You are on page 1of 88

สภาวิศวกร | Council of engineers

วิชา : Air Conditioning/Refrigeration

เนือหาวิชา : 388 : Psychrometrics

ข ้อที 1 :
ความเร็วลมโดยเฉลียผ่านคอยล์เย็น (Cooling Coil) ปกติเป็ นเท่าใด
1 : 1.5 เมตรต่อวินาที
2 : 2 เมตรต่อวินาที
3 : 2.5 เมตรต่อวินาที
4 : 3 เมตรต่อวินาที

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 2 :
้ คา่ อัตราสว่ นความร ้อนสม
ห ้องทํางานโดยทัวไป ในขณะใชงานมี ั ผัสห ้อง (RSHR) เท่าใด
1 : 0.50-0.65
2 : 0.66-0.80
3 : 0.81-0.95
4 : เกิน 0.95

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 3 :
จุดนํ าค ้างอุปกรณ์ (Apparatus Dew Point) ของคอยล์นําเย็น (Chilled water coil) โดยปกติเป็ นเท่าใด
1 : ี ส
7 องศาเซลเซย
2 : 10 องศาเซลเซยี ส
3 : 12 องศาเซลเซย ี ส
4 : 14 องศาเซลเซย ี ส

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 4 :
อุณหภูมล ิ มกลับ (Return Air Temperature) โดยปกติเป็ นเท่าใด
1 : 24 ี ส
องศาเซลเซย
2 : 26 องศาเซลเซยี ส
3 : 28 องศาเซลเซย ี ส
4 : 30 องศาเซลเซย ี ส

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 5 :
อุณหภูมล ิ มจ่าย (Supply Air Temperature) โดยปกติเป็ นเท่าใด
ี ส
1 : 10 องศาเซลเซย
2 : 12 องศาเซลเซยี ส
3 : 14 องศาเซลเซย ี ส
ี ส
4 : 16 องศาเซลเซย

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 6 :
สภาวะออกแบบห ้อง (Room Design Condition) โดยทัวไปเป็ นเท่าใด
1 : 25 ี ส,
องศาเซลเซย 60%RH
2 : 22 องศาเซลเซยี ส, 50%RH
3 : 26 องศาเซลเซย ี ส, 60%RH
4 : 25 องศาเซลเซย ี ส, 50%RH

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 7 :
Outdoor Design Condition โดยปกติเป็ นเท่าใด
1 : 35 CDB / 30 CWB
2 : 37 CDB / 27 CWB
3 : 37 CDB / 30 CWB
4 : 35 CDB / 28.5 CWB

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 8 :
ปริมาณการเติมอากาศบริสท ั สว่ นเท่าใดของปริมาณลมหมุนเวียน
ุ ธิ โดยทัวไปมีสด
1 : 5%
2 : 10%
3 : 20%
4 : 25%

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 9 :
ปริมาณลมหมุนเวียนต่อตันความเย็น โดยทัวไปเป็ นเท่าใด
1 : 100 ลิตรต่อวินาที
2 : 150 ลิตรต่อวินาที
3 : 200 ลิตรต่อวินาที
4 : 250 ลิตรต่อวินาที

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 10 :
สภาวะอากาศ (ก) มีอณุ หภูมจ ิ ด ี ส สภาวะอากาศ (ข) มีอณ
ุ นํ าค ้าง 15 องศาเซลเซย ุ หภูมจ
ิ ด
ุ นํ าค ้าง 12 องศา

เซลเซยส ข ้อใดต่อไปนีถูกต ้อง
1 : สภาวะ (ก) มีอณุ หภูมกิ ระเปาะแห ้ง (องศาเซลเซย ี ส) สูงกว่า (ข)
2 : ั ราสว่ นความชน
สภาวะ (ก) มีอต ื (กรัมไอนํ า/กิโลกรัมอากาศแห ้ง) สูงกว่า (ข)
3 : สภาวะ (ก) มีความชนส ื มั พันธ์ (เปอร์เซน
็ ต์) สูงกว่า (ข)
4 : ผิดทุกข ้อ

คําตอบทีถูกต ้อง : 2
ข ้อที 11 :
อัตราสว่ นของเศษสว่ นโมลของไอนํ าทีมีอยูใ่ นอากาศ ต่อ เศษสว่ นโมลของไอนํ าทีมีอยูใ่ นอากาศทีภาวะอิมตัว ณ
อุณหภูมแ ิ ละความดันเดียวกัน คือคําจํากัดความของข ้อใด
1 : ความชนส ื มั พัทธ์
2 : ่
อัตราสวนความชน ื
3 : อัตราสว่ นโมลความชน ื
4 : ความชนจํ ื าเพาะ

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 12 :
ั ผัส
ข ้อใดกล่าวถูกต ้องเกียวกับความร ้อนสม
1 : ้
สามารถวัดโดยใชเทอร์ โมมิเตอร์
2 : ้
ไม่สามารถวัดโดยใชเทอร์ โมมิเตอร์
3 : เกิดการเปลียนแปลงสถานะ
4 : เพิมขึนเมืออากาศเย็น

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 13 :

ความร ้อนทีใชในการเปลี
ยนสถานะจากของเหลวให ้กลายเป็ นไอคือ
1 : ความร ้อนแฝงของการหลอม (Latent heat of fusion)
2 : ความร ้อนแฝงของการกลายเป็ นไอ (Latent heat of vaporization)
3 : ความร ้อนจําเพาะของการกลายเป็ นไอ (Specific heat of vaporization)
4 : ความร ้อนแฝง (Latent heat) ของของเหลวนัน

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 14 :

อุณหภูม ิ ณ จุดทีความชนในอากาศเริ
มเกิดการควบแน่น เรียกว่า
1 : ื ม
ความชนส ั พันธ์ เป็ น 100%
2 : อุณหภูมก
ิ ระเปาะเปี ยก
3 : อุณหภูมจิ ดุ นํ าค ้าง
4 : อุณหภูมก ิ ระเปาะแห ้ง

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 15 :
ณ อุณหภูมท ิ กํ ั พันธ์ระหว่างความดันจริงของไอนํ าในอากาศกับความดันไออิมตัวเรียกว่า
ี าหนด ความสม
1 : ความดันไอบางสว่ น
2 : ความชนสื ม ั พัทธ์
3 : ผลการทําความเย็น (Refrigeration Effect)
4 : ค่าอัตราสว่ นความชนื

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 16 :
อุณหภูมก ิ ระเปาะเปี ยกจะมีคา่ สูงกว่าอุณหภูมก
ิ ระเปาะแห ้งเมือ
1 : ความชนสื ม ั พัทธ์ 100% และอุณหภูมส ิ งู กว่า 0 องศาเซลเซย ี ส
2 : ความชนส ื ม ั พัทธ์สงู กว่า 100% และอุณหภูมต ี ส
ิ ํากว่า 0 องศาเซลเซย
3 : ื ั
ความชนสมพัทธ์สงู กว่า 100 %
4 : ไม่มท
ี างทีจะเกิดขึนได ้

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 17 :
อุณหภูมก ิ ระเปาะเปี ยก, อุณหภูมก
ิ ระเปาะแห ้ง และจุดนํ าค ้างจะเท่ากันเมือ
1 : อากาศมีอณุ หภูมต ี ส
ิ ํากว่าศูนย์องศาเซลเซย
2 : อากาศอิมตัวด ้วยความชน ื
3 : อากาศไม่มค ื
ี วามชนเลย
4 : ิ ไม่มท
สงนี ี างเกิดขึนได ้

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 18 :
อุปกรณ์สลิงไซโครมิเตอร์ (Sling psychrometer) ใชส้ ําหรับวัดค่าใด
1 : ื ม
ความชนส ั พัทธ์
2 : ความชนสื ม ั บรูณ์
3 : อุณหภูม ิ
4 : ความดันไอของอากาศ

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 19 :
ข ้อความใดต่อไปนีผิด
1 : อุณหภูมก ิ ระเปาะแห ้งเพิมขึนในระหว่างขบวนการให ้ความร ้อน
2 : ความชนส ื ม ั พัทธ์ลดลงในระหว่างขบวนการให ้ความร ้อน
3 : ความชนจํ ื าเพาะของอากาศ (Specific humidity) จะไม่คงทีในระหว่างขบวนการทําความเย็น และค่า
ความชนสื มั พัทธ์จะเพิมขึน
4 : กระบวนการทําความเย็นแบบระเหย (Evaporative cooling process) จะเกิดขึนบนเสนอุ้ ณหภูมกิ ระเปาะ
เปี ยกคงทีในแผนภูมไิ ซโครเมตริก ( Psychrometric chart)

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 20 :
ื ม
ถ ้าในห ้องปรับอากาศมีความชนส ั พัทธ์สงู ข ้อใดถูกต ้องทีสุด
1 : นํ าในห ้องระเหยได ้ยาก
2 : อากาศมีอณ ุ หภูมต
ิ ํา
3 : อากาศมีเอนทัลปี สงู
4 : อากาศมีความเร็วตํา

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 21 :
ถ ้านํ าอากาศทีมีอณ ี ส อัตราการไหล 1000 ลิตร/วินาที ผสมกับอากาศทีมีอณ
ุ หภูม ิ 35 องศาเซลเซย ุ หภูม ิ 25 องศา
เซลเซย ี ส อัตราการไหล 3000 ลิตร/วินาที ข ้อใดคือผลลัพธ์ทได
ี ้
1 : อากาศอุณหภูม ิ 27.5 องศาเซลเซย ี ส อัตราไหล 4000 ลิตร/วินาที
2 : อากาศอุณหภูม ิ 30 องศาเซลเซยี ส อัตราไหล 4000 ลิตร/วินาที
ี ส อัตราไหล 4000 ลิตร/วินาที
3 : อากาศอุณหภูม ิ 32.5 องศาเซลเซย
4 : ไม่มข
ี ้อใดถูกต ้อง

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 22 :
ตําแหน่งทีแสดงด ้วยเครืองหมายคําถามในแผนภูมไิ ซโครเมตริกมาตรฐาน (Psychrometric Chart) นี เรียกว่าอะไร

1 : สภาวะอากาศเข ้าคอยล์ (Air Entering Condition)


2 : จุดผสมลม (Mixing Point)
3 : ข ้อ 1 และ 2
4 : ผิดทุกข ้อ

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 23 :
ตําแหน่งทีแสดงด ้วยเครืองหมายคําถามในแผนภูมไิ ซโครเมตริคมาตรฐาน (Psychrometric Chart) นี เรียกว่าอะไร

1 : สภาวะอากาศออกจากคอยล์ (Air Leaving Condition)


2 : สภาวะอากาศภายใน (Indoor Condition)
3 : จุดอิมตัว (Saturation Point)
4 : สภาวะอากาศเข ้าคอยล์ (Air Entering Condition)

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 24 :
ตําแหน่งทีแสดงด ้วยเครืองหมายคําถามในแผนภูมไิ ซโครเมตริกมาตรฐาน (Psychrometric Chart) นี เรียกว่าอะไร

1 : สภาวะอากาศจากคอยล์ (Air Leaving Condition)


2 : สภาวะอากาศภายใน (Indoor Condition)
3 : สภาวะอากาศเข ้าคอยล์ (Air Entering Condition)
4 : ผิดทุกข ้อ

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 25 :
ตําแหน่งทีแสดงด ้วยเครืองหมายคําถามในแผนภูมไิ ซโครเมตริคมาตรฐาน (Psychrometric Chart) นี เรียกว่าอะไร

1 : สภาวะอากาศภายนอก (Outdoor Condition)


2 : สภาวะอากาศภายใน (Indoor Condition)
3 : สภาวะอากาศเข ้าคอยล์ (Air Entering Condition)
4 : สภวะอากาศออกจากคอยล์ (Air Leaving Condition)

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 26 :
กระบวนการปรับสภาวะอากาศต่อไปนี เรียกว่าอะไร

1 : กระบวนการปรับสภาวะอากาศปกติทวไป ั
2 : กระบวนการทําความเย็นเกินและอุน่ อากาศ (Over Cooling and Reheat)
3 : กระบวนการทําความเย็นล่วงหน ้าและอุน่ อากาศ (Pre Cool and Reheat)
4 : กระบวนการทําความเย็นด ้วยการดูดความชน ื (Desiccant Cooling)

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 27 :
กระบวนการปรับสภาวะอากาศต่อไปนี เรียกว่าอะไร

1 : กระบวนการปรับสภาวะอากาศปกติทวไป ั
2 : กระบวนการทําความเย็นเกินและอุน่ อากาศ (Over Cooling and Reheat)
3 : กระบวนการทําความเย็นล่วงหน ้าและอุน่ อากาศ (Pre Cool and Reheat)
4 : กระบวนการทําความเย็นด ้วยการดูดความชน ื (Desiccant Cooling)

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 28 :
กระบวนการปรับสภาวะอากาศต่อไปนี เรียกว่าอะไร

1 : กระบวนการปรับสภาวะอากาศปกติทวไป ั
2 : กระบวนการทําความเย็นเกินและอุน่ อากาศ (Over Cooling and Reheat)
3 : กระบวนการทําความเย็นล่วงหน ้าและอุน่ อากาศ (Pre Cool and Reheat)
4 : กระบวนการทําความเย็นด ้วยการดูดความชน ื (Desiccant Cooling)

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 29 :
กระบวนการปรับสภาวะอากาศต่อไปนี เรียกว่าอะไร

1 : กระบวนการปรับสภาวะอากาศปกติทวไป ั
2 : กระบวนการทําความเย็นเกินและอุน่ อากาศ (Over Cooling and Reheat)
3 : กระบวนการทําความเย็นล่วงหน ้าและอ่นอากาศ (Pre Cool and Reheat)
4 : กระบวนการทําความเย็นด ้วยการดูดความชนื (Desiccant Cooling)

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 30 :
ื เหมาะสมสําหรับห ้องปรับอากาศคือเท่าใด
ระดับความชนที
1 : 30-40% RH
2 : 50-60% RH
3 : 60-70% RH
4 : 70-80% RH

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 31 :
การลากเสนอั ้ ตราสว่ นความร ้อนสม
ั ผัสห ้อง (RSHR) ในแผนภูมไิ ซโครเมตริค (Psychrometric Chart) ทําอย่างไร

