0.25
เศษสวนโมลของแกส A เทากับ 0.20

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 7
ตรวจสอบความรูกอนเรียน
ใสเครื่องหมาย หนาขอความที่ถูกตอง และเครื่องหมาย หนาขอความที่ไมถูกตอง
......4. ที่ STP แกสตางชนิดกันมีปริมาตรเทากันเมื่อมีมวลเทากัน
ที่ STP แกสตางชนิดกันที่มีปริมาตรเทากันเมื่อมีจําานวนโมลหรือจําานวนอนุภาค
เทากัน แตมวลอาจไมเทากันก็ได
......5. แกสฮีเลียม 2.00 กรัม มีจํานวนโมลเทากับแกสออกซิเจน 16.00 กรัม
......6. แกสคารบอนไดออกไซด 44.01 กรัม มีปริมาตร 22.4 ลิตรที่ STP

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 8
ตรวจสอบความรูกอนเรียน
ใสเครื่องหมาย หนาขอความที่ถูกตอง และเครื่องหมาย หนาขอความที่ไมถูกตอง
…...7. จากสมการ 2H2(g) + O2(g) 2H2O(g) แสดงวา แกสไฮโดรเจน 10 มิลลิกรัม
ทําปฏิกิริยาพอดีกับแกสออกซิเจน 5 มิลลิกรัม เกิดเปนไอน้ํา 10 มิลลิกรัม
เลขสัมประสิทธิ์ในสมการเคมีแสดงความสัมพันธของสารโดยจํานวนโมล ดังนั้น
แกสไฮโดรเจน 10 มิลลิกรัม (5 มิลลิโมล) ทําปฏิกิริยาพอดีกับแกสออกซิเจน 80
มิลลิกรัม (2.5 มิลลิโมล) เกิดเปนไอน้ํา 90 มิลลิกรัม (5 มิลลิโมล)

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 9
ตรวจสอบความรูกอนเรียน
ใสเครื่องหมาย หนาขอความที่ถูกตอง และเครื่องหมาย หนาขอความที่ไมถูกตอง
......8. จากสมการ 2H2 (g) + O2(g) 2H2O(g) แสดงวา ที่ความดันและอุณหภูมิคงที่
แกสไฮโดรเจน 10 มิลลิลิตร ทําปฏิกิริยาพอดีกับแกสออกซิเจน 5 มิลลิลิตร เกิดเปน
ไอน้ํา 10 มิลลิลิตร

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 10
สารในสถานะแกสมีแรงยึดเหนี่ยวระหวางอนุภาคนอยมาก อนุภาคอยูหางกัน และฟุงกระจาย
เต็มภาชนะที่บรรจุ ดังนั้นปริมาตรของสารในสถานะแกสจึงเทากับปริมาตรของภาชนะที่บรรจุ
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 11
เมื่อเปรียบเทียบปริมาตรของสารทั้ง 3 สถานะที่มีจํานวนโมลเทากัน พบวา เมื่อสารอยูใน
สถานะแกสจะมีปริมาตรมากกวาเมื่ออยูในสถานะของเหลวหรือของแข็ง ทําใหความหนาแนนของ
สารในสถานะแกสมีคานอยกวา นอกจากนี้ยังสามารถบีบอัดแกสใหมีปริมาตรลดลงไดเนื่องจากมี
ที่วางระหวางอนุภาคอยูมาก

ของแข็ง ของเหลว แกส


การจัดเรียงอนุภาคของสารชนิดหนึ่งที่อยูในสถานะของแข็ง ของเหลว และแกส
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 12
เมื่ออนุภาคแกสเคลื่อนที่ชนผนังภาชนะจะทําใหเกิดแรงกระทําตอพื้นผิวภายในของภาชนะ
ที่บรรจุ ซึ่งผลรวมของแรงทั้งหมดที่อนุภาคแกสกระทําตอพื้นที่เรียกวา ความดัน (pressure) และ
หนวยของความดันในระบบ SI คือ ปาสคัล (pascal; Pa)

ความดันของแกสที่เกิดขึ้นภายในลูกโปง
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 13
หนวยของความดันของแกสที่นิยมใชโดยทั่วไปคือ บรรยากาศ (atmosphere; atm) ซึ่ง
สัมพันธกับหนวยปาสคัล และหนวยอื่น ๆ ดังนี้
1 atm = 1.01325 × 105 Pa
= 760 mmHg
= 760 torr
= 1 bar
= 14.7 psi

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 14
รูหรือไม
หนวยมิลลิเมตรปรอท (mmHg) เรียกอีกชื่อหนึ่งวา ทอร (torr) ตามชื่อของ เอวันเจลิสตา
ตอรรีเชลลี (Evangelista Torricelli) นักวิทยาศาสตรชาวอิตาลี ผูประดิษฐบารอมิเตอรปรอท

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 15
ความรูเพิ่มเติม
บารอมิเตอร (barometer) เปนอุปกรณที่ใชวัดความดันบรรยากาศ สุญญากาศ
บารอมิเตอรอยางงาย ประกอบดวยหลอดแกวยาวที่มีปลายปดดานหนึ่ง ความดันปรอท
ในหลอดแกว
ซึ่งบรรจุปรอทไวเต็มคว่ําอยูในภาชนะที่บรรจุปรอท ปรอทในหลอดแกว
ความดัน
บางสวนจะไหลออกมาสูภาชนะ จึงทําใหระดับของปรอทลดลงและเกิด บรรยากาศ 760 mm
สุญญากาศบริเวณดานปลายปดของหลอดแกว และปรอทจะหยุดไหล
ออกจากหลอดแกวเมื่อความดันของปรอทในหลอดแกวเทากับความดัน ปรอท
ของบรรยากาศที่ ก ระทํ า ต อ ผิ ว หน า ของปรอทที่ อ ยู ใ นภาชนะ จึ ง ใช
ความสูงของระดับปรอทในหลอดแกวระบุความดันบรรยากาศในหนวย บารอมิเตอร
มิลลิเมตรปรอท
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 16
ความรูเพิ่มเติม
แมนอมิเตอร (manometer) เปนอุปกรณที่ใชวัดความดันของแกส
อื่น ๆ นอกเหนือจากความดันบรรยากาศ มีลักษณะเปนหลอดแกวรูปตัวยู
สําหรับบรรจุข องเหลว โดยทั่วไปนิยมใชปรอท แมนอมิเตอรอยางงาย
มีปลายเปดทั้งสองดาน เมื่อเริ่มตนระดับของของเหลวในหลอดแกวรูปตัวยู
ทั้งสองดา นจะเทากั น เนื่ องจากความดั นอากาศที่ กระทําตอ ของเหลว
ทั้งสองดานเทากัน เมื่อตอแมนอมิเตอรเขากับภาชนะบรรจุแกส ระดับของ
ของเหลวในหลอดแกวรู ปตัวยู จะเปลี่ยนแปลงไป ซึ่งผลตางของระดั บ
ความสูงของปรอทระหวางสองดานสามารถใชคํานวณความดันของแกส แมนอมิเตอร
(Pgas) โดยเปรียบเทียบกับความดันบรรยากาศ (Patm) ดังนี้
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 17
ความรูเพิ่มเติม

h = 40 mm h = 40 mm

Pgas = Patm Pgas = Patm + h Pgas = Patm – h


ถา Patm = 760 mmHg
Pgas = 760 mmHg Pgas = 800 mmHg Pgas = 720 mmHg
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 18
ความสัมพันธระหวางปริมาตร ความดัน อุณหภูมิ
และจํานวนโมลของแกส

ลิขสิทธิ์ของ สสวท. ใชเพื่อการศึกษาเทานั้นโดยอางอิงผูจัดทํา หามนําสวนหนึ่งสวนใดของไฟลนําเสนอนี้ไปใชเพื่อการพาณิชย โดยเด็ดขาด


7.1 ความสัมพันธระหวางปริมาตร ความดัน อุณหภูมิ และจํานวนโมล
ของแกส
7.1.1 ความสัมพันธระหวางปริมาตรและความดันของแกส

ความดันและปริมาตรของแกสมีความสัมพันธกันอยางไร

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 20
กิจกรรม 7.1 การทดลองศึกษาความสัมพันธระหวางความดันและ
ปริมาตรของอากาศ
จุดประสงคการทดลอง
ทดลองและอธิบายความสัมพันธระหวางความดันและปริมาตรของอากาศ

วัสดุและอุปกรณ
กระบอกฉีดยาพลาสติก ขนาด 20 mL

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 21
กิจกรรม 7.1 การทดลองศึกษาความสัมพันธระหวางความดันและ
ปริมาตรของอากาศ
วิธีทําทดลอง

1. ดึงกานกระบอกฉีดยาใหมีปริมาตรของอากาศเปน
10.0 mL ใชปลายนิ้วอุดปลายกระบอกฉีดยาไว
จากนั้นกดกานกระบอกฉีดยาชา ๆ จนกระทั่งมี
ปริมาตรของอากาศเปน 5.0 mL ปลอยมือที่กด
กานกระบอกฉีดยา และสังเกตการเปลี่ยนแปลง

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 22
กิจกรรม 7.1 การทดลองศึกษาความสัมพันธระหวางความดันและ
ปริมาตรของอากาศ
วิธีทําทดลอง

2. ดึงกานกระบอกฉีดยาใหมีปริมาตรของอากาศเปน
10.0 mL ใชปลายนิ้วอุดปลายกระบอกฉีดยาไว
จากนั้นดึงกานกระบอกฉีดยาขึ้นอยางชา ๆ
จนกระทั่งมีปริมาตรของอากาศเปน 20.0 mL
ปลอยมือที่ดึงกานกระบอกฉีดยา และสังเกต
การเปลี่ยนแปลง

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 23
กิจกรรม 7.1 การทดลองศึกษาความสัมพันธระหวางความดันและ
ปริมาตรของอากาศ
ตัวอยางผลการทดลอง

