You are on page 1of 11

กฎของชาร์ล

(Charlie's Law)
จุดประสงค์ในการเรียน

1. อธิบายกฎของชาร์ลได้

2. แสดงผลการคานวณหาปริมาตร หรืออุณหภูมิ โดยใช้กฎของชาร์ลได้


จาค อเล็กซองดร์ เซซา ชาร์ล ( Jacques Alexandre César Charles)

ได้ทําการศึกษาเรื่องความสัมพันธ์ของปริมาตรของแก๊ส เมื่ออุณหภูมิ
เปลี่ยนแปลงไป พบว่าถ้าอุณหภูมิของแก๊สเพิ่มขึ้น ปริมาตรของแก๊สจะเพิ่มขึ้น
และถ้าอุณหภูมิของแก๊สลดลง ปริมาตรของแก๊สจะลดลงด้วย
กฎของชาร์ล (Charlie's Law)

“เมื่อความดันและมวลคงที่ ปริมาตรของแก๊สจะแปรผันตรงกับอุณหภูมิเคลวิน”

สามารถเขียนแสดงความสัมพันธ์ได้ ดังนี้
จากสมการ เมื่อความดันและมวลของแก๊สคงที่ อัตราส่วนระหว่างปริมาตรกับ
อุณหภูมิของแก๊สจะมีค่าคงที่เสมอ ดังนั้น จะได้ว่า

หมายเหตุ : การใช้สูตรนี้ V1 และ V2 ควรใช้หน่วยปริมาตรที่เหมือนกัน และอุณหภูมิ


T1 และ T2 อุณหภูมิ ต้องเป็นเคลวิน (อุณหภูมิเคลวิน = อุณหภูมิเซลเซียส + 273)
ภาพที่ 1 แสดงความสัมพันธ์ระหว่างปริมาตรกับอุณหภูมิของแก๊ส เมื่อมวลของแก๊สและความดันคงที่
ที่มา : คลังภาพ อจท.
ภาพที่ 2 กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง V กับ T (℃) (ซ้าย) และ V กับ T (K) (ขวา)
ที่มา : คลังภาพ อจท.

เมื่อต่อปลายกราฟออกไปกราฟ
จะตัดแกน Y ที่ปริมาณ – 273 นักวิทยาศาสตร์จึงกาหนดให้อุณหภูมิ -273 องศาเซลเซียส
องศาเซลเซียส หมายความว่า
มีค่าเท่ากับ 0 เคลวิน และเรียกอุณหภูมิ 0 เคลวิน นี้ว่า
เมื่ออุณหภูมิลดลงถึง – 273
องศาเซลเซียส แก๊สจะมี อุณหภูมิศูนย์สมบูรณ์
ปริมาตรเป็น 0
ภาพที่ 3 กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง V กับ T (℃) ณ ความดันต่าง ๆ
ที่มา : คลังภาพ อจท.

กราฟที่อยู่บนเส้นเดียวกัน จะเป็นการทาการทดลองที่ความดันเดียวกัน แต่เมื่อมีการ


ทาการทดลองที่ต่างความดันออกไป จะพบว่าได้ผลหารของปริมาตรและอุณหภูมิใหม่ โดย
เมื่อความดันเพิ่มขึ้น ความชันของกราฟจะลดลง ซึ่งจะได้เส้นกราฟเส้นใหม่
ตัวอย่างที่1 แก๊สไนโตรเจน 3.5 ลิตร มีอุณหภูมิ -63 องศาเซลเซียส ทาให้ร้อนขึ้นจนมีอุณหภูมิ 225 องศาเซลเซียส
ปริมาตรจะขยายออกไปเป็นเท่าใด เมื่อความดันคงที่ที่ 700 มิลลิเมตรปรอท
ตัวอย่างที่2 แก๊สไนโตรเจนที่อุณหภูมิ 273 เคลวิน มีปริมาตร 450 ลูกบาศก์เซนติเมตร จะต้องมีอุณหภูมิ
เพิ่มขึ้นจากเดิมเท่าใด จึงจะมีปริมาตรเพิ่มขึ้นเป็น 467 ลูกบาศก์เซนติเมตร โดยความดันไม่เปลี่ยนแปลง
01

01 02

จบแล้ว
03

04

05

06

You might also like