1 : ลากเสนให ั (Slope) เท่ากับค่าอัตราสว่ นความร ้อนสม
้มีความชน ั ผัสห ้อง (RSHR) ทีแกนตังด ้านขวาของ
แผนภูมไิ ซโครเมตริค (Psychrometric Chart) ผ่านตําแหน่งสภาวะอากาศภายใน (Indoor Condition)
2 : ลากให ้มี Slope เท่ากับค่าอัตราสว่ นความร ้อนสมั ผัสห ้อง (RSHR) ทีแกนตังด ้านขวาของแผนภูมไิ ซโครเม
ตริค (Psychrometric Chart)ผ่านตําแหน่งสภาวะอากาศภายนอก (Outdoor Condition)
3 : ลากให ้มีความชน ั (Slope) ขนานกับเสนอ้ ้างอิง (Reference Line) ผ่านตําแหน่งจุดอ ้างอิงทีมีความชน

(Slope) เท่ากับอัตราสว่ นความร ้อนสมั ผัสห ้อง (RSHR) ทีแกนตังด ้านขวาของแผนภูมไิ ซโครเมตริค
(Psychrometric Chart) โดยเสนนี ้ ลากผ่านตําแหน่งสภาวะอากาศภายใน (Indoor Condition)
4 : ผิดทุกข ้อ

คําตอบทีถูกต ้อง : 3
ข ้อที 32 :
ในกระบวนการปรับอากาศด ้วยเครืองปรับอากาศปกติ อากาศสามารถเข ้าสูเ่ สนอากาศอิ
้ มตัว (Saturation Line) ได ้
100% หรือไม่
1 : เป็ นไปได ้
2 : เป็ นไปไม่ได ้
3 : ได ้ หากค่าอัตราสว่ นความร ้อนสม
ั ผัสรวบยอด (GSHR) ตํา เชน ่ ตํากว่า 0.7
4 : ได ้ หากค่าอัตราสว่ นความร ้อนสมั ผัสรวบยอด (GSHR) สูง เชน
่ สูงกว่า 1

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 33 :

ในกระบวนการปรับอากาศหากต ้องการให ้ อากาศเข ้าใกล ้เสนอากาศอิ
มตัว (Saturation Line) มีวธิ ก
ี ารอย่างไรบ ้าง
1 : เพิมจํานวนแถวคอยล์เย็น
2 : เพิมจํานวนครีบ(FPI-Fin per Inch)
3 : ลดความเร็วลมผ่านคอยล์เย็น
4 : ถูกทุกข ้อ

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 34 :
กระบวนการปรับอากาศแบบแบ่งลมผ่านคอยล์ (Face and Bypass) ชว่ ยให ้คอยล์เย็นสามารถลดความชนออกจาก

อากาศได ้ผลดีมากขึน เนืองจากอะไร
1 : สามารถควบคุมให ้อุณหภูมจ ิ ด ่ ตํากว่า 10 องศา
ุ นํ าค ้างอุปกรณ์ (Tadp) ให ้อยูใ่ นระดับทีต ้องการ เชน
เซลเซยส ี
2 : กระบวนการปรับอากาศแบบนี ไม่ใชว่ ธิ ก ี ารชว่ ยลดความชนเพราะมี
ื แฟคเตอร์เลียง (Bypass Factor) สูง
3 : ขบวนการปรับอากาศแบบแบ่งลมผ่านคอยล์ (Face and Bypass) เหมาะกับห ้องปรับอากาศทีมีอต ั ราสว่ น
ความร ้อนสม ั ผัสห ้อง (RSHR) สูง หรือมีคา่ Airchange/Hr สูงมากกว่าปริมาณการหมุนเวียนอากาศในขบวนการ
ปรับอากาศปกติ
4 : ข ้อ 1 และ 3

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 35 :
ั สว่ นความร ้อนสม
ห ้องปรับอากาศแบบใดมีสด ั ผัส (ความร ้อนสม
ั ผัส/ความร ้อนทังหมด) สูงทีสุด
1 : ห ้องศูนย์คอมพิวเตอร์
2 : ห ้องอาหาร
3 : ื ้า
ห ้องเปลียนเสอผ
4 : ห ้องออกกําลังกาย

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

เนือหาวิชา : 389 : Refrigeration

ข ้อที 36 :
ิ นต
ความดันของสารทําความเย็นขณะทีกําลังระบายความร ้อนทิงทีคอนเดนซงยู ิ (Condensing Unit) เมือเทียบกับ
ความดันของสารทําความเย็นใน Fan Coil Unit จะเป็ นอย่างไร
1 : ิ นต
ความดันในคอนเดนซงยู ิ (Condensing Unit) สูงกว่าความดันใน แฟนคอยล์ยน ู ต ิ (Fan Coil Unit)
2 : ิ นต
ความดันในคอนเดนซงยู ิ (Condensing Unit) ตํากว่าความดันใน แฟนคอยล์ยนู ต ิ (Fan Coil Unit)
3 : ิ นต
ความดันในคอนเดนซงยู ิ (Condensing Unit) เท่ากับความดันใน แฟนคอยล์ยน ู ต ิ (Fan Coil Unit)
4 : ผิดทุกข ้อ
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 37 :
อุปกรณ์ในระบบทําความเย็นแบบอัดไอ (vapor compression system) ข ้อใดทีมีการถ่ายโอนพลังงานกับสาร
ทําความเย็นมากทีสุด
1 : เครืองอัดไอ (compressor)
2 : อุปกรณ์ควบแน่น (condenser)
3 : อุปกรณ์ขยายตัว (expansion device)
4 : อุปกรณ์ระเหย (evaporator)

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 38 :
ึ ใชพลั
ระบบทําความเย็นแบบดูดซม ้ งงานในรูปใดเป็ นพลังงานหลักในการขับเคลือนระบบ
1 : พลังงานเคมี
2 : พลังงานความร ้อน
3 : พลังงานไฟฟ้ า
4 : พลังงานจลน์

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 39 :
การชาร์จนํ ายาทําความเย็นมากเกินไปจะสง่ ผลให ้
1 : ขนาดทําความเย็นเพิมขึนในขณะที ความดันด ้านสง่ เพิมขึนตาม
2 : ขนาดทําความเย็นเพิมขึนและความดันด ้านดูดเพิมขึนตาม
3 : ขนาดทําความเย็นลดลงในขณะทีความดันด ้านสง่ เพิมขึน
4 : เพิมกําลังมอเตอร์และเพิมขนาดทําความเย็น

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 40 :
ั ๆ (short cycling) เมือทํางานภายใต ้สภาวะ
เครืองทําความเย็นมีแนวโน ้มทีจะทํางานสน
1 : ภาระสูง
2 : สภาวะปกติ
3 : ภาระตํา
4 : ทังหมดทีกล่าวถึง

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 41 :
สารทําความเย็นควรจะมีคณ
ุ สมบัตอ
ิ ะไร
1 : ั ผัสสูง
ค่าความร ้อนสม
2 : ค่าความร ้อนแฝงสูง
3 : ค่าความร ้อนสมั ผัสตํา
4 : ค่าความร ้อนแฝงตํา

คําตอบทีถูกต ้อง : 2
ข ้อที 42 :
วิธกี ารลดขนาดการทําความเย็นลงโดยไม่ทําการลดความเร็วรอบการทํางานของคอมเพรสเซอร์ เรียกว่า
1 : Hot gas bypassing
2 : Low pressure bypassing
3 : High pressure bypassing
4 : Short cycling

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 43 :
ภาระ (Load) ทีลดลงบนตัวอีแวปปอเรเตอร์ (Evaporator) ทําให ้เกิด
1 : ความต ้องการสารทําความเย็นทีเพิมขึน
2 : ความดันตกคร่อมตัวอีแวปปอเรเตอร์ลดลง
3 : เพิมขนาดการทําความเย็นของตัวอีแวปปอเรเตอร์
4 : ั เข ้ามามากขึน
ความร ้อนถูกดูดซบ

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 44 :
ค่า R.E. (Refrigerating Effect) สามารถหาได ้จากกระบวนการใด
1 : Compression
2 : Condensation
3 : Expansion
4 : Evaporation

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 45 :
ระบบทําความเย็นขนาด 1 ตันความเย็น มีอต ั ราสว่ นระหว่างความร ้อนทีถ่ายเทออกทีคอนเดนเซอร์ตอ
่ ความร ้อนที
ดูดเข ้าทีอีวาโปเรเตอร์ เท่ากับ 1.25 จะมีคา่ COP เท่ากับข ้อใด
1 : 1.25
2 : 2.5
3 : 4
4 : 5

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 46 :
ึ (Absorption) แบบ Single Stage โดยทัวไป มีคา่ COP เท่าใด
เครืองทําความเย็นทีเป็ นระบบดูดซม
1 : 0.6
2 : 0.8
3 : 1
4 : 1.2

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 47 :
ึ (Absorption) แบบ Double Stage โดยทัวไป มีคา่ COP เท่าใด
เครืองทําความเย็นทีเป็ นระบบดูดซม
1 : 0.6
2 : 0.8
3 : 1
4 : 1.2

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 48 :
Sensible Cooling คือกระบวนการปรับอากาศทีมีผลลัพธ์อย่างไร
1 : ลดอุณหภูม ิ
2 : ลดความชนื
3 : ลดอุณหภูมแ ื
ิ ละความชน
4 : ลดอุณหภูมโิ ดยการระเหยนํ า

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 49 :
Latent Cooling คือขบวนการปรับอากาศทีมีผลลัพธ์อย่างไร
1 : ลดอุณหภูม ิ
2 : ลดความชนื
3 : ลดอุณหภูมแ ื
ิ ละความชน
4 : ลดอุณหภูมโิ ดยการระเหยนํ า

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 50 :
หากท่อนํ ายาทีเป็ น Liquid Line เกิดการอุดตัน บริเวณทีเกิดการอุดตันจะมีอาการอย่างไร
1 : ร ้อน
2 : เย็น
3 : ความดัน Evaporator เพิมขึน
4 : อุณหภูม ิ Condenser เพิมขึน

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 51 :
เหตุใดนํ ายาทางด ้านดูดของคอมเพรสเซอร์ต ้องมีสภาวะอย่างไร
1 : นํ ายาทางด ้านดูดของคอมเพรสเซอร์ต ้องเป็ นซบั คูล (Sub Cool) เพือทําความเย็นให ้คอมเพรสเซอร์
2 : นํ ายาทางด ้านดูดของคอมเพรสเซอร์ต ้องเป็ นซุปเปอร์ฮท ี (Super Heat) เพือป้ องกันนํ ายาเหลวเข ้า
คอมเพรสเซอร์
3 : นํ ายาทางด ้านดูดของคอมเพรสเซอร์ต ้องเป็ นซุปเปอร์ฮท ี (Super Heat) เพือทําความเย็นให ้คอมเพรสเซอร์
4 : นํ ายาทางด ้านดูดของคอมเพรสเซอร์ต ้องเป็ นซบ ั คูล (Sub Cool) เพือป้ องกันนํ ายาเหลวเข ้าคอมเพรสเซอร์

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 52 :
ั คูล (Sub Cool) มีประโยชน์อย่างไร
การทีนํ ายาใน Liquid Line มีสภาพเป็ นซบ
1 : แสดงว่าการระบายความร ้อนมีประสท ิ ธิภาพ
2 : ทําให ้กระบวนการทําความเย็นมีประสท ิ ธิภาพ
3 : ทําให ้วาล์วระเหยสารทําความเย็น (Expansion Valve) ทํางานได ้ดี
4 : ถูกทุกข ้อ

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

เนือหาวิชา : 390 : Cooling Load

ข ้อที 53 :
ั สว่ นความร ้อนสม
ห ้องปรับอากาศแบบใดมีสด ั ผัส (ความร ้อนสม
ั ผัส/ความร ้อนทังหมด = Sensible
Heat Ratio) ตําทีสุด
1 : ธนาคาร
2 : ์ อมพิวเตอร์
ร ้านให ้เล่นเกมสค
3 : ื
ร ้านเสอผ ้า
4 : ร ้านอาหาร

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 54 :
ห ้องเครืองสูบนํ าประปาแห่งหนึงจําเป็ นต ้องติดตังเครืองปรับอากาศเนืองจากไม่สามารถระบายความร ้อนออกจาก
ห ้องด ้วยวิธอ
ี นๆได
ื ิ ธิภาพ 80% มอเตอร์มป
้ โดยเครืองสูบนํ ามีประสท ิ ธิภาพ 90% กินกําลังไฟฟ้ าขณะทํางาน
ี ระสท
20 กิโลวัตต์ อยากทราบว่าภาระการทําความเย็นเนืองจากเครืองสูบนํ านีมีคา่ กีกิโลวัตต์
1 : 2 กิโลวัตต์
2 : 4 กิโลวัตต์
3 : 5.6 กิโลวัตต์
4 : 20 กิโลวัตต์

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 55 :
ในปั จจุบน
ั วิธก ึ สมการพื
ี ารหาภาระความเย็นผ่านโครงสร ้างของห ้องซงใช ้ ิ สท
นฐานทางฟิ สก ์ มี
ี ความแม่นยํามากทีสุด
ทีแนะนํ าโดย ASHRAE คือข ้อใด
1 : วิธผ
ี ลต่างของอุณหภูมแ ิ ละตัวคูณลด (CLTD/CLF)
2 : วิธฟ ั ถ่ายทอด (Transfer function)
ี ั งก์ชน
3 : วิธส ี มดุลย์ความร ้อน (Heat Balance)
4 : วิธอ ี นุกรมเวลาของการแผ่รังส ี (Radiant Time Series)

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 56 :
ต ้องการขจัดความร ้อนออกจากห ้อง 36,000 บีทย
ี ต
ู อ ั
่ ชวโมง ขนาดมอเตอร์ของคอมเพรสเซอร์ทต ้ างน ้อย
ี ้องใชอย่
จะต ้องมีขนาดเท่าใด
1 : 13.2 kw
2 : 10.6 kw
3 : 7 kw
4 : 3.5 kw