• เมื่อกดกานกระบอกฉีดยาจนมีปริมาตร 5.0 mL แลวปลอยมือพบวา กานกระบอกฉีดยา


เลื่อนกลับออกมาจนมีปริมาตรเทากับปริมาตรเริ่มตน
• เมื่อดึงกานกระบอกฉีดยาจนมีปริมาตร 20.0 mL แลวปลอยมือ กานกระบอกฉีดยา
เลื่อนกลับเขาไปจนมีปริมาตรเทากับปริมาตรเริ่มตน

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 24
กิจกรรม 7.1 การทดลองศึกษาความสัมพันธระหวางความดันและ
ปริมาตรของอากาศ

https://youtu.be/XXJ2KJcjwOw
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 25
กิจกรรม 7.1 การทดลองศึกษาความสัมพันธระหวางความดันและ
ปริมาตรของอากาศ
คําถามทายการทดลอง
1. อุณหภูมิและจํานวนโมลของอากาศภายในกระบอกฉีดยา กอนและหลังการทดลองมีการ
เปลี่ยนแปลงหรือไม อยางไร
2. ความดันของอากาศในกระบอกฉีดยาเมื่อเริ่มทําการทดลองมีคาเทากับความดันบรรยากาศ
ภายนอกหรือไม
3. เมื่อกดกานกระบอกฉีดยาจนปริมาตรของอากาศเปน 5.0 mL ความดันของอากาศภายใน
กระบอกฉีดยามากกวาหรือนอยกวาความดันบรรยากาศ ทราบไดอยางไร
4. เมื่อดึงกานกระบอกฉีดยาจนปริมาตรของอากาศเปน 20.0 mL ความดันของอากาศภายใน
กระบอกฉีดยามากกวาหรือนอยกวาความดันบรรยากาศ ทราบไดอยางไร
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 26
กิจกรรม 7.1 การทดลองศึกษาความสัมพันธระหวางความดันและ
ปริมาตรของอากาศ
คําถามทายการทดลอง
1. อุณหภูมิและจํานวนโมลของอากาศภายในกระบอกฉีดยา กอนและหลังการทดลองมีการ
เปลี่ยนแปลงหรือไม อยางไร
อุณหภูมิและจํานวนโมลของอากาศภายในกระบอกฉีดยา กอนและหลังการทดลองคงที่
ไมมีการเปลี่ยนแปลง
2. ความดันของอากาศในกระบอกฉีดยาเมื่อเริ่มทําการทดลองมีคาเทากับความดันบรรยากาศ
ภายนอกหรือไม
ความดันของอากาศในกระบอกฉีดยาเมื่อเริ่มทําการทดลองมีคาเทากับความดันบรรยากาศ
ภายนอก
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 27
กิจกรรม 7.1 การทดลองศึกษาความสัมพันธระหวางความดันและ
ปริมาตรของอากาศ
คําถามทายการทดลอง
3. เมื่อกดกานกระบอกฉีดยาจนปริมาตรของอากาศเปน 5.0 mL ความดันของอากาศภายใน
กระบอกฉีดยามากกวาหรือนอยกวาความดันบรรยากาศ ทราบไดอยางไร
ความดันของอากาศภายในกระบอกฉีดยามากกวาความดันบรรยากาศ เนื่องจาก
กานกระบอกฉีดยาเลื่อนกลับออกมาจนมีปริมาตรเทากับปริมาตรเริ่มตน
4. เมื่อดึงกานกระบอกฉีดยาจนปริมาตรของอากาศเปน 20.0 mL ความดันของอากาศภายใน
กระบอกฉีดยามากกวาหรือนอยกวาความดันบรรยากาศ ทราบไดอยางไร
ความดันของอากาศภายในกระบอกฉีดยานอยกวาความดันบรรยากาศ เนื่องจาก
กานกระบอกฉีดยาเลื่อนกลับเขาไปจนมีปริมาตรเทากับปริมาตรเริ่มตน
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 28
กิจกรรม 7.1 การทดลองศึกษาความสัมพันธระหวางความดันและ
ปริมาตรของอากาศ
อภิปรายผลการทดลอง
การทดลองนี้ทําที่อุณหภูมิคงที่ และมีจํานวนโมลของอากาศในกระบอกฉีดยาคงที่ เมื่อเริ่มตน
ความดันของอากาศปริมาตร 10.0 mL ในกระบอกฉีดยามีคาเทากับความดันบรรยากาศภายนอก
เมื่อกดกานกระบอกฉีดยาจนทําใหปริมาตรของอากาศในกระบอกฉีดยาลดลงเปน 5.0 mL แลว
ปลอยมือ กานกระบอกฉีดยาเลื่อนกลับออกมาจนมีปริมาตรเทากับปริมาตรเริ่มตน แสดงวา อากาศใน
กระบอกฉีดยาที่ปริมาตร 5.0 mL มีความดันมากกวาความดันบรรยากาศ
เมื่อดึงกานกระบอกฉีดยาจนทําใหปริมาตรของอากาศในกระบอกฉีดยาเพิ่มขึ้นเปน 20.0 mL
แลวปลอยมือ กานกระบอกฉีดยาเลื่อนกลับเขาไปจนมีปริมาตรเทากับปริมาตรเริ่มตน แสดงวา
อากาศในกระบอกฉีดยาที่ปริมาตร 20.0 mL มีความดันนอยกวาความดันบรรยากาศ
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 29
กิจกรรม 7.1 การทดลองศึกษาความสัมพันธระหวางความดันและ
ปริมาตรของอากาศ
สรุปผลการทดลอง
ที่อุณหภูมิและจํานวนโมลของอากาศคงที่ เมื่อปริมาตรของอากาศลดลง ความดันของอากาศจะ
เพิ่มขึ้น และเมื่อปริมาตรของอากาศเพิ่มขึ้น ความดันของอากาศจะลดลง

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 30
7.1.1 ความสัมพันธระหวางปริมาตรและความดันของแกส
รอเบิรต บอยล (Robert Boyle) นักวิทยาศาสตรชาวอังกฤษไดทําการทดลองเพื่อศึกษา
ความสัมพันธระหวางปริมาตรและความดันของแกส ที่อุณหภูมิและจํานวนโมลคงที่ โดยใชหลอดแกว
รูปตัวเจ (J) ที่มีปลายเปดอยูดานบน
เริ่มการทดลองโดยเติมปรอท เติมปรอทลงในหลอดแกวเพิ่มอีก
จนระดับของปรอทในหลอดแกว จนระดับปรอทในหลอดแกวดาน
ทั้งสองดานเทากัน ปลายเปดสูงกวาดานปลายปด
Patm
760 มิลลิเมตร
V 760 mm
V Pgas 2
Pgas Patm
แกสในหลอดแกวดานปลายปด
แกสในหลอดแกวดานปลายปด • ความดันเพิ่มขึ้นเปน 1520 mmHg
• ความดัน 760 mmHg หรือ 1 atm หรือ 2 atm
• ปริมาตรเทากับ V • ปริมาตรของแกสลดลงเปน V2
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 31
7.1.1 ความสัมพันธระหวางปริมาตรและความดันของแกส
รอเบิรต บอยลไดทําการทดลองอีกหลายครั้งที่ระดับความสูงของปรอทตาง ๆ กันและได
ตัวอยางผลการทดลองดังตาราง ซึ่งพบวา ผลคูณระหวางความดันกับปริมาตรของแตละการทดลอง
มีคาเกือบคงที่
ความดัน ปริมาตร 1 PV
P -1
(mmHg) (mL) (mmHg ) (mmHg⋅mL)
780 20.00 0.00128 1.56 × 104
1038 15.00 0.000963 1.56 × 104
1560 10.00 0.000641 1.56 × 104
3112 5.00 0.000321 1.56 × 104
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 32
7.1.1 ความสัมพันธระหวางปริมาตรและความดันของแกส
เมื่อนําขอมูลจากตารางมาเขียนกราฟความสัมพันธระหวางปริมาตรกับความดันและปริมาตร
กับสวนกลับของความดันไดกราฟดังรูป
25 25
20 20

V (mL)
15 15
V (mL)

10 10
5 5
0 0
1000 2000 3000 4000 0.0005 0.0010 0.0015
P (mmHg) 1 (mmHg-1)
P
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 33
7.1.1 ความสัมพันธระหวางปริมาตรและความดันของแกส
จากผลการทดลองทําใหสามารถสรุปความสัมพันธไดวา
“เมื่ออุณหภูมิและจํานวนโมล ของแกสคงที่ ปริมาตร (V) จะแปรผกผันกับความดัน (P)
ความสัมพันธนี้เรียกวา กฎของบอยล (Boyle’s law)”
เขียนแทนดวยสมการทางคณิตศาสตรไดดังนี้

V ∝ 1
P
V = คาคงที่ × P1
PV = คาคงที่

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 34
7.1.1 ความสัมพันธระหวางปริมาตรและความดันของแกส
ความสัมพันธตามกฎของบอยล อาจเขียนอยูในรูปที่สามารถใชคํานวณปริมาตรหรือความดัน
ของแกสที่สองสภาวะไดดังนี้