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 57 :
ห ้องปรับอากาศมีอต ั ราการสูญเสยี ความร ้อนสม
ั ผัสสูงสุด 117 กิโลวัตต์ ต ้องการรักษาอุณหภูมภิ ายในห ้องไว ้ที
25.5 องศาเซลเซย ี ส ถ ้าอุณหภูมขิ องอากาศทีเข ้าเท่ากับ 37.7 องศาเซลเซย ี ส ให ้คํานวณหาปริมาณอากาศทีนํ า
เข ้า
1 : 8.14 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที
2 : 14,580 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที
3 : 16,835 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที
4 : 17,450 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 58 :
ห ้องปรับอากาศห ้องหนึงมีหลังคาทําด ้วยคอนกรีตหนา 100 มิลลิเมตร พืนทีหลังคา 200 ตารางเมตร ถ ้ากําหนดให ้
อุณหภูมภ ิ ายนอกเท่ากับ 40 องศาเซลเซย ี ส อุณหภูมข
ิ องห ้องปรับอากาศกับ 24 องศาเซลเซย ี ส ค่าสม
ั ประสท
ิ ธิ
การถ่ายเทความร ้อนทังหมดของผนังคอนกรีตหนา 100 มิลลิเมตร เท่ากับ 3.4 วัตต์ตอ ่ ตารางเมตร-องศาเซลเซย ี ส
จงหาปริมาณความร ้อนทีถ่ายเทผ่านหลังคา
1 : 11, 880 วัตต์
2 : 12,980 วัตต์
3 : 8,980 วัตต์
4 : 10,880 วัตต์

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 59 :
โรงภาพยนตร์แห่งหนึงมี 600 ทีนัง มีอณ ุ หภูมภ ิ ายในทีออกแบบไว ้เท่ากับ 25.5 องศาเซลเซย ี ส อุณหภูมภิ ายนอก
เท่ากับ 35 องศาเซลเซย ี ส อัตราสว่ นความชนภายในห
ื ้องเท่ากับ 10 กรัม/กิโลกรัม และภายนอกเท่ากับ 22 กรัม/
กิโลกรัม ให ้คํานวณหาปริมาณอากาศบริสท ุ ธิทีต ้องการและปริมาณความร ้อนทีเกิดขึนจากอากาศบริสท ุ ธิจํานวนนี
กําหนดให ้ปริมาณอากาศบริสท ุ ธิต่อคนเท่ากับ 3.5 ลิตร/วินาที/คน
1 : 2100 ลิตร/วินาที , 24.5 กิโลวัตต์
2 : 2100 ลิตร/วินาที , 77.5 กิโลวัตต์
3 : 2100 ลิตร/วินาที , 102.0 กิโลวัตต์
4 : 2100 ลิตร/วินาที , 53.0 กิโลวัตต์

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 60 :
เครืองทําความเย็นขนาด 1 ตันความเย็น สามารถขจัดความร ้อนออกได ้เท่าไร
1 : 500 บีทย
ี ต ู อ ่ นาที
2 : 288 บีทยี ต ู อ ่ นาที
3 : 200 บีทย ี ต ู อ ่ นาที
4 : 100 บีทย ี ต ู อ ่ นาที

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 61 :
บ ้านหลังหนึงมี เตารีดขนาด 1000 วัตต์ และหม ้อหุงข ้าวไฟฟ้ าขนาด 800 วัตต์ ค่าความร ้อนทีเกิดจากเครืองใช ้
ไฟฟ้ าเหล่านีคือ
1 : 5140 BTUH
2 : 5120 BTUH
3 : 6120 BTUH
4 : 7120 BTUH
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 62 :
ห ้องปรับอากาศแห่งหนึงรักษาอุณหภูมห ิ ้องไว ้ที 21 องศาเซลเซย ี สหากอุณหภูมข ่ ้องอยูท
ิ องอากาศทีนํ าเข ้าสูห ่ ี 49
องศาเซลเซย ี ส และห ้องมีการสูญเสย
ี ความร ้อนสม ั ผัสสูงสุด 73.2 กิโลวัตต์ จงคํานวณหาปริมาอากาศทีนํ าเข ้ามา
1 : 1940 ลิตรต่อวินาที
2 : 2170 ลิตรต่อวินาที
3 : 1720 ลิตรต่อวินาที
4 : 2400 ลิตรต่อวินาที

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 63 :
ห ้องปรับอากาศแห่งหนึงมีภาระการทําความเย็นเป็ น ความร ้อนสม ั ผัส (Sensible Heat) 3,000 วัตต์ ความร ้อนแฝง
ั สว่ นความร ้อนสม
1,000 วัตต์ อยากทราบว่าห ้องนีมีสด ั ผัส (Sensible Heat Ratio) เท่าใด
1 : 0.3
2 : 0.75
3 : 1
4 : 3

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 64 :
ห ้องหม ้อแปลงไฟฟ้ า ขนาด 2000 kVA จํานวน 2ลูก มีอต ี ในรูปความร ้อน 30 W/kVA จะมีความร ้อน
ั ราการสูญเสย
ออกมาเท่าไร และจะต ้องระบายความร ้อนด ้วยปริมาณลมเท่าไร ถ ้ายอมให ้ลมทีมาระบายความร ้อนมีอณ
ุ หภูมส
ิ งู ขึน
5 องศาเซลเซย ี ส
1 : 60 kW, 20 m3/s
2 : 60 kW, 4 m3/s
3 : 120 kW, 20 m3/s
4 : 120 kW, 40 m3/s

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 65 :
ลิฟต์โดยสาร สามารถบรรทุกนํ าหนักได ้ 1600 กิโลกรัม ด ้วยความเร็ว 240 เมตร/นาที ใชกํ้ าลังมอเตอร์ 40 กิโล
วัตต์ โดยมอเตอร์มป ิ ธิภาพ 90% ห ้องเครืองลิฟต์ต ้องระบายความร ้อนเท่าไร
ี ระสท
1 : 40 กิโลวัตต์
2 : 20 กิโลวัตต์
3 : 4 กิโลวัตต์
4 : 2 กิโลวัตต์

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

เนือหาวิชา : 391 : Airduct Design and Ventilation System Design

ข ้อที 66 :
โรงงานแห่งหนึง มีพนที
ื 10,000 ตารางเมตร สูง 8 เมตร กฎกระทรวงฉบับที 33 ออกตามความใน พ.ร.บ.ควบคุม

อาคาร กําหนดให ้วิศวกรต ้องออกแบบให ้มีการระบายอากาศอย่างน ้อย 4 เท่าของปริมาตรห ้องต่อชวโมง อยาก
ทราบว่าต ้องออกแบบให ้พัดลมสามารถระบายอากาศด ้วยอัตราเท่าใด
1 : 80,000 ลูกบากศเ์ มตรต่อชวโมง

2 : 160,000 ลูกบากศเ์ มตรต่อชวโมง

3 : 320,000 ลูกบากศเ์ มตรต่อชวโมง

4 : 480,000 ลูกบากศเ์ มตรต่อชวโมง ั

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 67 :
ั ไม่ควรสูงเกินเท่าใดเพือไม่กอ
ความเร็วลมในท่อลมปรับอากาศของทีพักอาศย ี งดังรบกวน
่ ให ้เกิดเสย
1 : 0.75 เมตร/วินาที
2 : 7.50 เมตร/วินาที
3 : 75 เมตร/วินาที
4 : 750 เมตร/วินาที

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 68 :
หน ้ากากจ่ายลมเย็นทีมีอต
ั ราการจ่ายลม 200 ลิตร/วินาที ควรมีขนาดเท่าใด
1 : 50x50 มิลลิเมตร
2 : 100x100 มิลลิเมตร
3 : 200x200 มิลลิเมตร
4 : 300x300 มิลลิเมตร

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 69 :
วิธกี ารออกแบบท่อลมในข ้อใดมีการปรับสมดุลความดันในระบบ ในขันตอนการเลือกขนาดท่อลม
1 : Equal friction method
2 : Balance capacity method
3 : Static regain method
4 : ถูกทุกข ้อ

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 70 :
การออกแบบท่อลมวิธใี ดทีได ้ขนาดท่อลมเท่ากัน ในทุกสว่ นของท่อลมทีมีปริมาตรการไหลเท่ากัน
1 : Equal friction method
2 : Balance capacity method
3 : Static regain method
4 : ถูกทุกข ้อ

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 71 :

ในการเปลียนจากท่อกลมทีออกแบบเป็ นท่อสเหลี
ยมทีเทียบเท่า มีเงือนไขตามข ้อกําหนดในข ้อใด
1 : มีความสูญเสยี ความดันเท่ากันทีปริมาตรการไหลทีไหลในท่อเท่ากัน
2 : มีความสูญเสย ี ความดันเท่ากันทีความเร็วของอากาศทีไหลในท่อเท่ากัน
3 : มีพนที
ื หน ้าตัดของท่อลมเท่ากัน

4 : ท่อสเหลี ้ านศูนย์กลางไฮดรอลิกสเ์ ท่ากับขนาดเสนผ่
ยมทีได ้มีเสนผ่ ้ านศูนย์กลางท่อกลม

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 72 :
ห ้องมีขนาดความกว ้าง 2 เมตร ยาว 5. เมตร และสูง 3 เมตร ถ ้าความสูงนัยสําคัญ (Significant height) ของห ้อง
้ ดลมในการหมุนเวียน
เท่ากับ 2.4 เมตร ผู ้ออกแบบกําหนดค่า air change ของห ้องไว ้เท่ากับ 15 ถามว่าต ้องใชพั
อากาศขนาดเท่าใด
1 : 360 ั
ลูกบาศก์เมตรต่อชวโมง
2 : 450 ั
ลูกบาศก์เมตรต่อชวโมง
3 : 390 ลูกบาศก์เมตรต่อชวโมงั
4 : 420 ลูกบาศก์เมตรต่อชวโมง ั

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 73 :
ท่อลมนํ าอากาศบริสท
ุ ธิเข ้ามาบริเวณภายในอาคารจะต่อเข ้ากับท่อลมชนิดไหน
1 : ท่อลมระบายอากาศของระบบท่อลม
2 : ท่อลมสง่ ของระบบท่อลม
3 : ท่อลมกลับของระบบท่อลม
4 : ่ ริเวณปรับอากาศโดยตรง
ท่อลมนํ าเข ้าสูบ

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 74 :
ระยะทางทีลมจะเคลือนทีไปได ้ (Throw) จากหน ้ากากจ่ายลมขึนอยูก
่ บ
ั อะไร
1 : ปริมาณลม, พืนทีจ่ายลมของหน ้ากาก, องศาจ่ายลมของหน ้ากาก
2 : ความเร็วลม, สว่ นกลับของพืนทีจ่ายลมของหน ้ากาก, องศาจ่ายลมของหน ้ากาก
3 : ปริมาณลม, สว่ นกลับของรากทีสองของพืนทีจ่ายลมของหน ้ากาก,องศาจ่ายลมของหน ้ากาก
4 : ความเร็วลม,พืนทีจ่ายลมของหน ้ากาก,องศาจ่ายลมของหน ้ากาก

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 75 :
การสูญเสย ี กําลังงานในท่อลมจะแปรผันโดยตรงไปกับ
1 : ความเร็วในท่อลม
2 : ปริมาณลมในท่อ
3 : ้ าศูนย์กลางของท่อลม
เสนผ่
4 : ความเร็วในท่อลมยกกําลังสาม

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 76 :
ท่อลมความเร็วตําคือท่อลมอะไร
1 : ท่อลมทีมีความเร็วลมภายในท่อตํากว่า 1500 ์ ํากว่า
ฟุตต่อนาที และมีความดันสแตติกสต 2 นิวนํ า
2 : ท่อลมทีมีความเร็วลมภายในท่อตํากว่า 1000 ฟุตต่อนาที และมีความดันสแตติกสต์ ํากว่า 1 นิวนํ า
3 : ท่อลมทีมีความเร็วลมภายในท่อตํากว่า 2000 ฟุตต่อนาที และมีความดันสแตติกสต ์ ํากว่า 2 นิวนํ า
4 : ท่อลมทีมีความเร็วลมภายในท่อตํากว่า 2000 ฟุตต่อนาที และมีความดันสแตติกสต ์ ํากว่า 1.5 นิวนํ า

คําตอบทีถูกต ้อง : 3
ข ้อที 77 :
ท่อลมสําหรับสง่ ลมทีอัตราเดียวกัน และออกแบบทีความเสย
ี ดทานเท่ากัน อยากทราบว่าท่อลมทีมีหน ้าตัดอย่างไร
จะประหยัดวัสดุทําท่อลมมากทีสุด
1 : ี
สเหลียมจตุรัส
2 : ี
สเหลียมผืนผ ้า
3 : วงรี
4 : วงกลม

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 78 :
หน ้ากากรับลมกลับ (Return Air Grille) ทีมีขนาด 24x24 นิว สามารถรับลมกลับได ้กีลูกบาศก์ฟต
ุ ต่อนาที
1 : 800 ลูกบาศก์ฟต
ุ ต่อนาที
2 : 1,600 ลูกบาศก์ฟต
ุ ต่อนาที
3 : 3,200 ลูกบาศก์ฟตุ ต่อนาที
4 : 4,800 ลูกบาศก์ฟต ุ ต่อนาที

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 79 :
ในการออกแบบท่อสง่ ลมของระบบปรับอากาศ ท่อลมทีมีความยาว 100 ฟุต ควรมี Pressure Drop ประมาณเท่าไร
1 : 0.0075 นิวนํ า
2 : 0.075 นิวนํ า
3 : 0.75 นิวนํ า
4 : 7.5 นิวนํ า

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 80 :
ี งดังของลมมากเกินไป ความเร็วลมในท่อลมประธานของระบบปรับอากาศควรมีคา่ ไม่เกินเท่าใด
เพือไม่ให ้มีเสย
1 : 50 ฟุตต่อนาที
2 : 150 ฟุตต่อนาที
3 : 1500 ฟุตต่อนาที
4 : 3000 ฟุตต่อนาที

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 81 :
หน ้ากากสําหรับลมกลับทีมีปริมาณลม 2,000 ลูกบากศฟ
์ ต
ุ ต่อนาที ควรมีขนาดเท่าใด
1 : 12x6 นิว
2 : 24x12 นิว
3 : 36x24 นิว
4 : 48x36 นิว

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 82 :
่ น ้าทีของฉนวนหุ ้มท่อลม
ข ้อใดไม่ใชห
1 : ป้ องกันการกลันตัวเป็ นหยดนํ า
2 : ป้ องกันการสูญเสยี ความเย็น
3 : ป้ องกันการแผ่รังสคี วามเย็น
4 : ป้ องกันการรัวของลม

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 83 :
ความเร็วลมทีหัวจ่ายลมโดยปกติเป็ นเท่าใด
1 : 200 fpm (1 m/s)
2 : 350 fpm (2 m/s)
3 : 600 fpm (3 m/s)
4 : 800 fpm (4 m/s)

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 84 :
ความเร็วลมทีหน ้ากากลมกลับโดยปกติเป็ นเท่าใด
1 : 200 fpm (1 m/s)
2 : 400 fpm (2 m/s)
3 : 600 fpm (3 m/s)
4 : 800 fpm (4 m/s)

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 85 :
ท่อลมทีมีความกว ้าง 1.20 เมตร สําหรับท่อลม Low Pressure ใชส้ งั กะสเี บอร์อะไร
1 : เบอร์ 26
2 : เบอร์ 24
3 : เบอร์ 22
4 : เบอร์ 20

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 86 :
ความเร็วลมผ่านตัวคนในห ้องปรับอากาศ โดยทัวไปควรอยูใ่ นชว่ งความเร็วลมเท่าไร
1 : < 10 fpm
2 : < 50 fpm
3 : < 100 fpm
4 : < 200 fpm

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 87 :
ในกรณีของคลังสน ิ ค ้า การระบายอากาศทีดีเพียงอย่างเดียวสามารถทําให ้อุณหภูมภ
ิ ายในอาคารตํากว่าภายนอก
อาคารได ้หรือไม่
1 : ได ้ เพราะผลของการระบายอากาศทําให ้อากาศเย็นลง
2 : การระบายอากาศทําให ้เกิดกระแสลมมาก
3 : การระบายอากาศทําให ้ค่า MRT ลดลง
4 : ไม่ได ้ เพราะผลของการระบายอากาศไม่ทําให ้อากาศเย็นลง

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 88 :
ปริมาณการระบายอากาศด ้วย Stack Effect ขึนกับอะไรบ ้าง
1 : ความสูงระหว่างชอ ่ งลมเข ้าด ้านล่าง และชอ
่ งระบายอากาศออกด ้านบน(Stack Height)
2 : อุณหภูมแ ิ ตกต่างระหว่างลม เข ้า ออก
3 : ขนาดพืนทีปากลม เข ้า ออก
4 : ถูกทุกข ้อ

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 89 :
เหตุใดจุดอับในการระบายอากาศ จึงเป็ นปั ญหาในการระบายอากาศ
1 : เพราะไม่มกี ระแสลม
2 : เป็ นทีสะสมของมลภาวะ
3 : เป็ นทีสะสมความชนื
4 : ทุกข ้อ

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 90 :
ความเร็วลมทีครอบดูดควันโดยปกติเป็ นเท่าใด
1 : 0.25 m/s
2 : 0.5 m/s
3 : 0.75 m/s
4 : 1 m/s

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 91 :
ท่อลมสําหรับปริมาณลม 1000 L/s ควรจะมีขนาดเท่าใด
1 : 850 x 350 mm
2 : 910 x 250 mm
3 : 1150 x 200 mm
4 : 600 x 350 mm

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 92 :
ท่อลม Medium Pressure หมายถึงท่อลมทีมีระดับความดันในท่อลมเท่าใด
1 : < 25 mm WG
2 : < 50 mm WG
3 : 50 – 100 mm WG
4 : >100 mm WG

คําตอบทีถูกต ้อง : 3
ข ้อที 93 :

ท่อลม Medium Pressure มีใชในกรณี ใดบ ้าง
1 : เมือเดินท่อลมเป็ นระยะยาวมาก
2 : เมือมีการติดตังกล่องเก็บเสยี ง แผงกรองอากาศประสทิ ธิภาพสูง
3 : เมือมีการติดตังอุปกรณ์ทมี ี
ี แรงเสยดทานสูง หรืออุปกรณ์ทต ่ VAV
ี ้องการความดันลมสูง เชน
4 : ถูกทุกข ้อ

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 94 :
องค์ประกอบของฉนวนใยแก ้วในสว่ นของใยแก ้วมีหน ้าทีอะไร
1 : ป้ องกันความร ้อน
2 : ป้ องกันความชน ื
3 : ื
ป้ องกันความร ้อนและความชน
4 : ถูกทุกข ้อ

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 95 :
การออกแบบระบบท่อลมแบบก ้างปลามีประโยชน์อย่างไร
1 : สวยงาม
2 : ประหยัดค่าก่อสร ้างท่อลม
3 : ทําให ้ความดันลมทีหัวจ่ายเท่ากันทุกหัว
4 : ทําให ้สามารถปรับความดันลมให ้สมดุลย์ได ้ง่าย

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 96 :
หัวจ่ายลมแบบเพดานมีจด
ุ เด่นทีเหนือกว่าหัวจ่ายชนิดอืนอะไร
1 : การกระจายลมดี
2 : สวยงาม และเงียบ
3 : มีระยะเป่ าได ้ไกล
4 : ราคาถูก

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 97 :
หัวจ่ายลมแบบเป่ าข ้างมีข ้อควรระวังอะไร
1 : การกระจายลม
2 : ลมเย็นตกลงเป็ นจุดๆ
3 : ี ง
ระดับเสย
4 : ถูกทุกข ้อ

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 98 :
การแปลงความดันลมให ้เป็ น Static Pressure มีวธิ อ
ี ย่างไร
1 : ้ องลม (Air Plenum)
ใชกล่
2 : ใชแผ่้ น Perforated Steel Sheet ขวางทิศทางลม
3 : ้
ใชใบปรั บปริมาณลม
4 : ข ้อ 1 และ 2

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 99 :
ใยแก ้วทีมีความหนาแน่น 24 K (kg/m3) มีจด
ุ เด่นเหนือกว่า 16 K อย่างไร
1 : ฉนวน 24 K มีคา่ การนํ าความร ้อนน ้อยกว่าฉนวน 16 K มากกว่า 20%
2 : ฉนวน 24 K มีปัญหาเนืองจากการยุบตัวของฉนวนน ้อยกว่าฉนวน 16 K
3 : ฉนวน 24 K ้
สามารถใชความหนาน ้อยกว่าฉนวน 16 ษ ครึงหนึง
4 : ฉนวน 24 K ทนความชนได ื ้ดีกว่าฉนวน 16 K

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 100 :

การหาขนาดท่อลมด ้วยวิธ ี Equal friction ใชเกณฑ์
ข ้อใด
1 : ความเร็วในท่อลมไม่เกิน 3.5 ี ดทานไม่เกิน
เมตร/วินาที และความเสย 0.8 ปาสกาล/เมตร
2 : ความเร็วในท่อลมไม่เกิน 7.5 เมตร/วินาที และความเสยี ดทานไม่เกิน 0.8 ปาสกาล/เมตร
3 : ความเร็วในท่อลมไม่เกิน 3.5 เมตร/วินาที และความเสย ี ดทานไม่เกิน 1.2 ปาสกาล/เมตร
4 : ความเร็วในท่อลมไม่เกิน 7.5 เมตร/วินาที และความเสย ี ดทานไม่เกิน 1.2 ปาสกาล/เมตร

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 101 :
ในระบบปรับอากาศ ถ ้าต ้องการให ้ท่อลมหลักสง่ ลมได ้ 15 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที ควรออกแบบให ้ท่อลมมีขนาด
ี งดัง
อย่างน ้อยสุดเท่าใด เพือให ้ลดต ้นทุนและไม่ให ้เกิดเสย
1 : 1000 x 1000 ตารางมิลลิเมตร
2 : 1500 x 1000 ตารางมิลลิเมตร
3 : 2000 x 1000 ตารางมิลลิเมตร
4 : 1500 x 1500 ตารางมิลลิเมตร

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 102 :
ี ดทานต่อหน่วยความยาวมากทีสุด
ท่อลมใด มีแรงเสย
1 : ท่อสง่ ลม 1000 ลิตร/วินาที ขนาด 200 x 200 ตร. มม.
2 : ท่อสง่ ลม 2000 ลิตร/วินาที ขนาด 400 x 400 ตร. มม.
3 : ท่อสง่ ลม 4000 ลิตร/วินาที ขนาด 800 x 800 ตร. มม.
4 : ไม่มข
ี ้อใดถูก

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 103 :
พัดลมระบายอากาศ สง่ ลมด ้วยความดันรวม 1 กิโลปาสคาล และปริมาณลม 7200 ลบ.ม./ชวโมง ั ด ้วยความเร็วรอบ
750 รอบ/นาที และพัดลมและมอเตอร์ตา่ งมีประสท ิ ธิภาพคงที 80% ถ ้าต ้องการปริมาณลมเพิมขึนเป็ น 14400 ม./

ชวโมง จะต ้องปรับความเร็วรอบเป็ นเท่าใด และใสก่ ําลังงานเท่าใด
1 : 750 รอบ/นาที และ 20 กิโลวัตต์
2 : 750 รอบ/นาที และ 40 กิโลวัตต์
3 : 1500 รอบ/นาที และ 20 กิโลวัตต์
4 : 1500 รอบ/นาที และ 40 กิโลวัตต์

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

เนือหาวิชา : 392 : Piping Design

ข ้อที 104 :
้ อแบบใด
ท่อนํ าเย็นและท่อนํ าระบายความร ้อนของระบบปรับอากาศขนาดใหญ่ นิยมใชท่
1 : ท่อเหล็กกล ้าไร ้สนิม
2 : ท่อเหล็กดํา
3 : ี ี
ท่อพีวซ
4 : ท่อทองแดง

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 105 :
ี ส (44.6
เครืองทํานํ าเย็นขนาด 350 กิโลวัตต์ความเย็น (100 ตันความเย็น) จ่ายนํ าเย็นทีอุณหภูม ิ 7 องศาเซลเซย
องศาฟาเรนไฮด์) และรับนํ าเย็นกลับทีอุณหภูม ิ 13 องศาเซลเซย ี ส (55.4 องศาฟาเรนไฮด์) ควรต่อกับท่อนํ าเย็น
ขนาดเท่าใด
1 : 50 มิลลิเมตร
2 : 100 มิลลิเมตร
3 : 200 มิลลิเมตร
4 : 400 มิลลิเมตร

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 106 :
จากสูตรหาค่าการสูญเสย ี ความดันของของไหลแบบอัดตัวไม่ได ้ เนืองจากความเสย
ี ดทานภายในท่อ ข ้อต่อไปนีข ้อ
ใดทีไม่ใชต่ วั แปรทีมีผลโดยตรงต่อค่าการสูญเสย
ี ความดัน
1 : ความหยาบของผิวภายในท่อ
2 : ความเร็วของของไหลภายในท่อ
3 : ้ านศูนย์กลางภายในของท่อ
ความยาวและขนาดเสนผ่
4 : ปริมาตรของการไหลทีไหลผ่านท่อ

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 107 :
ระบบท่อนํ าระบายความร ้อน (condenser water system) โดยปกติจะมีลก
ั ษณะดังต่อไปนียกเว ้นข ้อใด
1 : เป็ นระบบท่อนํ าแบบเปิ ด
2 : ไม่หุ ้มฉนวนป้ องกันความร ้อน
3 : ใชถั้ งนํ าขยายตัวในการป้ องกันระบบเสย
ี หาย
4 : ื
เชอมต่อระหว่างเครืองทํานํ าเย็นกับหอระบายความร ้อน

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 108 :
ข ้อใดเรียงลําดับความยาวเทียบเท่า (Equivalent Length) ของวาล์วจากมากไปหาน ้อยได ้ถูกต ้อง สําหรับกรณีท ี
วาล์วทุกตัวมีขนาดเท่ากัน
1 : Globe valve, Swing check valve, Gate valve
2 : Gate valve, Swing check valve, Globe valve
3 : Swing check valve, Globe valve, Gate valve
4 : Gate valve, Globe valve, Swing check valve

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 109 :
เครืองทํานํ าเย็นขนาด 3,500 กิโลวัตต์ความเย็น (1,000 ตันความเย็น) จะต ้องใชอั้ ตราการไหลของนํ าเย็นกีลิตรต่อ
วินาที (แกลลอนต่อนาที) ถ ้ากําหนดอุณหภูมน ิ ํ าเย็นเข ้าและออกต่างกัน 5.5 องศาเซลเซยี ส และสม
ั ประสทิ ธิ
สมรรถนะการทําความเย็น (COP) มีคา่ เท่ากับ 4
1 : 158 ลิตรต่อวินาที (2,500 แกลลอนต่อนาที)
2 : 152 ลิตรต่อวินาที (2,400 แกลลอนต่อนาที)
3 : 164 ลิตรต่อวินาที (2,600 แกลลอนต่อนาที)
4 : 145 ลิตรต่อวินาที (2,300 แกลลอนต่อนาที)

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 110 :
เครืองทําความเย็นขนาด 3,500 กิโลวัตต์ความเย็น (1,000 ตันความเย็น) จะต ้องใชอั้ ตราการไหลของนํ าระบาย
ความร ้อนกีลิตรต่อวินาที (แกลลอนต่อนาที) ถ ้ากําหนดอุณหภูมน
ิ ํ าระบายความร ้อนเข ้าและออกต่างกัน 5.5 องศา
เซลเซย ี ส และสม
ั ประสท
ิ ธิสมรรถนะการทําความเย็นเท่ากับ 4
1 : 190 ลิตรต่อวินาที (3,000 แกลลอนต่อนาที)
2 : 196 ลิตรต่อวินาที (3,100 แกลลอนต่อนาที)
3 : 152 ลิตรต่อวินาที (2,400 แกลลอนต่อนาที)
4 : 177 ลิตรต่อวินาที (2,800 แกลลอนต่อนาที)