P 1 V 1 = P2 V 2

เมื่อ P1 และ P2 คือ ความดันของแกสที่มีปริมาตร V1 และ V2 ตามลําดับ


ที่อุณหภูมิและจํานวนโมลคงที่

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 35
7.1.1 ความสัมพันธระหวางปริมาตรและความดันของแกส
ตัวอยาง 1
แกสชนิดหนึ่งบรรจุอยูในภาชนะขนาด 100.0 ลูกบาศกเซนติเมตร ที่ความดัน 1.0 บรรยากาศ
ณ อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส ถาแกสนี้บรรจุในภาชนะขนาด 200.0 ลูกบาศกเซนติเมตร ณ อุณหภูมิ
เดิม แกสนี้จะมีความดันเทาใด
วิธีทํา
จาก P1V1 = P2V2
แทนคาจะได (1.0 atm)(100.0 cm3) = P2(200.0 cm3)
(1.0 atm)(100.0 cm3)
P2 =
(200.0 cm3)
= 0.50 atm
ดังนั้น แกสชนิดนี้จะมีความดัน 0.50 บรรยากาศ
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 36
7.1.1 ความสัมพันธระหวางปริมาตรและความดันของแกส
ตัวอยาง 2
แกสชนิดหนึ่งบรรจุอยูใ นกระบอกสูบขนาด 2.0 ลิตร ที่ความดัน 1.5 บรรยากาศ เมื่ออัดกระบอกสูบ
ใหความดันเพิ่มขึ้นเปน 1520 มิลลิเมตรปรอท ที่อุณหภูมิคงที่ ปริมาตรของแกสจะเปนเทาใด
วิธีทํา
จาก P1V1 = P2V2
แทนคาจะได (1.5 atm)(2.0 L) = (1520 mmHg × 1 atm )V2
760 mmHg
(1.5 atm)(2.0 L) = (2.00 atm)V2
V2 = (1.5 atm)(2.0 L)
(2.00 atm)
= 1.5 L
ดังนั้น แกสมีปริมาตร 1.5 ลิตร
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 37
ตรวจสอบความเขาใจ
ในการทดลองวัดปริมาตรของอากาศในหลอดรูปตัวเจ (J) เมื่อเริ่มตนอากาศในหลอดรูปตัวเจ
ดานปลายปดมีปริมาตร 30 มิลลิลิตร และมีความดัน 1.0 บรรยากาศ เมื่อเติมปรอทลงในหลอดเพิ่มเติม
พบวา ความดันภายในหลอดเพิ่มเปน 1.5 บรรยากาศ จงคํานวณปริมาตรของอากาศในหลอดรูปตัวเจ
หลังเติมปรอท ถากําหนดใหอุณหภูมิที่ทําการทดลองคงที่

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 38
ตรวจสอบความเขาใจ
ในการทดลองวัดปริมาตรของอากาศในหลอดรูปตัวเจ (J) เมื่อเริ่มตนอากาศในหลอดรูปตัวเจ
ดานปลายปดมีปริมาตร 30 มิลลิลิตร และมีความดัน 1.0 บรรยากาศ เมื่อเติมปรอทลงในหลอดเพิ่มเติม
พบวา ความดันภายในหลอดเพิ่มเปน 1.5 บรรยากาศ จงคํานวณปริมาตรของอากาศในหลอดรูปตัวเจ
หลังเติมปรอท ถากําหนดใหอุณหภูมิที่ทําการทดลองคงที่
จาก P1V1 = P2V2
แทนคาจะได (1.0 atm)(30 mL) = (1.5 atm) V2
V2 = (1.0 atm)(30 mL)
(1.5 atm)
= 20 mL
ดังนั้น ปริมาตรของอากาศในหลอดรูปตัวเจหลังเติมปรอทเทากับ 20 มิลลิลิตร
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 39
7.1.2 ความสัมพันธระหวางปริมาตรและอุณหภูมิของแกส

หากอุณหภูมิของแกสเปลี่ยนแปลง
ปริมาตรของแกสจะเปลี่ยนแปลงหรือไม อยางไร

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 40
กิจกรรม 7.2 การทดลองศึกษาความสัมพันธระหวางปริมาตรและ
อุณหภูมิของอากาศ
จุดประสงคการทดลอง
ทดลองและอธิบายความสัมพันธระหวางปริมาตรและอุณหภูมิของอากาศ

วัสดุ อุปกรณ และสารเคมี

1. ขวดพลาสติกใสชนิดไมยุบตัวเมื่อ 3. น้ํา
ถูกความรอน ขนาด 500 mL 4. น้ํายาลางจาน
2. บีกเกอรขนาด 500 mL 5. น้ํารอน (อุณหภูมิประมาณ 60 °C)
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 6. น้ําแข็ง 41
กิจกรรม 7.2 การทดลองศึกษาความสัมพันธระหวางปริมาตรและ
อุณหภูมิของอากาศ
วิธีทดลอง

1. ผสมน้ํากับน้ํายาลางจานในอัตราสวน 2 : 1 ใสใน
บีกเกอรใบที่ 1
2. จุมปากขวดพลาสติกลงในบีกเกอรใบที่ 1 ดังรูป
เพื่อใหเกิดแผนฟลมบาง ๆ ของน้ํายาลางจาน
ปดที่ปากขวด สังเกตลักษณะของฟลมที่ปากขวด

น้ําผสมน้ํายาลางจาน
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 42
กิจกรรม 7.2 การทดลองศึกษาความสัมพันธระหวางปริมาตรและ
อุณหภูมิของอากาศ
วิธีทดลอง

3. เทน้ํารอนใสบีกเกอรใบที่ 2 โดยใหน้ํารอนมีระดับ
ความสูงประมาณ 2 cm แลววางขวดพลาสติกที่
เตรียมไวในขอ 2 ลงในบีกเกอร โดยหงายปากขวด
ขึ้น ดังรูป สังเกตการเปลี่ยนแปลง และบันทึกผล
โดยการวาดรูปประกอบ
4. ทําการทดลองซ้ําตั้งแตขอ 2–3 แตเปลี่ยนจาก
น้ํารอน
น้ํารอนเปนน้ําผสมน้ําแข็งแทน
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 43
กิจกรรม 7.2 การทดลองศึกษาความสัมพันธระหวางปริมาตรและ
อุณหภูมิของอากาศ
ตัวอยางผลการทดลอง

เมื่อวางขวดพลาสติกในบีกเกอรที่บรรจุนํ้ารอน แผนฟลม
ของนํ้ายาลางจานที่ปากขวดจะพองขึ้นมา ดังรูป

เมื่อวางขวดพลาสติกในบีกเกอรที่บรรจุนํ้าผสมนํ้าแข็ง
แผนฟลมของนํ้ายาลางจานที่ปากขวดจะยุบลงไป ดังรูป

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 44
กิจกรรม 7.2 การทดลองศึกษาความสัมพันธระหวางปริมาตรและ
อุณหภูมิของอากาศ

https://youtu.be/k0dV84nPDns
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 45
กิจกรรม 7.2 การทดลองศึกษาความสัมพันธระหวางปริมาตรและ
อุณหภูมิของอากาศ
คําถามทายการทดลอง

1. จํานวนโมลและความดันของอากาศในขวดพลาสติกกอนทําการทดลองและหลังการทดลอง
เสร็จสิ้นมีการเปลี่ยนแปลงหรือไม อยางไร
2. เมื่อวางขวดพลาสติกลงในบีกเกอรที่มีน้ํารอนและน้ําผสมน้ําแข็ง ปริมาตรและอุณหภูมิของ
อากาศในขวดพลาสติกเปลี่ยนแปลงหรือไม อยางไร

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 46
กิจกรรม 7.2 การทดลองศึกษาความสัมพันธระหวางปริมาตรและ
อุณหภูมิของอากาศ
คําถามทายการทดลอง

1. จํานวนโมลและความดันของอากาศในขวดพลาสติกกอนทําการทดลองและหลังการทดลอง
เสร็จสิ้นมีการเปลี่ยนแปลงหรือไม อยางไร
จํานวนโมลและความดันของอากาศภายในขวดพลาสติกกอนและหลังการทดลองคงที่
ไมมีการเปลี่ยนแปลง

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 47
กิจกรรม 7.2 การทดลองศึกษาความสัมพันธระหวางปริมาตรและ
อุณหภูมิของอากาศ
คําถามทายการทดลอง

2. เมื่อวางขวดพลาสติกลงในบีกเกอรที่มีน้ํารอนและน้ําผสมน้ําแข็ง ปริมาตรและอุณหภูมิของ
อากาศในขวดพลาสติกเปลี่ยนแปลงหรือไม อยางไร
เปลี่ยนแปลง โดยเมื่อวางขวดพลาสติกในบีกเกอรที่บรรจุนํ้ารอน อุณหภูมิของอากาศ
เพิ่มขึ้น และแผนฟลมของนํ้ายาลางจานที่ปากขวดพองขึ้นมาแสดงวา ปริมาตรของ
อากาศเพิ่มขึ้น และเมื่อวางขวดพลาสติกในบีกเกอรที่บรรจุนํ้าผสมนํ้าแข็ง อุณหภูมิของ
อากาศลดลง และแผนฟลมของนํ้ายาลางจานที่ปากขวดยุบลงไป แสดงวา ปริมาตรของ
อากาศลดลง
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 48
กิจกรรม 7.2 การทดลองศึกษาความสัมพันธระหวางปริมาตรและ
อุณหภูมิของอากาศ
อภิปรายผลการทดลอง
การทดลองนี้มีจํานวนโมลของอากาศในขวดพลาสติกคงที่ และความดันของอากาศกอนและ
หลังการทดลองคงที่
เมื่อวางขวดพลาสติกในบีกเกอรที่บรรจุนํ้ารอน แผนฟลมของนํ้ายาลางจานที่ปากขวดจะพอง
ขึ้นมา แสดงวาเมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้น ปริมาตรของอากาศภายในขวดเพิ่มขึ้น
เมื่อวางขวดพลาสติกในบีกเกอรที่บรรจุนํ้าผสมนํ้าแข็ง แผนฟลมของนํ้ายาลางจานที่ปากขวด
ยุบลงไป แสดงวาเมื่ออุณหภูมิลดลง ปริมาตรของอากาศลดลง

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 49
กิจกรรม 7.2 การทดลองศึกษาความสัมพันธระหวางปริมาตรและ
อุณหภูมิของอากาศ
สรุปผลการทดลอง
ที่ความดันและจํานวนโมลของอากาศคงที่ ปริมาตรของอากาศเพิ่มขึ้นเมื่ออุณหภูมิของอากาศ
เพิ่มขึ้น และปริมาตรของอากาศลดลงเมื่ออุณหภูมิของอากาศลดลง