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 111 :
ี ดทานของ
อาคารสูง 23 เมตรมี ระบบท่อนํ าเย็นทีมีคา่ ความยาวเทียบเท่าของท่อเท่ากับ 100 เมตร มีคา่ ความเสย
การไหลภายในท่อเท่ากับ 3.5 เมตรต่อความยาว 100 เมตร มีคา่ ความเร็วของนํ าในระบบท่อเท่ากับ 2.5 เมตรต่อ
วินาที ให ้คํานวณหาค่าความดันรวม (Total head) ของระบบท่อนํ าเย็น ดังกล่าว
1 : 3.5 เมตร
2 : 26.5 เมตร
3 : 23 เมตร
4 : 19.5 เมตร

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 112 :
ข ้อใดเป็ นการเลือกขนาดของท่อนํ าทีไม่น่าถูกต ้อง สําหรับการออกแบบระบบท่อนํ าเย็น

1 : ท่อขนาด 1.25 นิว ความเร็วนํ าในท่อ 1.4 เมตรต่อวินาที


2 : ท่อขนาด 2 นิว ความเร็วนํ าในท่อ 1.8 เมตรต่อวินาที
3 : ท่อขนาด 0.5 นิว ความเร็วนํ าในท่อ 0.9 เมตรต่อวินาที
4 : ท่อขนาด 4 นิว ความเร็วนํ าในท่อ 1.8 เมตรต่อวินาที

คําตอบทีถูกต ้อง : 3
ข ้อที 113 :
ข ้อความใดต่อไปนีไม่ถก
ู ต ้อง
1 : การดูดยก (Suction lift) เกิดขึนเมือแหล่งป้ อนนํ าอยูต
่ ํากว่าระดับการติดตังเครืองสูบนํ า
2 : ความดันจ่ายสถิต (Static discharge head) คือระยะทางในแนวดิงจากเครืองสูบนํ าไปจนถึงจุดปล่อยนํ า
อย่างอิสระ
3 : ความดันรวม (Total head) = ความดันจ่ายพลวัตรวม (Total dynamic discharge head) - ความดันดูด
สถิตรวม (Total static suction lift) เมือระบบมีการดูดยก (Suction lift)
4 : ความดันรวม (Total head) = ความดันจ่ายพลวัตรวม (Total dynamic discharge head) + ความดันดูด
สถิตรวม (Total static suction lift) เมือระบบมีการดูดยก (Suction lift)

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 114 :
ข ้อความใดต่อไปนีถูกต ้อง
1 : เมือระบบมีความดันดูด (suction head) เราจําเป็ นต ้องคํานวณหาค่าความดันดุดสุทธิ (NPSH) ของเครือง
สูบนํ า

2 : ค่าความดันดูดสุทธิจริง (NPSH available) เป็ นฟั งก์ชนของการออกแบบเครื องสูบนํ า
3 : ในระบบเปิ ด เมือเกิดการดุดยก (suction lift) เราต ้องคํานวณหาค่าความดันดูดสุทธิทต ี ้องการ (NPSH
required)
4 : การเลือกเครืองสูบนํ าในระบบเปิ ด ต ้องเลือกเครืองสูบนํ าทีมีคา่ ความดันดูดสุทธิทต
ี ้องการ (NPSH
required) น ้อยกว่าหรือเท่ากับค่าความดันดูดสุทธิจริง (NPSH available) เสมอ

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 115 :

ต ้องการสูบนํ าได ้สูง 30 เมตร ทีอัตราการไหล 30 ลบ.เมตร. ต่อชวโมง ิ ธิภาพของเครืองสูบนํ าเท่ากับ
โดยทีประสท
้ องสูบนํ าขนาดกีกิโลวัตต์
60 % จะต ้องใชเครื
1 : 4.09 kw
2 : 7.8 kw
3 : 4.2 kw
4 : 3.6 kw

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 116 :

ความเร็วนํ าตําสุดทีใชในการออกแบบระบบท่
อนํ ามีคา่ เท่ากับเท่าไร
1 : 0.9 เมตรต่อวินาที
2 : 0.5 เมตรต่อวินาที
3 : 0.6 เมตรต่อวินาที
4 : 1.2 เมตรต่อวินาที

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 117 :
ท่อใดในระบบปรับอากาศทีไม่ต ้องหุ ้มฉนวน
1 : ท่อนํ าเย็นด ้านสง่
2 : ท่อนํ าเย็นด ้านกลับ
3 : ท่อนํ าระบายความร ้อน
4 : ท่อสารทําความเย็นด ้านดูด
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 118 :
ท่อนํ าระบายความร ้อนของเครืองทํานํ าเย็นขนาด 3,500 กิโลวัตต์ความเย็น ควรมีขนาดเท่าใด
1 : 150 มม.
2 : 350 มม.
3 : 500 มม.
4 : 600 มม.

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 119 :
ถังรับการขยายตัวนํ าแบบเปิ ด (Open-Type Expansion Tank) ต ้องติดตังอยูท
่ จุ
ี ดใดของระบบท่อนํ าเย็นของระบบ
ปรับอากาศ
1 : จุดทีสูงทีสุด
2 : จุดทีตําทีสุด
3 : จุดทีใกล ้ด ้านดูดของเครืองสูบนํ ามากทีสุด
4 : จุดทีอยูใ่ กล ้กับด ้านจ่ายของเครืองสูบนํ ามากทีสุด

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 120 :
โดยปกติความเร็วของนํ าในท่อนํ าเย็นประธาน (Main Chilled Water) มีคา่ ประมาณเท่าใด
1 : 2.4-3.7 m/s
2 : 1.2-2.1 m/s
3 : 3-4.6 m/s
4 : 1.5-3 m/s

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 121 :
โดยปกติความเร็วของนํ าในท่อนํ าเย็นแยก (Branch Chilled Water) มีคา่ ประมาณเท่าใด
1 : 2.4-3.7 m/s
2 : 1.2-2.1 m/s
3 : 1.2-4.6 m/s
4 : 1-3 m/s

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 122 :
อุณหภูมน ิ ํ าเย็นจ่ายและนํ าเย็นกลับ (Chilled Water Supply/Return Temperature) ของระบบปรับอากาศทัวไป
เป็ นเท่าไร
1 : 4.44 / 10 องศาเซลเซย ี ส
2 : 5.55 / 11.11 องศาเซลเซย ี ส
3 : 7 / 12 องศาเซลเซยี ส
4 : 8.33 / 13.9 องศาเซลเซย ี ส

คําตอบทีถูกต ้อง : 3
ข ้อที 123 :
อุณหภูมน ิ ํ าระบายความร ้อนจ่ายและนํ าระบายความร ้อนกลับ (Cooling Water Supply/Return Temperature)
ของหอระบายความร ้อน (Cooling Tower) ทัวไป เป็ นเท่าไร
1 : 26.7 / 32.2 องศาเซลเซย ี ส
2 : 32.2 / 37.8 องศาเซลเซย ี ส
3 : 29.44 / 35 องศาเซลเซยี ส
4 : 35 / 40.55 องศาเซลเซย ี ส

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 124 :
ระบบท่อนํ าเย็นแบบใดทีเป็ นการออกแบบให ้มีการสมดุลนํ าภายในระบบเอง (Self Balance)
1 : ระบบท่อนํ าเย็นแบบไหลกลับโดยตรง (Direct Return)
2 : ระบบท่อนํ าเย็นแบบไหลกลับ (Reverse Return)
3 : ระบบท่อนํ าเย็นแบบวงลูป (Ring Loop)
4 : ระบบท่อนํ าเย็นแบบวงรวม (Header)

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 125 :
สําหรับระบบท่อนํ าเย็นสําหรับงานปรับอากาศ ข ้อใดเป็ นคําตอบทีถูกต ้อง
1 : เป็ นระบบปิ ด (Closed System)
2 : เป็ นระบบเปิ ด (Open System)
3 : เป็ นระบบปิ ด (Closed System) และ ระบบเปิ ด (Open System)
4 : เป็ นระบบเลียงทางหลัก (Bypass System)

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 126 :
สําหรับระบบท่อนํ าระบายความร ้อน ข ้อใดเป็ นคําตอบทีถูกต ้อง
1 : เป็ นระบบปิ ด (Closed System)
2 : เป็ นระบบเปิ ด (Open System)
3 : เป็ นระบบปิ ด (Closed System) และระบบเปิ ด (Open System)
4 : เป็ นระบบเลียงทางหลัก (Bypass System)

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 127 :
ผลเสย ี จากการทีมีโพรงอากาศระหว่างฉนวนและท่อนํ าเย็นคืออะไร
1 : ไม่สวยงาม
2 : ค่าการนํ าความร ้อนเพิมขึน
3 : ี หายในระยะยาว
เกิดการควบแน่นและทําให ้ฉนวนเสย
4 : เปลืองฉนวน

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 128 :
ี ข ้อต่อเป็ นท่อทองแดง ควรใชข้ ้อต่อชนิดใด
การต่อท่อนํ าเย็นทีเป็ นท่อเหล็กดํากับแฟนคอยล์ทมี
1 : ข ้อต่อเกลียวทองแดง
2 : ข ้อต่อเกลียวทองเหลือง
3 : ข ้อต่อเกลียว พี วี ซ ี
4 : ข ้อต่อหน ้าแปลน

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 129 :

การหาขนาดท่อนํ าขนาดไม่เกิน 50 มิลลิเมตร ใชเกณฑ์
ข ้อใด
1 : ความเร็วในท่อนํ าไม่เกิน 1.2 ี ดทานไม่เกิน
เมตร/วินาที และความเสย 300 ปาสกาล/เมตร
2 : ความเร็วในท่อนํ าไม่เกิน 1.2 เมตร/วินาที และความเสยี ดทานไม่เกิน 500 ปาสกาล/เมตร
3 : ความเร็วในท่อนํ าไม่เกิน 3.0 เมตร/วินาที และความเสย ี ดทานไม่เกิน 300 ปาสกาล/เมตร
4 : ความเร็วในท่อนํ าไม่เกิน 3.0 เมตร/วินาที และความเสย ี ดทานไม่เกิน 500 ปาสกาล/เมตร

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 130 :

การหาขนาดท่อนํ าขนาดมากกว่า 50 มิลลิเมตร ใชเกณฑ์
ข ้อใด
1 : ความเร็วในท่อนํ าไม่เกิน 1.2 ี ดทานไม่เกิน
เมตร/วินาที และความเสย 300 ปาสกาล/เมตร
2 : ความเร็วในท่อนํ าไม่เกิน 1.2 เมตร/วินาที และความเสยี ดทานไม่เกิน 500 ปาสกาล/เมตร
3 : ความเร็วในท่อนํ าไม่เกิน 3.0 เมตร/วินาที และความเสย ี ดทานไม่เกิน 300 ปาสกาล/เมตร
4 : ความเร็วในท่อนํ าไม่เกิน 3.0 เมตร/วินาที และความเสย ี ดทานไม่เกิน 500 ปาสกาล/เมตร

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 131 :
เครืองทํานํ าเย็น (Water Chiller) ขนาด 500 ตัน มีอณ
ุ หภูมน ี ส จะมี
ิ ํ าเย็นเข ้า/ออก เท่ากับ 12.5/7 องศาเซลเซย
อัตราการไหลของนํ าเย็นเท่าใด
1 : 46 ลิตร/วินาที
2 : 56 ลิตร/วินาที
3 : 66 ลิตร/วินาที
4 : 76 ลิตร/วินาที

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 132 :
เครืองทํานํ าเย็น (Water Chiller) ขนาด 500 ตันความเย็น มีอณ
ุ หภูมนิ ํ าเย็นเข ้า/ออก เท่ากับ 12.7/7.2 องศา
เซลเซย ี ส จะต ้องออกแบบท่อให ้มีเสนผ่
้ าศูนย์กลางขนาดอย่างน ้อยเท่าใด
1 : 100 มิลลิเมตร
2 : 150 มิลลิเมตร
3 : 200 มิลลิเมตร
4 : 250 มิลลิเมตร

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

เนือหาวิชา : 393 : Equipment

ข ้อที 133 :
สําหรับระบบสง่ ลมขนาดใหญ่ ทีต ้องการพัดลมทีมีแรงดันสถิตย์สงู 1000 ปาสกาล (4 นิวนํ า) ควรเลือกใชพั
้ ดลม
แบบใด
1 : พัดลมใบแฉก (Propeller Fan)
2 : พัดลมหอยโข่ง ใบโค ้ง เอียงหน ้า (Centrifugal Fan, Forward-curved)
3 : พัดลมหอยโข่ง ใบโค ้ง เอียงหลัง (Centrifugal Fan, Backward-curved)
4 : พัดลมติดเพดาน (Ceiling Mounted Fan)

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 134 :
เครืองสง่ ลมเย็นแบบใดเหมาะทีจะใชในห ้ ่ ห ้องสะอาดในอุตสาหกรรม
้องปรับอากาศทีต ้องการความสะอาด เชน
อิเลคทรอนิคส ์ หรือ ห ้องผ่าตัดในโรงพยาบาล
1 : เครืองสง่ ลมเย็นแบบผนังชนเดี
ั ยว (Single Skin)
2 : เครืองสง่ ลมเย็นแบบผนังสองชน ั (Double Skin)
3 : แฟนคอลย์ยน ู ต
ิ แบบติดตังภายในฝ้ าเพดาน
4 : เครืองสง่ ลมเย็นแบบติดผนัง

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 135 :
รูปใดเป็ นโค ้งสมรรถนะของพัดลมหอยโข่งชนิดใบโค ้งเอียงหลัง (Backward - curved Centrifugal Fan)

1:
2:

3:
4:

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 136 :
ข ้อใดต่อไปนีไม่ถก
ู ต ้อง
1 : ถังขยายตัวในระบบท่อนํ าเย็น มีไว ้สําหรับรองรับการเปลียนแปลงปริมาตรของนํ าในระบบ และมีได ้เพียงถัง
เดียวเท่านันสําหรับระบบท่อนํ าเย็นแบบปิ ดใด ๆ
2 : เครืองสูบนํ าจะกําหนดได ้หลังจากการออกแบบระบบท่อนํ าแล ้ว
3 : พัดลมติดตังมากับเครืองสง่ ลมเย็นทีเป็ นชุดสําเร็จจากโรงงานเป็ นพัดลมชนิดหอยโข่ง
4 : หอระบายความร ้อนควรอยูใ่ นทีมิดชด ิ ทังนีเพือป้ องกันสงสกปรกปนเปื
ิ อนในนํ าระบายความร ้อน