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 50
7.1.2 ความสัมพันธระหวางปริมาตรและอุณหภูมิของแกส
ชาก-อาแลกซองดร- เซซา ชารล (Jacques-Alexandre-César Charles) ทําการทดลองกับ
บอลลูนและพบวา ปริมาตรของแกสเพิ่มขึ้นตามอุณหภูมิที่เพิ่มขึ้น ซึ่งตอมาไดรับการยืนยัน โดย
ผลการทดลองของ โชเซฟ-ลุย เก-ลูซัก (Joseph-Louis Gay-Lussac)

กราฟความสัมพันธระหวางปริมาตรและอุณหภูมิของแกส ศึกษาไดจากกิจกรรมตอไปนี้

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 51
กิจกรรม 7.3 กราฟความสัมพันธระหวางปริมาตรและอุณหภูมิของแกส
จุดประสงคของกิจกรรม
เขียนกราฟและสมการแสดงความสัมพันธระหวางปริมาตรและอุณหภูมิของแกส

วัสดุและอุปกรณ

กระดาษกราฟ

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 52
กิจกรรม 7.3 กราฟความสัมพันธระหวางปริมาตรและอุณหภูมิของแกส
วิธีทํากิจกรรม การทดลอง อุณหภูมิ ปริมาตร
ครั้งที่ (oC) (mL)
เขียนกราฟแสดงความสัมพันธระหวางปริมาตร 1 -230 15
(แกน y) และอุณหภูมิของแกส (แกน x) จาก 2 -170 41
ขอมูลการทดลองวัดปริมาตรของแกสชนิดหนึ่ง
3 -130 54
ณ อุณหภูมิตาง ๆ ดังตาราง ที่ความดันและ
4 -70 80
จํานวนโมลคงที่
5 20 113
6 120 152
7 230 198
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 53
กิจกรรม 7.3 กราฟความสัมพันธระหวางปริมาตรและอุณหภูมิของแกส
ความรูเพิ่มเติม การลากเสนกราฟแสดงแนวโนมของขอมูลทั้งหมด ทําไดโดยลากเสนใหใกลเคียงกับ
จุดขอมูลมากที่สุด ซึ่งไมจําเปนตองผานจุดขอมูลทุกจุด ดังตัวอยาง
900
200

160 700

120
500
80
300
40

0 100
0 50 100 150 200 250 300 80 100 120 140 160 180

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 54
กิจกรรม 7.3 กราฟความสัมพันธระหวางปริมาตรและอุณหภูมิของแกส
ตัวอยางผลการทํากิจกรรม
ปริมาตร (mL)
กราฟความสัมพันธระหวาง
ปริมาตร (แกน y) และอุณหภูมิ
ของแกส (แกน x) จากขอมูลการ
ทดลองวัดปริมาตรแกสที่อณุ หภูมิ
ตาง ๆ ที่ความดันและจํานวนโมล
คงที่ เปนดังนี้

อุณหภูมิ (oC)
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 55
กิจกรรม 7.3 กราฟความสัมพันธระหวางปริมาตรและอุณหภูมิของแกส
คําถามทายกิจกรรม

1. กราฟที่ไดมีลักษณะอยางไร
2. สมการแสดงความสัมพันธระหวางปริมาตรและอุณหภูมิของแกสเปนอยางไร
3. จุดตัดแกน x เปนเทาใด และที่จุดนี้แกสมีปริมาตรเทาใด

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 56
กิจกรรม 7.3 กราฟความสัมพันธระหวางปริมาตรและอุณหภูมิของแกส
คําถามทายกิจกรรม

1. กราฟที่ไดมีลักษณะอยางไร
กราฟที่ไดมีลักษณะเปนเสนตรง
2. สมการแสดงความสัมพันธระหวางปริมาตรและอุณหภูมิของแกสเปนอยางไร
กราฟมีจุดตัดแกน y ที่ 106 mL เมื่อหาความชันของเสนกราฟพบวามีคาเทากับ 0.39
ดังนั้น สมการเสนตรงของความสัมพันธระหวางปริมาตรและอุณหภูมิของแกสเปนดังนี้
y = 0.39x + 106
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 57
กิจกรรม 7.3 กราฟความสัมพันธระหวางปริมาตรและอุณหภูมิของแกส
คําถามทายกิจกรรม ปริมาตร (mL)

3. จุดตัดแกน x เปนเทาใด และ


ที่จุดนี้แกสมีปริมาตรเทาใด
กราฟมีจุดตัดแกน x
ประมาณ -273 oC และ
ที่จุดนี้แกสมีปริมาตร 0 mL

อุณหภูมิ (oC)
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 58
กิจกรรม 7.3 กราฟความสัมพันธระหวางปริมาตรและอุณหภูมิของแกส
อภิปรายผลการทํากิจกรรม

กราฟที่ไดมีลักษณะเปนเสนตรง โดยมีจุดตัดแกน y ที่ 106 mL เมื่อหาความชันของเสนกราฟ


พบวามีคาเทากับ 0.39 และสมการเสนตรงของความสัมพันธระหวางปริมาตรและอุณหภูมิของแกส
เปนดังนี้
y = 0.39x + 106
เมื่อลากเสนตอกราฟไปจนตัดแกน x พบวา เสนกราฟตัดที่ประมาณ -273 oC ซึ่งเปนอุณหภูมิ
ที่แกสมีปริมาตรเทากับ 0 mL

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 59
กิจกรรม 7.3 กราฟความสัมพันธระหวางปริมาตรและอุณหภูมิของแกส
สรุปผลการทํากิจกรรม

ที่ความดันและจํานวนโมลของอากาศคงที่ ปริมาตรของอากาศเพิ่มขึ้นเมื่ออุณหภูมิของอากาศ
เพิ่มขึ้น และปริมาตรของอากาศลดลงเมื่ออุณหภูมิของอากาศลดลง

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 60
7.1.2 ความสัมพันธระหวางปริมาตรและอุณหภูมิของแกส
อุณหภูมิที่แกสมีปริมาตรเปนศูนยไดจากจุดที่เสนกราฟตัดแกน x ซึ่งสอดคลองกับอุณหภูมิ
สัมบูรณ (absolute zero) หรือ 0 เคลวิน (K) ที่เสนอโดยวิลเลียม ทอมสัน (William Thomson)
หรือลอรดเคลวิน (Lord Kelvin) และมีคาเทากับ -273.15 องศาเซลเซียส

ความสัมพันธระหวางอุณหภูมิในหนวยองศาเซลเซียสและเคลวิน เปนดังนี้

T(K) = 273.15 + T(oC)

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 61
ชวนคิด
จากตารางขอมูลในกิจกรรม 7.3 นักเรียนคิดวา อัตราสวนระหวางปริมาตรและอุณหภูมิ
ของแกสในหนวยองศาเซลเซียสหรือเคลวินแตกตางกันอยางไร

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 62
ชวนคิด
จากตารางขอมูลในกิจกรรม 7.3 นักเรียนคิดวา อัตราสวนระหวางปริมาตรและอุณหภูมิ
ของแกสในหนวยองศาเซลเซียสหรือเคลวินแตกตางกันอยางไร
อัตราสวนระหวางปริมาตรและอุณหภูมิของแกสในหนวยองศาเซลเซียสจะไดคาไมคงที่ แต
อัตราสวนระหวางปริมาตรและอุณหภูมิของแกสในหนวยเคลวินจะไดคาคงที่

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 63
7.1.2 ความสัมพันธระหวางปริมาตรและอุณหภูมิของแกส
ถาเขียนกราฟความสัมพันธระหวางปริมาตรกับอุณหภูมิในหนวยเคลวินจะไดจุดตัดแกน x
ของกราฟที่ 0 เคลวิน
ปริมาตร (mL)

อุณหภูมิ (K)
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 64
7.1.2 ความสัมพันธระหวางปริมาตรและอุณหภูมิของแกส
เมื่อหาอัตราสวนระหวางปริมาตรและอุณหภูมิของแกสในหนวยเคลวินจะพบวา ไดคาคงที่
ดังนั้น
“เมื่อความดันและจํานวนโมลของแกสคงที่ ปริมาตร (V) จะแปรผันตรงกับอุณหภูมิ (T) ใน
หนวยเคลวิน ความสัมพันธนี้เรียกวา กฎของชารล (Charles' law)”
เขียนแทนดวยสมการทางคณิตศาสตรไดดังนี้
V ∝ T
V = คาคงที่ × T
V = คาคงที่
T
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 65
7.1.2 ความสัมพันธระหวางปริมาตรและอุณหภูมิของแกส
ความสัมพันธตามกฎของชารล อาจเขียนอยูในรูปที่สามารถใชคํานวณปริมาตรหรือ
อุณหภูมิของแกสที่สองสภาวะไดดังนี้

V1 = V2
T1 T2

เมื่อ V1 และ V2 คือ ปริมาตรของแกสที่มีอุณหภูมิ T1 และ T2 ตามลําดับ


ที่ความดันและจํานวนโมลคงที่

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 66
7.1.2 ความสัมพันธระหวางปริมาตรและอุณหภูมิของแกส
ตัวอยาง 3
แกสไนโตรเจน (N2) ในกระบอกสูบปด ปริมาตร 250 มิลลิลิตร ที่อุณหภูมิ 373 เคลวิน เมื่อทําให
อุณหภูมิลดลงเปน 273 เคลวิน โดยความดันของแกสไมเปลี่ยนแปลง ปริมาตรสุดทายของแกสเปนเทาใด
วิธีทํา
จาก V1 V2
=
T1 T2
แทนคาจะได 250 mL = V2
373 K 273 K
V2 = (250 mL)(273 K)
(373 K)
= 183 mL
ดังนั้น แกสมีปริมาตร 183 มิลลิลิตร
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 67
7.1.2 ความสัมพันธระหวางปริมาตรและอุณหภูมิของแกส
ตัวอยาง 4
แกสชนิดหนึ่งมีความดัน 1 บรรยากาศ อุณหภูมิ 2 องศาเซลเซียส บรรจุไวในภาชนะที่ยืดหยุนได
เมื่อนําภาชนะบรรจุแกสนี้ไปจุมลงในของเหลวที่กําลังเดือดที่ความดันคงที่ ปริมาตรของแกสจะขยายตัว
จาก 70.0 มิลลิลิตร เปน 90.0 มิลลิลิตร ที่อุณหภูมิกี่องศาเซลเซียส
วิธีทํา
จาก V1 V2
= เปลี่ยนหนวยอุณหภูมิเปน oC
T1 T2
แทนคาจะได 70.0 mL = 90.0 mL T(°C) = (354 – 273) °C
(2 + 273) K T2
= 81 °C
T2 = (90.0 mL)(275 K)
(70.0 mL) ดังนั้น แกสมีอุณหภูมิ 81 องศาเซลเซียส
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี = 354 K 68
ตรวจสอบความเขาใจ
1. ถาตองการใหแกสไฮโดรเจน (H2) ที่อุณหภูมิ 27 องศาเซลเซียส มีปริมาตรลดลงครึ่งหนึ่ง
ที่ความดันคงที่ ตองทําใหอุณหภูมิของแกสเปนกี่องศาเซลเซียส
2. ถาบรรจุแกสฮีเลียมในลูกโปง 10.0 ลิตร ที่อุณหภูมิ 27 องศาเซลเซียส แลวนําลูกโปงนี้ ไปไว
ในที่ที่มีอุณหภูมิ 57 องศาเซลเซียส ลูกโปงจะมีขนาดเทาใด ถากําหนดใหความดันภายใน
ลูกโปงคงที่

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 69
ตรวจสอบความเขาใจ
1. ถาตองการใหแกสไฮโดรเจน (H2) ที่อุณหภูมิ 27 องศาเซลเซียส มีปริมาตรลดลงครึ่งหนึ่ง
ที่ความดันคงที่ ตองทําใหอุณหภูมิของแกสเปนกี่องศาเซลเซียส
V1 V2
จาก = เปลี่ยนหนวยอุณหภูมิเปน oC
T1 T2
V1 = V1 /2 T(°C) = (150 – 273) °C
แทนคาจะได
(27 + 273) K T2 = -123 °C
T2 = (V1 /2)(300 K)
V1 ดังนั้น ตองทําใหอุณหภูมิของแกสไฮโดรเจน
= 150 K เปน -123 องศาเซลเซียส
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 70
ตรวจสอบความเขาใจ
2. ถาบรรจุแกสฮีเลียมในลูกโปง 10.0 ลิตร ที่อุณหภูมิ 27 องศาเซลเซียส แลวนําลูกโปงนี้ ไปไว
ในที่ที่มีอุณหภูมิ 57 องศาเซลเซียส ลูกโปงจะมีขนาดเทาใด ถากําหนดใหความดันภายใน
ลูกโปงคงที่
จาก V1 V 2
=
T1 T2
แทนคาจะได 10.0 L = V 2
(27 + 273) K (57 + 273) K
V2 = (10.0 mL)(330 K)
(300 K)
= 11.0 L
ดังนั้น ลูกโปงจะมีขนาด 11.0 ลิตร
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 71
7.1.3 ความสัมพันธระหวางความดันและอุณหภูมิของแกส
ความดันและอุณหภูมิของแกสมีความสัมพันธกันอยางไร
พิจารณาขอความที่ระบุบนกระปองสเปรยตอไปนี้

1. อานวิธีใชใหละเอียดและปฏิบัติตามอยางเครงครัด
2. หากใชแลวมีความผิดปกติใด ๆ เกิดขึ้นตองหยุดใชและปรึกษาแพทย
3. หลีกเลี่ยงบริเวณรอบดวงตา
4. ภาชนะบรรจุอัดแกสซึ่งอาจระเบิดหากเกิดความรอน เก็บใหพนจากความรอน
พื้นผิวที่มีความรอน ประกายไฟ เปลวไฟ และจุดที่อาจติดไฟได หามเจาะหรือ
เผากระปองแมใชหมดแลว เก็บใหพนแสงแดด หามทิ้งไวในที่ที่มีอุณหภูมิเกิน
50 องศาเซลเซียส ทิ้งเฉพาะกระปองเปลาเพื่อรีไซเคิล ใชตามวิธีใชที่ระบุ
เก็บใหพนมือเด็ก
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 72
7.1.3 ความสัมพันธระหวางความดันและอุณหภูมิของแกส
• หากนํากระปองสเปรยซึ่งมีแกสบรรจุอยูวางไวใกลเปลวไฟจะทําใหอุณหภูมิของแกส
ภายในกระปองสูงขึ้น ซึ่งตามกฎของชารล แกสควรมีปริมาตรเพิ่มขึ้น แตเนื่องจากผนัง
กระปองสเปรยไมสามารถขยายตัวได ดังนั้น ความดันภายในกระปองจึงเพิ่มขึ้นจนอาจ
ทําใหเกิดการระเบิดได
• เนื่องจากจํานวนโมลของแกสภายในกระปองคงที่ ดังนั้นความดันและอุณหภูมิของแกส
จึงมีความสัมพันธกัน

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 73
7.1.3 ความสัมพันธระหวางความดันและอุณหภูมิของแกส
ตาราง ความดัน อุณหภูมิ และอัตราสวนความดันตออุณหภูมิ เมื่อปริมาตรและ
จํานวนโมลของแกสคงที่
ความดัน (P) อุณหภูมิ (T) P
T
mmHg oC K mmHg/oC mmHg/K
703 0 273 - 2.57
753 20 293 38 2.57
805 40 313 20 2.57
856 60 333 14 2.57
908 80 353 11 2.57
959 100 373 9.6 2.57
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 74
7.1.3 ความสัมพันธระหวางความดันและอุณหภูมิของแกส
จากตารางสรุปไดวา เมื่อปริมาตรและจํานวนโมลของแกสคงที่ อัตราสวนความดันตออุณหภูมิ
ในหนวยเคลวินเปนคาคงที่ ดังนั้น
“เมื่อปริมาตรและจํานวนโมลของแกสคงที่ ความดัน (P) จะแปรผันตรงกับอุณหภูมิ (T) ในหนวย
เคลวิน ความสัมพันธนี้เรียกวา กฎของเกย-ลูสแซก (Gay-Lussac’s law)”
เขียนแทนดวยสมการทางคณิตศาสตรไดดังนี้
P ∝ T
P = คาคงที่ × T
P = คาคงที่
T
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 75
7.1.3 ความสัมพันธระหวางความดันและอุณหภูมิของแกส
ความสัมพันธตามกฎของเกย-ลูสแซก อาจเขียนอยูในรูปที่สามารถใชคํานวณความดันหรือ
อุณหภูมิของแกสที่สองสภาวะไดดังนี้

P1 = P2
T1 T2

เมื่อ P1 และ P2 คือ ความดันของแกสที่มีอุณหภูมิ T1 และ T2 ตามลําดับ


ที่ปริมาตรและจํานวนโมลคงที่

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 76
7.1.3 ความสัมพันธระหวางความดันและอุณหภูมิของแกส
ตัวอยาง 5
กระปองสเปรยปรับอากาศซึ่งมีความดัน 103 กิโลปาสคาล ที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส
ถูกโยนใสในกองไฟจนมีอุณหภูมิ 928 องศาเซลเซียส ภายในกระปองจะมีความดันกี่กิโลปาสคาล
วิธีทํา
จาก P 1 P 2
=
T1 T2
แทนคาจะได 103 kPa = P2
(25 + 273) K (298 + 273) K
P2 = (103 kPa)(1201 K)
(298 K)
= 415 kPa
ดังนั้น ภายในกระปองจะมีความดัน 415 กิโลปาสคาล
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 77
7.1.3 ความสัมพันธระหวางความดันและอุณหภูมิของแกส
ตัวอยาง 6
แกสชนิดหนึ่งบรรจุอยูในภาชนะเหล็กหนาทรงกระบอกขนาด 2.0 ลิตร ที่ความดัน 760 มิลลิเมตร
ปรอท อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส เมื่อเพิ่มอุณหภูมิจนไดความดันเปน 1500 มิลลิเมตรปรอท อุณหภูมิ
สุดทายของแกสชนิดนี้เปนกี่องศาเซลเซียส
วิธีทํา
จาก P1 P2
= เปลี่ยนหนวยอุณหภูมิเปน oC
T1 T2
แทนคาจะได 760 mmHg = 1500 mmHg T(°C) = (588 – 273) oC
(25 + 273) K T2 = 315 oC
T2 = (1500 mmHg)(298 K) ดังนั้น อุณหภูมิสุดทายของแกสชนิดนี้
(760 mmHg)
= 588 K เทากับ 315 องศาเซลเซียส
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 78
ตรวจสอบความเขาใจ
หลอดไฟที่บรรจุแกสมีสกุลที่อุณหภูมิ 22 องศาเซลเซียส มีความดันภายในหลอด 0.74
บรรยากาศ เมื่อหลอดไฟใหแสงสวาง อุณหภูมิอาจสูงถึง 418 เคลวิน จงคํานวณความดันภายใน
หลอดไฟที่อุณหภูมิดังกลาว
จาก P 1 P 2
=
T1 T2
แทนคาจะได 0.74 atm = P 2
(22 + 273) K 418 K
P2 = (0.74 atm)(418 K)
(295 K)
= 10 atm
ดังนั้น เมื่อหลอดไฟมีอุณหภูมิ 418 เคลวิน จะมีความดันภายในหลอดเปน 1.0 บรรยากาศ
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 79
7.1.4 ความสัมพันธระหวางปริมาตร ความดัน และอุณหภูมิของแกส
เมื่อจํานวนโมล (n) ของแกสคงที่ความสัมพันธระหวางปริมาตร (V) ความดัน (P) และ
อุณหภูมิ (T) ในหนวยเคลวิน สามารถพิจารณาไดดังนี้