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 137 :
สําหรับการติดตังชุดควบแน่น (Condensing unit) การมีระยะห่างรอบตัวเครืองตามทีผู ้ผลิตแนะนํ ากําหนดด ้วย
1 : ขนาดทําความเย็น
2 : ขนาดของเครืองเป่ าลมเย็น
3 : ขนาดของพืนทีทีทําการติดตัง
4 : ระยะเว ้นว่างโดยรอบของเครือง

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 138 :
สําหรับการติดตังชุดควบแน่น (Condensing unit) การมีระยะห่างรอบตัวเครืองตามทีผู ้ผลิตกําหนด เป็ น
1 : ิ าเป็ นเมือติดตังเพือใชงานในบ
สงจํ ้ ้านเท่านัน
2 : ิ าเป็ นเมือติดตังเพือใชงานในเช
สงจํ ้ งิ พาณิชย์
3 : ิ าเป็ นถ ้าหากว่ามีการกําหนดไว ้โดยรหัสหรือมาตรฐาน (Code or Standard)
สงจํ
4 : สงจํิ าเป็ นเมือไรก็ตามทีมีการติดตังชุดควบแน่น
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 139 :

ชนิดของพัดลมทีเหมาะสมกับการใชงานความดั
นสูงคือ
1 : พัดลมใบพัดแบบติดผนัง (Propeller type fan)
2 : พัดลมติดตังในท่อกลม (Tube-axial fan)
3 : พัดลมหอยโข่ง ใบโค ้งเอียงหลัง (Backward curved centrifugal fan)
4 : พัดลมหอยโข่ง ใบโค ้งเอียงหน ้า (Forward curved centrifugal fan)

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 140 :
ถ ้าความเร็วรอบของเครืองสูบนํ าเพิมขึนเป็ น 2 เท่า กําลังงานทีต ้องการของเครืองสูบนํ าจะเพิมขึนเป็ นกีเท่า
1 : 2 เท่า
2 : 4 เท่า
3 : 6 เท่า
4 : 8 เท่า

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 141 :
ิ เกิดขึนกับอัตราการไหลและความดันเมือขนาดใบพัดของเครืองสูบนํ าเล็กลง คือ
สงที
1 : อัตราการไหลลดลงแต่ความดันเพิมขึน
2 : อัตราการไหลและความดันเพิมขึน
3 : อัตราการไหลและความดันลดลง
4 : ่ งหมด
ไม่ใชท ั

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 142 :
ถ ้าอุณหภูมน ิ ํ าเข ้าและออกของหอระบายความร ้อน (Cooling tower) เป็ น 40 องศาเซลเซย ี ส และ 32 องศา
เซลเซย ี ส ตามลําดับ และอุณหภูมก ิ ระเปาะเปี ยกของบรรยากาศเป็ น 29 องศาเซลเซยี ส ให ้หาอุณหภูมเิ ข ้าสู่
อุดมคติ (Approach temperature) ของหอระบายความร ้อน
1 : 40 องศาเซลเซยี ส
2 : 32 องศาเซลเซย ี ส
3 : 29 องศาเซลเซย ี ส
4 : ี ส
3 องศาเซลเซย

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 143 :
ิ ธิภาพสูงและเหมาะทีนํ ามาใชกั้ บเครืองทํานํ าเย็นขนาดมากกว่า 500 ตันขึนไป
คอมเพรสเซอร์แบบใดทีมีประสท
1 : แบบลูกสูบ
2 : แบบหอยโข่ง
3 : แบบสกรู
4 : แบบโรตารี

คําตอบทีถูกต ้อง : 2
ข ้อที 144 :
หอระบายความร ้อน (Cooling Tower) จะระบายความร ้อนได ้น ้อยลงเมือใด
1 : อุณหภูมก
ิ ระเปาะแห ้งของอากาศสูงขึน
2 : อุณหภูมกิ ระเปาะแห ้งของอากาศตําลง
3 : อุณหภูมก ิ ระเปาะเปี ยกของอากาศสูงขึน
4 : อุณหภูมก ิ ระเปาะเปี ยกของอากาศตําลง

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 145 :
เครืองสูบนํ าในรูปเป็ นเครืองสูบนํ าชนิดใด

1 : End Suction Pump


2 : Horizontal Split Case Pump
3 : Vertical Split Case Pump
4 : In-line Pump

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 146 :
ข ้อใดไม่ใชค่ ณ
ุ สมบัตท ี ของเครืองสง่ ลมเย็น
ิ ดี
1 : ลมรัวน ้อย
2 : ล ้างทําความสะอาดภายในได ้ง่าย
3 : นํ าหนักมาก
4 : ตัวถังมีความเป็ นฉนวนดี

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 147 :
พัดลมชนิดหอยโข่ง (centrifugal fan) แบบใบโค ้งเอียงหน ้า (forward curve) และใบโค ้งเอียงหลัง (backward
curve) ต่างกันอย่างไร
1 : พัดลมหอยโข่งใบโค ้งเอียงหน ้า (forward curve centrifugal fan) ราคาแพงกว่า
2 : พัดลมหอยโข่งใบโค ้งเอียงหลัง (backward curve centrifugal fan) เหมาะกับกรณีทต ี ้องการความดันสถิต
(static pressure) สูง
3 : พัดลมหอยโข่งใบโค ้งเอียงหลัง (backward curve centrifugal fan) เหมาะกับกรณีลมมีไอกรด
4 : พัดลมหอยโข่งใบโค ้งเอียงหน ้า (forward curve centrifugal fan) เหมาะสําหรับกรณีลมมีสงสกปรกมาก

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 148 :
การติดตังหอระบายความร ้อน (cooling tower) ข ้อใดเป็ นคําตอบทีถูกต ้อง
1 : ติดตังในตําแหน่งทีสูงกว่าเครืองทํานํ าเย็น
2 : ติดตังในตําแหน่งทีตํากว่าเครืองทํานํ าเย็น
3 : ติดตังโดยมีหลังคาคลุม
4 : ติดตังในตําแหน่งเหนือลม

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 149 :
โดยทัวไปหอระบายความร ้อน (cooling Tower) สามารถทําให ้อุณหภูมน ิ ํ าระบายความร ้อนลดลงได ้เป็ นประมาณ
เท่าใด หากอุณหภูมก
ิ ระเปาะเปี ยก (wet bulb temperature) เป็ น 28.3 องศาเซลเซย ี ส
1 : 28 ี ส
องศาเซลเซย
2 : 32 องศาเซลเซยี ส
3 : 34 องศาเซลเซย ี ส
4 : 36 องศาเซลเซย ี ส

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 150 :
ี เท่าใด
หอระบายความร ้อน(Cooling Tower) ชนิดการไหลตามขวาง (Cross Flow) โดยทัวไปมีปริมาณนํ าสูญเสย
1 : 1% ของปริมาณนํ าหมุนเวียน
2 : 2% ของปริมาณนํ าหมุนเวียน
3 : 3% ของปริมาณนํ าหมุนเวียน
4 : 4% ของปริมาณนํ าหมุนเวียน

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 151 :
หอระบายความร ้อนชนิดการไหลตามขวาง (Cooling Tower) ชนิดการไหลตามขวาง (Counter Flow) โดยทัวไป
ี เท่าใด
มีปริมาณนํ าสูญเสย
1 : 1% ของปริมาณนํ าหมุนเวียน
2 : 2% ของปริมาณนํ าหมุนเวียน
3 : 3% ของปริมาณนํ าหมุนเวียน
4 : 4% ของปริมาณนํ าหมุนเวียน

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 152 :
หลักการเลือกคอยล์เย็น (Cooling Coil Selection) คืออะไร
1 : เลือกจากตันความเย็นทีต ้องการ
2 : เลือกจากตันความเย็นและ GSHRทีต ้องการ
3 : เลือกจากตันความเย็นและ RSHRทีต ้องการ
4 : เลือกจากตันความเย็น GSHR และปริมาณลมทีต ้องการ

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 153 :
การไหลของนํ าในคอยล์เย็นควรเป็ นการไหลแบบเรียบหรือการไหลแบบปั นป่ วน (Laminar หรือ Turbulent Flow)
1 : เป็ นการไหลแบบเรียบ (Laminar Flow) เพือให ้มีแรงเสย ี ดทางตํา
2 : เป็ นการไหลแบบเรียบ (Laminar Flow) เพือให ้มีการถ่ายเทความร ้อนได ้ดี
3 : เป็ นการไหลแบบปั นป่ วน (Turbulent Flow) เพือให ้มีแรงเสยี ดทางตํา
4 : เป็ นการไหลแบบปั นป่ วน (Turbulent Flow) เพือให ้มีการถ่ายเทความร ้อนได ้ดี

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 154 :
แรงเสย ี ดทานของนํ าสําหรับคอยล์เย็นปกติควรเป็ นเท่าใด
1 : 1.52-3.04 m
2 : 4.6-7.6 m
3 : 9.1-12.2 m
4 : 12.2-15.2 m

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 155 :
เครืองสง่ ลมเย็นแบบมอเตอร์อยูห
่ น ้าคอยล์ (Draw Through) มีจด
ุ เด่นทีเหนือกว่าแบบมอเตอร์อยูห
่ ลังคอยล์
(Blow Through) อะไร
1 : แรงเสยี ดทานน ้อยกว่า
2 : สามารถทําความเย็นได ้มากกว่า
3 : ลมผ่านหน ้าคอยล์เย็นสมําเสมอมากกว่า
4 : เงียบกว่า

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 156 :
การเปิ ดนํ าทิง (Bleed Off) ทีหอระบายความร ้อน (Cooling Tower) มีความจําเป็ นอย่างไร
1 : ไม่จําเป็ น เพราะทําให ้เปลืองนํ า
2 : ไม่จําเป็ น เพราะนํ าจะสูญเสยี ไปกับอากาศหรือล ้นและการรัวซม ึ อยูแ
่ ล ้ว
3 : จําเป็ น เพราะจะทําให ้สามารถเติมนํ าเข ้ามาใหม่
4 : จําเป็ น เพือลดความเข ้มข ้นของสารเคมีอน ั จะทําให ้ระบบเกิดการกัดกร่อน

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 157 :
เครืองสง่ ลมสําหรับระบบปรับอากาศ (AHU) ต ้องการสง่ ลมด ้วยความดันรวม 1 กิโลปาสคาล และปริมาณลม 4
ิ ธิภาพรวม 80% จะต ้องเลือกมอเตอร์ขนาดอย่างน ้อยเท่าใด
ลบ.ม./วินาที ถ ้าพัดลมมีประสท
1 : ิ ธิภาพมอเตอร์ประมาณ 80%
4000 วัตต์ ทีประสท
2 : 5000 วัตต์ ทีประสทิ ธิภาพมอเตอร์ประมาณ 80%
3 : 6000 วัตต์ ทีประสท ิ ธิภาพมอเตอร์ประมาณ 80%
4 : ไม่สามารถตอบได ้ เนืองจากไม่ได ้กําหนดความเร็วรอบของพัดลม

คําตอบทีถูกต ้อง : 3
ข ้อที 158 :
เครืองสูบนํ าเย็นเครืองหนึงห่างจากเครืองสง่ ลมเย็นเครืองไกลสุดเป็ นระยะในแนวราบ 650 เมตร เครืองสง่ ลมเย็น
อยูส่ งู ขึนไปในแนวดิง 50 เมตร และมีความดันสูญเสย ี ในท่อตรงประมาณ 1เมตร/35เมตร และมีความดันสูญเสย ี
จากข ้อต่อและวาล์วต่างๆอีกประมาณ 20%ของท่อตรง เมือนํ ามาตรวัดความดัน (pressure gauge) มาวัดทีทาง
ออกของเครืองสูบนํ าเย็น จะอ่านความดันได ้ประมาณเท่าใด
1 : 24 เมตร นํ า
2 : 50 เมตร นํ า
3 : 74 เมตร นํ า
4 : 98 เมตร นํ า

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

เนือหาวิชา : 394 : Controls

ข ้อที 159 :

เทอร์โมสแตต (Thermostat) ของเครืองปรับอากาศใชในการทํ าหน ้าทีอะไร
1 : ควบคุมความเร็วลมผ่านคอยล์
2 : ควบคุมความชนื
3 : ควบคุมอุณหภูม ิ
4 : ควบคุมอุณหภูมแ ื
ิ ละความชน

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 160 :
วาล์วควบคุมอัตโนมัต ิ (Automatic Control Valve) ทีติดตังในระบบนํ าเย็น ทําหน ้าทีอะไร
1 : ปรับสมดุลนํ าเย็น
2 : ระบายนํ าเย็นทิงเมือความดันเกิน
3 : ควบคุมความดันไม่ให ้สูงเกินจนทําให ้เครืองสง่ ลมเย็นเสย
ี หาย
4 : ควบคุมอัตราไหลนํ าเย็นให ้เหมาะสมกับภาระการทําความเย็น

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 161 :
โดยปกติ จะควบคุมการทํางานของเครืองทํานํ าเย็นให ้เป็ นไปตามภาระความเย็นทีลดลงได ้อย่างไร
ิ ํ ากลับจะตํากว่าค่าทีตังไว ้ อุปกรณ์ตรวจวัดจะสง่ สญ
1 : เมือภาระความเย็นลดลง อุณหภูมน ั ญาณไปยังชุด
ควบคุมเพือปรับการทํางานของคอมเพรสเซอร์
2 : เมือภาระความเย็นลดลง อุณหภูมนิ ํ ากลับจะตํากว่าค่าทีตังไว ้ อุปกรณ์ตรวจวัดจะสง่ สญ ั ญาณไปยังชุด
ควบคุมเพือปรับการทํางานของอุปกรณ์จา่ ยสารทําความเย็น
3 : เมือภาระความเย็นลดลง อุณหภูมน ิ ํ ากลับจะตํากว่าค่าทีตังไว ้ อุปกรณ์ตรวจวัดจะสง่ สญ ั ญาณไปยังชุด
ควบคุมเพือปรับการทํางานของเครืองสูบนํ า
4 : เมือภาระความเย็นลดลง อุณหภูมน ิ ํ ากลับจะตํากว่าค่าทีตังไว ้ อุปกรณ์ตรวจวัดจะสง่ สญ ั ญาณไปยังชุด
ควบคุมเพือปรับหรีวาล์วนํ าเย็น