กฎของบอยล V ∝ 1 เมื่อ T และ n คงที่


P
กฎของชารล V ∝ T เมื่อ P และ n คงที่

กฎของเกย-ลูสแซก P ∝ T เมื่อ V และ n คงที่

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 80
7.1.4 ความสัมพันธระหวางปริมาตร ความดัน และอุณหภูมิของแกส
เมื่อรวมกฎของบอยล กฎของชารล และกฎของเกย-ลูสแซก จะไดความสัมพันธดังนี้
V ∝ PT
V = PT × คาคงที่
PV = คาคงที่
T
ความสัมพันธระหวางปริมาตร ความดัน และอุณหภูมินี้ เรียกวา กฎรวมแกส (combined
gas law) ซึ่งอาจเขียนอยูในรูปที่สามารถใชคํานวณปริมาตร ความดัน หรืออุณหภูมิของแกสที่สอง
สภาวะไดดังนี้
P 1V 1 = P 2V 2
T1 T2
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 81
7.1.4 ความสัมพันธระหวางปริมาตร ความดัน และอุณหภูมิของแกส
ตัวอยาง 7
ลูกโปงบรรจุแกสฮีเลียมปริมาตร 30 ลิตร ที่ความดัน 1.5 บรรยากาศ ณ อุณหภูมิ 40 องศา
เซลเซียส ปริมาตรของลูกโปงนี้จะเปนเทาใดที่ STP
วิธีทํา
จาก P 1V 1 P 2V 2
=
T1 T2
แทนคาจะได (1.5 atm)(30 L) = (1.0 atm)(V2)
(25 + 273) K 273 K
V2 = (1.5 atm)(30 L)(1201 K)
(298 K)(1.0 atm)
= 39 L
ดังนั้น ลูกโปงจะมีปริมาตร 39 ลิตร ที่ STP
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 82
7.1.4 ความสัมพันธระหวางปริมาตร ความดัน และอุณหภูมิของแกส
ตัวอยาง 8
แกสชนิดหนึ่งมีปริมาตร 1000 ลูกบาศกเซนติเมตร ที่ความดัน 1.00 บรรยากาศ อุณหภูมิ 0
องศาเซลเซียส ถาแกสชนิดนี้มีปริมาตรและความดันเปลี่ยนเปน 1150 ลูกบาศกเซนติเมตร และ 900
มิลลิเมตรปรอท ตามลําดับ จงหาอุณหภูมิที่เปลี่ยนแปลงไปในหนวยองศาเซลเซียส
วิธีทํา
จาก P1V1 P2V2
=
แทนคาจะได T1 T2
760 mmHg
1.00 atm × 1 atm (1000 cm3)
(900 mmHg)(1150 cm 3)
=
(0 + 273) K T2
(900 mmHg)(1150 cm3)(273 K)
T2 =
(760 mmHg)(1000 cm3)
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี = 372 K 83
7.1.4 ความสัมพันธระหวางปริมาตร ความดัน และอุณหภูมิของแกส
ตัวอยาง 8
แกสชนิดหนึ่งมีปริมาตร 1000 ลูกบาศกเซนติเมตร ที่ความดัน 1.00 บรรยากาศ อุณหภูมิ 0
องศาเซลเซียส ถาแกสชนิดนี้มีปริมาตรและความดันเปลี่ยนเปน 1150 ลูกบาศกเซนติเมตร และ 900
มิลลิเมตรปรอท ตามลําดับ จงหาอุณหภูมิที่เปลี่ยนแปลงไปในหนวยองศาเซลเซียส
วิธีทํา
เปลี่ยนหนวยอุณหภูมิเปน oC

T(°C) = (372 – 273) °C


= 99 °C
ดังนั้น อุณหภูมิของแกสเปลี่ยนแปลงไป 99 องศาเซลเซียส

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 84
ตรวจสอบความเขาใจ
เมื่อปลอยลูกโปงที่มีปริมาตร 6.0 ลิตร ความดัน 1.0 บรรยากาศ และอุณหภูมิ 27 องศา
เซลเซียส ขึ้นไปสูบรรยากาศชั้นบนซึ่งมีความดัน 0.50 บรรยากาศ และอุณหภูมิ-23 องศาเซลเซียส
ลูกโปงจะมีปริมาตรเทาใด

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 85
ตรวจสอบความเขาใจ
เมื่อปลอยลูกโปงที่มีปริมาตร 6.0 ลิตร ความดัน 1.0 บรรยากาศ และอุณหภูมิ 27 องศา
เซลเซียส ขึ้นไปสูบรรยากาศชั้นบนซึ่งมีความดัน 0.50 บรรยากาศ และอุณหภูมิ-23 องศาเซลเซียส
ลูกโปงจะมีปริมาตรเทาใด
P1V1 P2V2
จาก =
T1 T2
แทนคาจะได (1.0 atm)(6.0 L) = (0.50 atm)(V2)
(27 + 273) K (-23 + 273) K
V2 = (1.0 atm)(6.0 L)(250 K)
(300 K)(0.50 atm)
= 10 L
ดังนั้น ลูกโปงจะมีปริมาตร 10 ลิตร
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 86
7.1.5 ความสัมพันธระหวางปริมาตรและจํานวนโมลของแกส

หากจํานวนโมลของแกสไมคงที่
จะมีผลตอปริมาตรของแกสอยางไร

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 87
กิจกรรม 7.4 การทดลองศึกษาความสัมพันธระหวางปริมาตรและ
จํานวนโมลของแกส
จุดประสงคการทดลอง
ทดลองและอธิบายความสัมพันธระหวางปริมาตรและจํานวนโมลของแกส
วัสดุ อุปกรณ และสารเคมี
1. โซเดียมไฮโดรเจนคารบอเนต (NaHCO3) 5. กระดาษชั่งสาร 9. กระบอกตวง ขนาด 50 mL
2. สารละลายกรดไฮโดรคลอริก (HCl) 0.50 mol/L 6. กรวยกรอง 10. หลอดหยด
3. ลูกโปง ขนาด 10 นิ้ว 7. ชอนตักสาร 11. ปากกาเขียนปาย
4. ขวดรูปกรวยขนาด 125 mL 8. บีกเกอรขนาด 250 mL
8
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
8
กิจกรรม 7.4 การทดลองศึกษาความสัมพันธระหวางปริมาตรและ
จํานวนโมลของแกส
วิธีทดลอง
1. นําลูกโปงที่ตรวจสอบแลววาไมรั่วจํานวน 3 ลูก มาเขียนหมายเลขกํากับลูกโปงแตละลูก
(หมายเลข 1–3)
2. ชั่ง NaHCO3 บนกระดาษชั่งสารปริมาณตามที่กําหนดในตาราง
หมายเลขลูกโปง 1 2 3
มวล NaHCO3 (g) 0.10 0.50 1.00
เท NaHCO3 ใสลงในลูกโปงแตละหมายเลขผานกรวยกรองจนหมด
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 89
กิจกรรม 7.4 การทดลองศึกษาความสัมพันธระหวางปริมาตรและ
จํานวนโมลของแกส
วิธีทดลอง
3. ใส HCl 0.50 mol/L ปริมาตร 50.0 mL ลงในขวดรูปกรวยแตละขวด
4. ไลอากาศในลูกโปงที่เตรียมไวในขอ 2 จากนั้นครอบปากลูกโปงเขากับปากขวดรูปกรวย
ในขอ 3 แลวเขยาลูกโปงให NaHCO3 ทั้งหมดตกลงมาทําปฏิกิริยากับ HCl ในขวดรูปกรวย
เขยาขวดรูปกรวยเพื่อใหสารทําปฏิกิริยากันอยาง
สมบูรณ สังเกตการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น และ
เปรียบเทียบปริมาตรของลูกโปงทั้ง 3 ลูก
บันทึกผล
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 90
กิจกรรม 7.4 การทดลองศึกษาความสัมพันธระหวางปริมาตรและ
จํานวนโมลของแกส
ตัวอยางผลการทดลอง

เมื่อผสม NaHCO3 กับ HCl มีฟองแกสเกิดขึ้น


ทําใหลูกโปงมีปริมาตรเพิ่มขึ้นจากเดิม โดยลูกโปง
หมายเลข 3 มีปริมาตรสุดทายมากกวาหมายเลข
2 และ 1 ตามลําดับ

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 91
กิจกรรม 7.4 การทดลองศึกษาความสัมพันธระหวางปริมาตรและ
จํานวนโมลของแกส
ตัวอยางผลการทดลอง

https://youtu.be/zX_69BhFO-U
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 92
กิจกรรม 7.4 การทดลองศึกษาความสัมพันธระหวางปริมาตรและ
จํานวนโมลของแกส
คําถามทายการทดลอง
1. สมการเคมีของปฏิกิริยาระหวาง NaHCO3 และ HCl เปนอยางไร
2. จํานวนโมลของแกสที่เกิดขึ้นในลูกโปงแตละหมายเลขเทากันหรือไม ทราบไดอยางไร
3. ความสัมพันธระหวางปริมาตรและจํานวนโมลของแกสเปนอยางไร

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 93
กิจกรรม 7.4 การทดลองศึกษาความสัมพันธระหวางปริมาตรและ
จํานวนโมลของแกส
คําถามทายการทดลอง
1. สมการเคมีของปฏิกิริยาระหวาง NaHCO3 และ HCl เปนอยางไร
HCl(aq) + NaHCO3(s) NaCl(aq) + H2O(l) + CO2(g)
2. จํานวนโมลของแกสที่เกิดขึ้นในลูกโปงแตละหมายเลขเทากันหรือไม ทราบไดอยางไร
ไมเทากัน ทราบไดจากขนาดของลูกโปงหลังทําปฏิกิริยาที่มีขนาดไมเทากัน เนื่องจากมวล
ของ NaHCO3 ซึ่งเปนสารกําหนดปริมาณของปฏิกิริยานี้ ใชในปริมาณที่แตกตางกัน โดย
ลูกโปงหมายเลข 3 ใชมวลมากกวาหมายเลข 2 และ 1 ตามลําดับ ดังนั้นจํานวนโมลของ
CO2 ที่เกิดขึ้นในลูกโปงหมายเลข 3 จึงมากกวาหมายเลข 2 และ 1 ตามลําดับ
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 94
กิจกรรม 7.4 การทดลองศึกษาความสัมพันธระหวางปริมาตรและ
จํานวนโมลของแกส
คําถามทายการทดลอง
3. ความสัมพันธระหวางปริมาตรและจํานวนโมลของแกสเปนอยางไร
ปริมาตรของแกสเพิ่มขึ้นตามจํานวนโมลของแกส

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 95
กิจกรรม 7.4 การทดลองศึกษาความสัมพันธระหวางปริมาตรและ
จํานวนโมลของแกส
อภิปรายผลการทดลอง
เมื่อผสม NaHCO3 กับ HCl มีแกส CO2 เกิดขึ้น ดังสมการเคมี
HCl(aq) + NaHCO3(s) NaCl(aq) + H2O(l) + CO2(g)
เนื่องจากมวลของ NaHCO3 ซึ่งเปนสารกําหนดปริมาณของปฏิกิริยานี้ ใชในปริมาณที่แตกตาง
กัน โดยลูกโปงหมายเลข 3 ใชมวลมากกวาหมายเลข 2 และ 1 ตามลําดับ ดังนั้นจํานวนโมลของ CO2
ที่เกิดขึ้นในลูกโปงหมายเลข 3 จึงมากกวาหมายเลข 2 และ 1

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 96
กิจกรรม 7.4 การทดลองศึกษาความสัมพันธระหวางปริมาตรและ
จํานวนโมลของแกส
อภิปรายผลการทดลอง

จากผลการทดลอง ที่พบวา ลูกโปงหมายเลข 3 มีปริมาตรสุดทายมากกวาหมายเลข 2 และ 1


ตามลําดับ แสดงวา ปริมาตรแกส CO2 ที่เกิดขึ้นในลูกโปงหมายเลข 3 มากกวาหมายเลข 2 และ 1
ตามลําดับ ดังนั้นปริมาตรแกสเพิ่มขึ้นตามจํานวนโมลของแกส

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 97
กิจกรรม 7.4 การทดลองศึกษาความสัมพันธระหวางปริมาตรและ
จํานวนโมลของแกส
สรุปผลการทดลอง

ที่อุณหภูมิและความดันคงที่ ปริมาตรของแกสขึ้นอยูกับจํานวนโมลของแกส โดยแกสที่มี


จํานวนโมลมากกวาจะมีปริมาตรมากกวา

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 98
7.1.5 ความสัมพันธระหวางปริมาตรและจํานวนโมลของแกส
อเมเดโอ อาโวกาโดร (Amaedeo Avogadro) ศึกษาความสัมพันธระหวางจํานวนโมลกับ
ปริมาตรของแกส โดยความสัมพันธดังกลาวตอมาไดตั้งเปนกฎเรียกวา กฎของอาโวกาโดร
(Avogadro’s law) ซึ่งกลาววา
“เมื่อความดันและอุณหภูมิของแกสคงที่ปริมาตร (V) จะแปรผันตรงกับจํานวนโมล (n)”
เขียนแทนดวยสมการคณิตศาสตรไดดังนี้
V ∝ n
V = คาคงที่ × n
V = คาคงที่
n
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 99
7.1.5 ความสัมพันธระหวางปริมาตรและจํานวนโมลของแกส
ความสัมพันธตามกฎของอาโวกาโดร อาจเขียนอยูในรูปที่สามารถใชคํานวณหาปริมาตร
หรือจํานวนโมลของแกสที่สองสภาวะไดดังนี้

V1 = V2
n1 n2

เมื่อ V1 และ V2 คือ ปริมาตรของแกสที่มีจํานวนโมล n1 และ n2 ตามลําดับ


ที่ความดันและอุณหภูมิคงที่

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 100
7.1.5 ความสัมพันธระหวางปริมาตรและจํานวนโมลของแกส
ตัวอยาง 9
เมื่อบรรจุแกสฮีเลียม 2.0 โมล ในลูกโปงจะทําใหลูกโปงมีปริมาตร 50 ลิตร ถาบรรจุแกสฮีเลียม
ลงไปในลูกโปงเรื่อย ๆ จนมีปริมาตร 150 ลิตร โดยไมมีการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิและความดัน ลูกโปง
นี้จะมีแกสฮีเลียมบรรจุอยูกี่โมล
วิธีทํา V1 V2
จาก =
n1 n2
แทนคาจะได 50 L = 150 L
2.0 mol n2
n2 = (150 L)(2.0 mol)
50 L
= 6.0 mol
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ดังนั้น ลูกโปงนี้จะมีแกสฮีเลียมบรรจุอยู 6.0 โมล 101
7.1.5 ความสัมพันธระหวางปริมาตรและจํานวนโมลของแกส
ตัวอยาง 10
หวงยางปริมาตร 5.0 ลิตร มีแกสไนโตรเจน (N2) บรรจุอยู 0.35 โมล เมื่อเติมแกสไนโตรเจน
จนมีจํานวน 0.70 โมล ปริมาตรของแกสในหวงยางเปนเทาใด
วิธีทํา V1 V2
จาก =
n1 n2
แทนคาจะได 5.0 L = V 2
0.35 mol 0.70 mol
n2 = (5.0 L)(0.70 mol)
0.35 mol
= 10 L
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ดังนั้น หวงยางมีปริมาตร 10 ลิตร 102
ตรวจสอบความเขาใจ
เมื่อบรรจุแกสอารกอนจํานวน 2.0 โมลในกระบอกสูบที่มีกานกระบอกสูบเคลื่อนที่ไดจะมี
ปริมาตร 3.0 ลิตร ถาเติมแกสอารกอนเพิ่มไปอีก 1.0 โมล ปริมาตรของแกสในกระบอกสูบจะเปน
กี่ลิตร กําหนดใหอุณหภูมิและความดันของแกสไมเปลี่ยนแปลง

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 103
ตรวจสอบความเขาใจ
เมื่อบรรจุแกสอารกอนจํานวน 2.0 โมลในกระบอกสูบที่มีกานกระบอกสูบเคลื่อนที่ไดจะมี
ปริมาตร 3.0 ลิตร ถาเติมแกสอารกอนเพิ่มไปอีก 1.0 โมล ปริมาตรของแกสในกระบอกสูบจะเปน
กี่ลิตร กําหนดใหอุณหภูมิและความดันของแกสไมเปลี่ยนแปลง
V1 V2
จาก =
n1 n2
แทนคาจะได 3.0 L = V2
2.0 mol (2.0 + 1.0 mol
n2 = (3.0 L)(3.0 mol)
2.0 mol
= 4.5 L
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ดังนั้น ปริมาตรของแกสในกระบอกสูบเปน 4.5 ลิตร 104
แบบฝกหัด 7.1
1. แกสชนิดหนึ่งบรรจุอยูในกระบอกสูบขนาด 1.5 ลิตร จะตองเลื่อนกานกระบอกสูบใหมีปริมาตร
เปนเทาใด จึงจะทําใหแกสชนิดนี้มีความดันเพิ่มขึ้นเปน 1.5 เทา
2. ปมแกส NGV มีแกสบรรจุอยูในถังขนาด 1.00 × 104 ลิตร ที่ความดัน 300 บาร จะสามารถ
เติมแกสใหกับรถยนตที่มีถังแกสขนาด 70.0 ลิตร ใหมีความดันเปน 150 บาร ไดจํานวนกี่คัน
โดยความดันสุดทายของแกสในถังที่ปมแกสตองไมนอยกวาความดันในถังแกสของรถยนต

3. ขวดนํ้าพลาสติกบรรจุนํ้ารอนครึ่งหนึ่งแลวปดฝาใหสนิท เมื่อวางไวจนมีอุณหภูมิเทากับ
อุณหภูมิหองพบวา ขวดมีลักษณะบิดเบี้ยว นักเรียนคิดวาเปนเพราะเหตุใด

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 105
แบบฝกหัด 7.1
4. แกสชนิดหนึ่งมีปริมาตร 22.4 ลิตร ที่ STP แกสนี้จะมีปริมาตรเทาใดที่ 25 องศาเซลเซียส ถา
กําหนดใหความดันของแกสคงที่
5. ภาชนะปดปริมาตรคงที่ขนาด 20.00 ลิตร สามารถทนแรงดันไดสูงสุดเทากับ 1.52 × 104
มิลลิเมตรปรอท ถานําภาชนะนี้มาบรรจุแกสที่มีความดัน 10.00 บรรยากาศ อุณหภูมิ 25
องศาเซลเซียส ภาชนะนี้จะทนอุณหภูมิไดสูงสุดเทาใดในหนวยองศาเซลเซียส

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 106
แบบฝกหัด 7.1
6. พิจารณาขอมูลจากการทดลองวัดความดัน และอุณหภูมิของแกสชนิดหนึ่งที่บรรจุในกระบอกสูบ
ซึ่งคงปริมาตรไวที่ 22.4 ลิตร ไดผลการทดลองดังนี้

การทดลองที่ ความดัน (mmHg) อุณหภูมิ (oC)