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 162 :
อุปกรณ์ควบคุมเพือความปลอดภัยของเครืองทํานํ าเย็นแบบทีเป็ นชุดสําเร็จจากโรงงาน ทีจําเป็ นต ้องติดตังเพิมเติม
คือข ้อใด
1 : Flow switch
2 : Pressure relief valve
3 : Rupture disk
4 : Fusible plug

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 163 :
หน ้าทีของเทอร์มล ั
ั เอ็กแพนชนวาล์
ว (Thermal Expansion Valve) คืออะไร
1 : ควบคุมปริมาณก๊าซทีมาจากเครืองระบายความร ้อน
2 : ี (Superheat) ของก๊าซทีออกจากอีแวปปอเรเตอร์ (Evaporator) ให ้คงที
รักษาความเป็ นซุปเปอร์ฮท
3 : ่ งั เก็บนํ ายา
ควบคุมปริมาณก๊าซทีเข ้าสูถ
4 : แยกนํ ามันออกจากสารทําความเย็น

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 164 :
บริเวณไหนทีท่านคิดว่าเป็ นตําแหน่งทีดีในการติดตังเทอร์โมสแตต (Thermostat)
1 : ในห ้องครัว
2 : ในห ้องนํ า
3 : บนผนังด ้านนอก
4 : ใกล ้กับหน ้ากากลมกลับ

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 165 :
ตัวเทอร์มส ์ นิดติดผนังทําหน ้าทีวัดอะไร
ิ เตอร์ (Thermistor) ในเทอร์มอสแตต (Thermostat) แบบอิเลคทรอนิกสช
1 : อุณหภูม ิ
2 : ความชนื
3 : ความดันบรรยากาศ
4 : อุณหภูมแ ื
ิ ละความชน

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 166 :
การวัดความดันและอุณหภูมข
ิ องท่อนํ ายาทําความเย็นทางด ้านดูด ทําไว ้เพือหาอะไร
1 : อุณหภูมขิ องอากาศทีเข ้าและออกจากคอยล์ของอีแวปปอเรเตอร์ (Evaporator)
2 : ปริมาณสารทําความเย็นในระบบ
3 : ความเป็ นซบั คูล (Subcooling) ของสารทําความเย็นทีออกจากคอนเดนซงยู
ิ นต
ิ (Condensing unit)
4 : ความเป็ นซุปเปอร์ฮที (Superheat) ของสารทําความเย็นออกจากตัวอีแวปปอเรเตอร์ (Evaporator)

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 167 :
เครืองมือวัดต่อไปนีอะไรเป็ นเครืองทีใชวั้ ดความดันสถิตและความดันทังหมดในระบบท่อลม
1 : Psychrometer
2 : Diaphragm type differential pressure gauge
3 : Portable air hood
4 : Anemometer
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 168 :
ขนาดของเทอร์โมสแตติกสเ์ อ็กแพนชนวาล์
ั ว (Thermostatic Expansion Valve) จะเลือกจาก
1 : การตังอุณหภูมซ ิ ป ี (Superheat)
ุ เปอร์ฮท
2 : ขนาดแรงม ้า
3 : ขนาดตันความเย็น
4 : ทุกข ้อดังกล่าวข ้างต ้น

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 169 :
ในการควบคุมการเดินเครืองระบบทําความเย็นแบบใชนํ้ าเย็น อุปกรณ์ใดควรจะถูกสงให
ั ้เดินเครืองก่อน
1 : คอมเพรสเซอร์
2 : เครืองสูบนํ าระบายความร ้อน
3 : พัดลมหอผึงนํ า
4 : เครืองสูบนํ าเย็น

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 170 :
อุปกรณ์ทใช ้
ี ในการปรั บความเร็วรอบของมอเตอร์เครืองสูบนํ าเย็นเพือปรับอัตราการไหลของนํ าเย็นในระบบ ต ้อง
ทํางานโดยรับสญ ั ญาณจากอุปกรณ์ใด
1 : อุปกรณ์วด ื
ั ความชนของอากาศ
2 : อุปกรณ์วดั ความเร็วของนํ า
3 : อุปกรณ์วด ั ความหนาแน่นของนํ า
4 : อุปกรณ์วด ั ความดันของนํ า

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 171 :
หน ้าทีของวาล์วควบคุมอัตโนมัต ิ (Automatic Control Valve) ในระบบท่อนํ าเย็น คืออะไร
1 : ปิ ดโดยอัตโนมัตเิ มือความดันเกิน
2 : ปรับอัตราการไหลของนํ าเย็นให ้เหมาะสมกับภาระการทําความเย็น
3 : ปรับสมดุลอัตราไหลของนํ าเย็นเนืองจากความเสยี ดทานทีต่างกันของเครืองสง่ ลมเย็นในระบบ
4 : สร ้างความดันลดในระบบให ้เหมาะสมกับอัตราไหลทีเปลียนแปลง

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 172 :
วาล์วควบคุมสามทาง (3 Way Control Valve) มีลก
ั ษณะการทํางานเป็ นแบบใด
1 : เป็ นแบบหรีนํ า
2 : เป็ นแบบ Bypass
3 : เป็ นแบบ Mixing
4 : เป็ นทัง 3 แบบ

คําตอบทีถูกต ้อง : 2
ข ้อที 173 :
วาล์วควบคุมสองทาง (2 Way Control Valve) มีลก
ั ษณะการทํางานเป็ นแบบใด
1 : เป็ นแบบหรีนํ า
2 : เป็ นแบบ Bypass
3 : เป็ นแบบ Mixing
4 : เป็ นทัง 3 แบบ

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 174 :
วาล์วควบคุมสองทาง (2 Way Control Valve) มีลก
ั ษณะการทํางานเป็ นแบบใด
1 : เป็ นแบบหรีนํ า
2 : เป็ นแบบ Bypass
3 : เป็ นแบบ Mixing
4 : เป็ นทัง 3 แบบ

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 175 :
การทํางานของวาล์วควบคุม (Control Valve) สําหรับเครืองสง่ ลมเย็น สงงานด
ั ้วยอะไร
1 : Thermostat
2 : Humidistat
3 : Pressure Sensor
4 : Flow Sensor

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 176 :
การทํางานของวาล์วระเหยสารทําความเย็น (Expansion Valve)สําหรับเครืองทําความเย็น สงงานด
ั ้วยอะไรเป็ น
หลัก
1 : Temperature Sensor
2 : Pressure Sensor
3 : Flow Sensor
4 : Thermostat

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 177 :
ี หายจากความดันนํ ายาผิดปกติคอ
อุปกรณ์เพือป้ องกันความเสย ื อะไร
1 : High Pressure Cut Out
2 : Low Pressure Cut Out
3 : Hi-Lo Pressure Cut out
4 : Overload

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 178 :
Flow Switch ในระบบท่อนํ ามีหน ้าทีอะไร
1 : ตรวจสอบปริมาณการไหลของนํ า
2 : วัดการไหลของนํ า
3 : วัดความดันนํ า
4 : วัดอุณหภูมข
ิ องนํ า

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 179 :
ความดันทีอ่านค่าได ้จาก Pressure Gauge คืออะไร
1 : Velocity Pressure
2 : Static Pressure
3 : Total Pressure
4 : Pressure Head

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 180 :
ในระบบนํ าเย็นสําหรับปรับอากาศ (Chilled water system) ต ้องมีถงั รับนํ าขยายตัว (Expansion tank) ข ้อใด
เป็ นการติดตังทีถูกต ้อง
1 : ถังขยายตัวแบบเปิ ด ควรอยูส ่ งู สุดของระบบท่อนํ าเย็น และทําหน ้าทีรองรับการขยายตัวของนํ าเย็น
2 : ถังขยายตัวแบบเปิ ด ควรอยูต ่ ําสุดของระบบท่อนํ าเย็น และทําหน ้าทีรองรับการขยายตัวของนํ าเย็น
3 : ถังขยายตัวแบบเปิ ด อยูต
่ รงกลางของระบบท่อนํ าเย็น และทําหน ้าทีรองรับการขยายตัวของนํ าเย็น
4 : ถังขยายตัวแบบเปิ ด อยูต่ ําแหน่งใดก็ได ้ของระบบท่อนํ าเย็น และทําหน ้าทีรองรับการขยายตัวของนํ าเย็น

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

เนือหาวิชา : 395 : Fire Safety

ข ้อที 181 :
ท่อลมทีติดตังผ่านผนังกันไฟทีมีอต ั
ั ราการทนไฟ 2 ชวโมง ต ้องทําอย่างไร
1 : ห ้ามติดตังผ่านผนังกันไฟโดยเด็ดขาด
2 : ติดตังลินกันไฟ
3 : ติดตังท่อลมชนิดกันไฟ
4 : ติดตังลินกันควัน

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 182 :
กฎหมายควบคุมอาคาร กําหนดให ้ต ้องอัดความดันบันไดหนีไฟของอาคารสูงในกรณีทไม่ ่ งเปิ ดสู่
ี สามารถทําชอ
ั อยากทราบว่าข ้อใดผิด
ภายนอกได ้ทุกชน
1 : ระบบอัดความดันมีหน ้าทีในการสร ้างความดันให ้สูงเพียงพอในการป้ องกันควันรัวเข ้าภายในบันได
2 : ระบบอัดความดันมีหน ้าทีทําให ้บันไดหนีไฟมีสภาพทีเหมาะสมสําหรับพนักงานดับเพลิงในการทํางาน
3 : ระบบอัดความดันมีหน ้าทีเติมออกซเิ จนให ้กับอาคาร
4 : ระบบอัดความดันต ้องไม่สร ้างความดันสูงเกินไปจนทําให ้ประตูเปิ ดได ้ยาก

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 183 :
ความต ้องการสําหรับความปลอดภัยในชวี ต ิ จากอัคคีภย
ิ และทรัพย์สน ั ตามมาตรฐานระบบปรับอากาศและระบาย
อากาศ ของสมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ มีวต ั ถุประสงค์ดงั ต่อไปนี ยกเว ้นข ้อใด
่ าคารจากภายนอก
1 : จํากัดการกระจายของควันผ่านระบบท่อลมภายในอาคาร หรือเข ้าสูอ
2 : จํากัดการกระจายของไฟผ่านระบบท่อลมจากพืนทีทีเกิดเพลิงไหม ้ ไม่วา่ จะอยูภ
่ ายในหรือภายนอกอาคาร

3 : ป้ องกันการใชระบบท่
อลมภายในอาคารระบายควันไฟในกรณีทเกิ ี ดเพลิงไหม ้

4 : คงไว ้ซงความสามารถในการป้ องกันไฟของอาคารและสว่ นประกอบเชน ่ พืน ผนัง หลังคา ทีมีการติดตัง
ระบบท่อลม

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 184 :
ท่อลมเพือความปลอดภัยในชวี ต ิ จากอัคคีภย
ิ และทรัพย์สน ั ตามมาตรฐานระบบปรับอากาศและระบายอากาศ ของ
สมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ ต ้องเป็ นไปตามข ้อกําหนดดังนี ยกเว ้นข ้อใด
1 : ต ้องสร ้างขึนจากวัสดุทไม่
ี ตดิ ไฟและไม่เป็ นสว่ นทีทําให ้เกิดควันเมือเกิดเพลิงไหม ้
2 : ท่อลมต ้องสร ้างขึนด ้วยวัสดุทเสริ ้
ี มความแข็งแรงและป้ องกันการรัวเพือให ้เป็ นไปตามความต ้องการใชงาน
3 : วัสดุทใช
ี สร้ ้างท่อลมต ้องเหมาะสมกับการสม ั ผัสอย่างต่อเนืองกับอุณหภูมแ ื
ิ ละความชนของอากาศที
อยูใ่ น
ท่อลม
้ อลมกับอากาศทีมีอณ
4 : ไม่ใชท่ ุ หภูมสิ งู กว่า 120 องศาเซลเซย ี ส

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 185 :
ข ้อความใดถูกต ้อง
1 : วัสดุหุ ้มท่อลมและวัสดุบภุ ายในท่อลมต ้องทําจากวัสดุทไม่
ี ตดิ ไฟ เมือเกิดเพลิงไหม ้จะมีแต่ควันเท่านัน
2 : ท่อลมสว่ นทีติดตังผ่านผนังกันไฟต ้องติดตังลินกันไฟทีสามารถปิ ดได ้สนิทโดยอัตโนมัตเิ มือเกิดอุณหภูมส ิ งู
3 : ลินกันไฟทีใชป้้ องกันชอ่ งเปิ ดบนผนังหรือพืนทีทนไฟตังแต่ 3 ชวโมงขึ
ั นไปต ้องมีอต
ั ราการทนไฟไม่น ้อย

กว่า 2 ชวโมง
4 : สารทําความเย็นทีนํ ามาใชต้ ้องไม่เป็ นพิษต่อคน และต ้องมีคณุ สมบัตไิ ม่ลามไฟ

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 186 :
วิธก ้
ี ารใดต่อไปนีทีไม่ใชในการระบายควั

1 : Pressurization
2 : De-pressurization
3 : Ventilation
4 : Uncontainment

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 187 :
พัดลมชนิดใดทีเหมาะสมสําหรับนํ ามาใชในการระบายควั
้ นไฟออกจากอาคาร
1 : พัดลมหอยโข่งแบบมีสายพานขับ
2 : พัดลมชนิดไหลตามแกน
3 : พัดลมแบบใบพัด (Propeller fan)
4 : พัดลมหอยโข่งชนิดขับตรง

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 188 :
ข ้อใดทีไม่ใชว่ ต
ั ถุประสงค์ของการมีระบบระบายหรือควบคุมควัน ในอาคาร
1 : เพือป้ องกันชวี ต
ิ ของคนในอาคาร
2 : เพือชว่ ยพนักงานดับเพลิงในการต่อสูกั้ บไฟ
3 : เพือป้ องกันโครงสร ้างของอาคาร
4 : เพือรักษาทรัพย์สน ิ ในตัวอาคารให ้มีความเสย
ี หายน ้อยทีสุด

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 189 :