1 760 25
2 806 43
3 707 4

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 107
แบบฝกหัด 7.1
6.1 การทดลองนี้สอดคลองกับกฎใด เพราะเหตุใด
6.2 ถาทําใหกานกระบอกสูบเคลื่อนที่จนแกสนี้มีความดัน 1.50 บรรยากาศ ที่อุณหภูมิ 60
องศาเซลเซียส แกสนี้จะมีปริมาตรเปนเทาใด
6.3 ถากดกานกระบอกสูบใหมีปริมาตรลดลงครึ่งหนึ่งของปริมาตรเริ่มตน ที่อุณหภูมิ 10
องศาเซลเซียส แกสนี้จะมีความดันเทาใด
7. เรือเหาะลําหนึ่งจะลอยขึ้นสูอากาศไดเมื่อมีแกสฮีเลียมบรรจุอยู 5500 ลิตร ถาแกสฮีเลียม 110
โมล มีปริมาตร 2620 ลิตร จะตองเติมฮีเลียมอีกกี่โมลเพื่อทําใหเรือเหาะนี้ลอยไดถาอุณหภูมิและ
ความดันขณะเติมคงที่
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 108
แบบฝกหัด 7.1
1. แกสชนิดหนึ่งบรรจุอยูในกระบอกสูบขนาด 1.5 ลิตร จะตองเลื่อนกานกระบอกสูบใหมีปริมาตร
เปนเทาใด จึงจะทําใหแกสชนิดนี้มีความดันเพิ่มขึ้นเปน 1.5 เทา
จาก P1V1 = P2V2
แทนคาจะได P1(1.5 L) = (1.5 P1) V2
V2 = (1.5 L) P1
1.5 P1
= 1.0 L
ดังนั้น จะตองเลื่อนกานกระบอกสูบใหมีปริมาตรเปน 1.0 ลิตร

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 109
แบบฝกหัด 7.1
2. ปมแกส NGV มีแกสบรรจุอยูในถังขนาด 1.00 × 104 ลิตร ที่ความดัน 300 บาร จะสามารถ
เติมแกสใหกับรถยนตที่มีถังแกสขนาด 70.0 ลิตร ใหมีความดันเปน 150 บาร ไดจํานวนกี่คัน
โดยความดันสุดทายของแกสในถังที่ปมแกสตองไมนอยกวาความดันในถังแกสของรถยนต
คํานวณปริมาตรแกสที่จะปลอยสูถังแกสรถยนตใหมีปริมาตรและความดันตามที่กําหนด ดังนี้
จาก P1V1 = P2V2
แทนคาจะได (300 bar)(1.0 × 10-4 L) = (150 bar) V2
(300 bar)(1.0 × 10-4 L)
V2 =
(150 bar)
= 2.00 × 10-4 L
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 110
แบบฝกหัด 7.1
2. ปมแกส NGV มีแกสบรรจุอยูในถังขนาด 1.00 × 104 ลิตร ที่ความดัน 300 บาร จะสามารถ
เติมแกสใหกับรถยนตที่มีถังแกสขนาด 70.0 ลิตร ใหมีความดันเปน 150 บาร ไดจํานวนกี่คัน
โดยความดันสุดทายของแกสในถังที่ปมแกสตองไมนอยกวาความดันในถังแกสของรถยนต
เนื่องจากถังแกสในปมแกสมีขนาด 1.00 × 104 ลิตร ดังนั้นจึงเติมแกสใหกับรถยนตได
2.0 × 10-4 L – 1.0 × 10-4 L = 1.0 × 10-4 L
จํานวนรถยนตที่จะเติมแกสได = 1.0 × 10-4 L× 1 คั น
(70.0 L)
= 142 คัน
ดังนั้น จะสามารถเติมแกสใหกับรถยนตไดจํานวน 142 คัน
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 111
แบบฝกหัด 7.1
3. ขวดนํ้าพลาสติกบรรจุนํ้ารอนครึ่งหนึ่งแลวปดฝาใหสนิท เมื่อวางไวจนมีอุณหภูมิเทากับ
อุณหภูมิหองพบวา ขวดมีลักษณะบิดเบี้ยว นักเรียนคิดวาเปนเพราะเหตุใด
เมื่ออุณหภูมิลดลง ความดันของแกสภายในขวดนํ้าพลาสติกจะนอยกวาความดันบรรยากาศ
สงผลใหขวดยุบตัวลงจนความดันของแกสภายในขวดเทากับความดันบรรยากาศภายนอก
การยุบตัวลงของขวดจึงทําใหขวดมีลักษณะบิดเบี้ยว

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 112
แบบฝกหัด 7.1
4. แกสชนิดหนึ่งมีปริมาตร 22.4 ลิตร ที่ STP แกสนี้จะมีปริมาตรเทาใดที่ 25 องศาเซลเซียส ถา
กําหนดใหความดันของแกสคงที่

จาก V1 V2
=
T1 T2
แทนคาจะได 22.4 L = V2
(0 + 273) K (25 + 273) K
V2 = (22.4 L)(298 K)
(273 K)
= 24.5 L
ดังนั้น แกสนี้จะมีปริมาตร 24.5 ลิตร
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 113
แบบฝกหัด 7.1
5. ภาชนะปดปริมาตรคงที่ขนาด 20.00 ลิตร สามารถทนแรงดันไดสูงสุดเทากับ 1.52 × 104
มิลลิเมตรปรอท ถานําภาชนะนี้มาบรรจุแกสที่มีความดัน 10.00 บรรยากาศ อุณหภูมิ 25
องศาเซลเซียส ภาชนะนี้จะทนอุณหภูมิไดสูงสุดเทาใดในหนวยองศาเซลเซียส
P1 P2
จาก = เปลี ย
่ นหน วยอุ ณ หภู ม เ
ิ ป น oC
T1 T2
แทนคาจะได T(°C) = (596 – 273) °C
(10.00 × 760) mmHg = 1.52 × 10-4 mmHg
= 323 °C
(25 + 273) K T2
(1.52 × 10 -4 mmHg)(298 K) ดังนั้น ภาชนะนี้จะทนอุณหภูมิไดถึง
T2 = 323 องศาเซลเซียส
(7600 mmHg)
= 596 K
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 114
แบบฝกหัด 7.1
6. พิจารณาขอมูลจากการทดลองวัดความดัน และอุณหภูมิของแกสชนิดหนึ่งที่บรรจุในกระบอกสูบ
ซึ่งคงปริมาตรไวที่ 22.4 ลิตร ไดผลการทดลองดังนี้

การทดลองที่ ความดัน (mmHg) อุณหภูมิ (oC)


1 760 25
2 806 43
3 707 4

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 115
แบบฝกหัด 7.1
6.1 การทดลองนี้สอดคลองกับกฎใด เพราะเหตุใด
คํานวณความสัมพันธระหวางความดันและอุณหภูมิในหนวยเคลวิน ดังตาราง
การทดลองที่ P
T
1 760 mmHg = 2.55 เนื่องจากการทดลองนี้ทําที่ปริมาตร
298 K และจํานวนโมลของแกสคงที่ ซึ่งจากผล
2 806 mmHg = 2.55 การทดลองพบวา อัตราสวนระหวาง
316 K ความดันและอุณหภูมิในหนวยเคลวินคงที่
3 707 mmHg = 2.55 ดังนั้นการทดลองนี้จึงสอดคลองกับ
277 K กฎของเกย-ลูสแซก
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 116
แบบฝกหัด 7.1
6.2 ถาทําใหกานกระบอกสูบเคลื่อนที่จนแกสนี้มีความดัน 1.50 บรรยากาศ ที่อุณหภูมิ 60 องศา
เซลเซียส แกสนี้จะมีปริมาตรเปนเทาใด
P1V1 P2V2
จาก =
T1 T2
จากตารางขอมูลที่กําหนดให สามารถใชขอมูลไดจากทุกการทดลอง ในที่นี้จะเลือกใชการทดลองที่ 1
แทนคาจะได
1
760 mmHg × 760 mmHg (22.4 L) atm
= (1.50 atm) V2
(25 + 273) K (60 + 273) K
V2 = 16.7 L
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ดังนั้น แกสนี้จะมีปริมาตร 16.7 ลิตร 117
แบบฝกหัด 7.1
6.3 ถากดกานกระบอกสูบใหมีปริมาตรลดลงครึ่งหนึ่งของปริมาตรเริ่มตน ที่อุณหภูมิ 10 องศา
เซลเซียส แกสนี้จะมีความดันเทาใด
จากตารางขอมูลที่กําหนดให สามารถใชขอมูลไดจากทุกการทดลอง ในที่นี้จะเลือกใชการทดลองที่ 1
ปริมาตรของกระบอกสูบเมื่อถูกบีบอัดมีปริมาตรเทากับ 22.4 = 11.2 L
2
จาก P1V1 P2V2
=
แทนคาจะได T1 T2
760 mmHg × 7601 mmHg atm (22.4 L)
= P 2 (11.2 L)
(25 + 273) K (10 + 273) K
P2 = 1.90 atm
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ดังนั้น แกสนี้จะมีความดัน 1.90 บรรยากาศ 118
แบบฝกหัด 7.1
7. เรือเหาะลําหนึ่งจะลอยขึ้นสูอากาศไดเมื่อมีแกสฮีเลียมบรรจุอยู 5500 ลิตร ถาแกสฮีเลียม 110
โมล มีปริมาตร 2620 ลิตร จะตองเติมฮีเลียมอีกกี่โมลเพื่อทําใหเรือเหาะนี้ลอยได ถาอุณหภูมิและ
ความดันขณะเติมคงที่
จาก V1 V2 จํานวนโมล He ที่ตองเติม
=
n1 n2
= 231 mol – 110 mol
แทนคาจะได 2620 L = 5500 L
110 mol n2 = 121 mol
n2 = (5500 L)(110 mol) ดังนั้น ตองเติมแกสฮีเลียมอีก
2620 L 121 โมล
= 231 mol
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 119

You might also like