ท่อลมทีใชในระบบควบคุ ั
มและระบายควันควรจะมีความสามารถทนไฟได ้นานอย่างน ้อยกีชวโมง
1 : 4 ั
ชวโมง
2 : 1 ั
ชวโมง
3 : 2 ชวโมงั
4 : 3 ชวโมง ั

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 190 :

บันไดอัดความดันเพือป้ องกันควันไฟเข ้าภายในบันไดเมือเกิดเหตุเพลิงไหม ้ ต ้องมีความดันขณะใชงานอย่
างน ้อย
เท่าใด
1 : 5 Pa
2 : 20 Pa
3 : 40 Pa
4 : 100 Pa

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 191 :
ข ้อความใดผิด
1 : ลินกันไฟ ต ้องทํางานโดยอัตโนมัตเิ มือมีอณ ี ส
ุ หภูม ิ 74 องศาเซลเซย
2 : ลินกันไฟ ต ้องติดตังให ้สามารถเข ้าไปตรวจสอบและบํารุงรักษาได ้
3 : ในท่อลมระบายควันจากห ้องครัว (Kitchen Exhaust) ต ้องติดลินกันไฟทุกๆระยะ 30 เมตร
4 : ท่อลมทีผ่านผนังกันไฟ ต ้องติดตังลินกันไฟ

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 192 :
กฎกระทรวงฉบับที 33 ออกตามความใน พ.ร.บ. ควบคุมอาคาร มีข ้อกําหนดให ้การออกแบบระบบปรับอากาศและ
ระบายอากาศในอาคารสูงและอาคารขนาดใหญ่พเิ ศษต ้องปฏิบต
ั ต
ิ าม อยากทราบว่า อาคารสูงหมายถึงอาคารทีสูง
ตังแต่กเมตรขึ
ี นไป และอาคารขนาดใหญ่พเิ ศษหมายถึงอาคารทีมีขนาดพืนทีตังแต่กตารางเมตรขึ
ี นไป
1 : 15 เมตร, 2,000 ตารางเมตร
2 : 23 เมตร, 2,000 ตารางเมตร
3 : 15 เมตร, 10,000 ตารางเมตร
4 : 23 เมตร, 10,000 ตารางเมตร

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 193 :
ตามกฎกระทรวงฉบับที 33 ออกตามความใน พ.ร.บ. ควบคุมอาคาร ท่อลมทีผ่านผนังทนไฟ ต ้องออกแบบให ้มี
ลักษณะอย่างไร
1 : ต ้องติดตังลินกันไฟทีมีอต ั
ั ราการทนไฟไม่น ้อยกว่า 1 ชวโมง 30 นาที
2 : ต ้องหุ ้มด ้วยฉนวนหนาไม่น ้อยกว่า 50 มิลลิเมตร
3 : วัสดุทอ่ ลมต ้องทําจากแผ่นเหล็กดําหนาไม่น ้อยกว่า 2 มิลลิเมตร
4 : ต ้องติดตังลินกันควัน

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 194 :
ตามกฎกระทรวงฉบับที 33 ออกตามความใน พ.ร.บ. ควบคุมอาคาร บันไดหนีไฟต ้องออกแบบเพือป้ องกันควันไฟ
ขัดขวางการอพยพหนีไฟ การออกแบบในข ้อใดเป็ นไปตามข ้อกําหนดในกฎกระทรวงดังกล่าว
่ งระบายอากาศเปิ ดสูภ
1 : จัดให ้มีชอ ่ ายนอกได ้ มีพนที
ื รวมอย่างน ้อย 1 ตารางเมตรต่อชน ั
2 : ออกแบบให ้มีระบบอัดลมในชอ ่ งบันไดทีมีความดันลมในขณะใชงานไม่้ น ้อยกว่า 40 ปาสกาล
3 : ออกแบบให ้มีระบบระบายควันออกจากชอ ่ งบันได โดยมีอต ั ราการระบายควันไม่น ้อยกว่า 6 เท่าของปริมาตร

ห ้องต่อชวโมง
4 : ออกแบบให ้บันไดมีระบบกรองอากาศทีมีประสท ิ ธิภาพไม่น ้อยกว่า 80%

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 195 :
มาตรฐานระบบปรับอากาศและระบายอากาศ ว.ส.ท. กําหนดให ้ท่อลมระบายอากาศจากครอบดูดลม (Hood) ใน
ห ้องครัวต ้องใชวั้ สดุใด
1 : แผ่นเหล็กอาบสงั กะสหี นา 2 มิลลิเมตร
2 : ั
แผ่นยิบซมบอร์ ดหนา 9 มิลลิเมตร
3 : แผ่นไม ้อัดหนา 4 มิลลิเมตร
4 : แผ่นเหล็กดําหนา 2 มิลลิเมตร

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 196 :
มาตรฐานระบบปรับอากาศและระบายอากาศ ว.ส.ท. ห ้ามใชทางเดิ ้ ่ งบันได ชอ
นร่วม บันได ชอ ่ งลิฟท์ของอาคาร
เป็ นสว่ นหนึงของระบบท่อลมสง่ หรือระบบท่อลมกลับ มีวต
ั ถุประสงค์เพืออะไร
1 : ้
เพือป้ องกันไม่ให ้ควันไฟแพร่กระจายในเสนทางที ้
ต ้องใชในการอพยพหนี
ไฟ ในกรณีเกิดเหตุเพลิงไหม ้
2 : เพือป้ องกันความเย็นรัวไหล
3 : ี งดังรบกวนไปทัวทังอาคาร
เพือป้ องกันเสย
4 : ื
เพือป้ องกันไม่ให ้ความชนเปลี ยนแปลงอย่างรวดเร็ว

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 197 :
ั านทางระบบท่อ
มาตรฐานระบบปรับอากาศและระบายอากาศ ว.ส.ท. มีข ้อกําหนดเพือป้ องกันไฟลามระหว่างชนผ่
ลม อยากทราบว่าข ้อใดออกแบบได ้ตามมาตรฐาน

1 : ท่อลมแนวดิงทะลุผา่ นจากชน ั 3 ติดตังลินกันไฟในตําแหน่งทีท่อลมทะลุผา่ นพืนของอาคาร
1 ถึงชน
2 : ท่อลมแนวดิงทะลุผา่ นจากชน ั 1 ถึงชนั 3 ก่อผนังทีมีอต ั
ั ราการทนไฟ 2 ชวโมงล ้อมรอบท่อลมทีทะลุผา่ นพืน
ของอาคารตลอดแนว
3 : ท่อลมแนวดิงทะลุผา่ นจากชน ั ั 3 หุ ้มฉนวนใยแก ้วหนา 50 มิลลิเมตร
1 ถึงชน
4 : ท่อลมแนวดิงทะลุผา่ นจากชน ั 1 ถึงชนั 3 ทาสก ี น
ั ไฟ

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 198 :
Fire Damper มีหน ้าทีอะไร
1 : ปรับปริมาณลมในท่อลมระบายควันไฟ
2 : ป้ องกันไฟลามในท่อลมระบายควันจากห ้องครัว
3 : ป้ องกันไฟลาม
4 : ป้ องกันควันไฟลาม

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 199 :
Smoke Damper มีหน ้าทีอะไร
1 : ควบคุมปริมาณลมในการระบายควันไฟ
2 : ป้ องกันควันไฟลาม
3 : ป้ องกันควันไฟจากท่อลมระบายควันจากห ้องครัว
4 : ถูกทุกข ้อ

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 200 :
สําหรับผนังทนไฟทีมีอต ั
ั ราการทนไฟไม่เกิน 3 ชวโมง ลินกันไฟจะต ้องมีอต
ั ราการทนไฟเป็ นเท่าใด ตามมาตรฐาน
UL555
1 : 1 ั
ชวโมง 30 นาที
2 : 2 ั
ชวโมง
3 : 2 ชวโมงั 30 นาที
4 : 3 ชวโมง ั

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 201 :
มาตรฐาน ว.ส.ท. กําหนดให ้ท่อลมทีมีขนาดปริมาณลมเกินกว่าเท่าใด ต ้องติดตัง Smoke damper
1 : 750 L/s
2 : 1000 L/s
3 : 1500 L/s
4 : 2000 L/s

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 202 :
ท่อลมระบายควันไฟมีข ้อกําหนดในเรืองฉนวนหุ ้มท่อลมอย่างไร
1 : ้
ไม่ต ้องหุ ้มฉนวน เพราะใชในการระบายควั นไฟเท่านัน
2 : ่
หุ ้มด ้วยฉนวนใยแก ้วเหมือนท่อสงลมเย็น
3 : หุ ้มด ้วยฉนวนแอสเบสตอส
4 : ี ส
หุ ้มด ้วยฉนวนทีสามารถทนอุณหภูมไิ ด ้ถึง 540 องศาเซลเซย

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 203 :
พัดลมอัดอากาศในบันไดหนีไฟจะต ้องมีขนาดอย่างตําเท่าใด
1 : 5000 L/s
2 : 6000 L/s
3 : 7000 L/s
4 : 7100 L/s

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 204 :
ระบบการควบคุมควันในลานกลางอาคาร (Atrium) ต ้องมีระบบการเติมอากาศประกอบด ้วยหรือไม่
1 : ไม่ต ้อง เพราะลมจะถูกดูดเข ้ามาเอง
2 : ไม่ต ้อง เพราะการเติมอากาศจะทําให ้ไฟลุกมากขึน
3 : ต ้อง เพือทดแทนอากาศทีถูกดูดออกไปและเพือมีอากาศเข ้ามาเจือจางควันไฟ
4 : ต ้อง เพือให ้สภาพอาคารมีความดันเป็ นบวก

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 205 :
ข ้อใดถือเป็ นบันไดหนีไฟทีดี มากทีสุด
1 : ประตูหนีไฟทีเปิ ดตลอดเวลา
2 : บันไดหนีไฟทีมีพัดลมอัดอากาศเข ้าบันไดหนีไฟ
3 : บันไดหนีไฟทีมีสปริงเกลอร์ดบ
ั เพลิงในบันไดหนีไฟ
4 : บันไดหนีไฟทีมีพัดลมดูดควันออกจากบันไดหนีไฟ

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 206 :
อุปกรณ์ตรวจจับเพลิงไหม ้ชนิดใดควรใชกั้ บห ้องนอน มากทีสุด
1 : อุปกรณ์ตรวจจับควัน
2 : อุปกรณ์ตรวจจับความร ้อน
3 : อุปกรณ์ตรวจจับเปลวเพลิง
4 : อุปกรณ์ตรวจจับคาร์บอนไดออกไซด์

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 207 :
สําหรับการอัดอากาศเข ้าบันไดหนีไฟ ควรรักษาความดันคร่อมประตูหนีไฟเท่าใด ถ ้าแรงมากสุดทีคนจะสามารถ
เปิ ดประตูหนีไฟได ้อยูท
่ ี 130 นิวตัน และประตูหนีไฟกว ้าง 1 เมตร สูง 2 เมตร
1 : ไม่น ้อยกว่า 65 ปาสกาล แต่ไม่เกิน 90 ปาสกาล
2 : เท่ากับ 65 ปาสกาล
3 : ไม่น ้อยกว่า 38 ปาสกาล แต่ไม่เกิน 65 ปาสกาล
4 : ข ้อมูลไม่เพียงพอ

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

เนือหาวิชา : 396 : Indoor Air Quality

ข ้อที 208 :
ข ้อใดไม่ใชว่ ต
ั ถุประสงค์ของการเติมอากาศจากภายนอกเข ้ามาผสมกับอากาศภายในอาคาร
1 : เพือเจือจางกลินทีเกิดขึนภายในอาคาร
2 : เพือเจือจางก๊าซทีเกิดขึนจากคน
3 : เพือเจือจางก๊าซทีเกิดจากวัสดุกอ
่ สร ้าง
4 : เพือเพิมอิออนลบภายในอาคาร

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 209 :

ข ้อใดผิดหลักการป้ องกันสงปนเปื อนในอากาศ ตามมาตรฐานระบบปรับอากาศและระบายอากาศ ของสมาคม
วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์
1 : มีการกรองอากาศทีหมุนเวียนในระบบปรับอากาศ
2 : มีการจัดตําแหน่งของแผงกรองอากาศให ้กรองอากาศหลังผ่านคอยล์ทําความเย็น ในกรณีทมี ี แผงกรอง
อากาศหลายชน ั ต ้องจัดให ้มีแผงกรองอากาศอย่างน ้อยหนึงชนกรองอากาศหลั
ั งจากผ่านคอยล์ทําความเย็น
3 : มีการเติมอากาศจากภายนอก โดยวิธก ี ารเติมอากาศเข ้ามาจากภายนอกหรือการระบายอากาศจากภายในทิง
4 : มีการเติมอากาศจากภายนอกในอัตราไม่น ้อยกว่าทีกําหนดใน มาตรฐานการระบายอากาศเพือคุณภาพ
อากาศภายในอาคารทียอมรับได ้ ของสมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 210 :
การระบายอากาศสําหรับทีจอดรถภายในอาคารด ้วยวิธก
ี ล ตามมาตรฐานระบบปรับอากาศและระบายอากาศ ของ
สมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ มีข ้อกําหนดดังนี ยกเว ้นข ้อใด
1 : จัดให ้มีกลอุปกรณ์ขบ ั เคลือนอากาศ ซงต ึ ้องทํางานตลอดเวลาทีใชสอยที
้ จอดรถนัน เพือให ้เกิดการนํ า
อากาศภายนอกเข ้ามาด ้วยอัตราไม่น ้อยกว่า 7.5 ลิตรต่อวินาที ต่อตารางเมตร
2 : พืนทีชอ ่ งเปิ ดสูภ
่ ายนอกต ้องไม่น ้อยกว่าร ้อยละ 20 ของพืนทีผนังด ้านนันๆ และพืนทีชอ่ งเปิ ดรวมทังหมด
ต ้องไม่น ้อยกว่าร ้อยละ 10 ของพืนทีอาคารทีจอดรถ
3 : ต ้องออกแบบชอ ่ งทางลมเข ้าให ้นํ าอากาศเข ้ามาจากบริเวณทีไม่มส
ี ารหรือก๊าซอันตราย

4 : ห ้ามใชทางวิ งของรถเป็ นชอ ่ งทางลมเข ้าหลัก

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 211 :
ี จากบริเวณสูบบุหรี
ตามข ้อกําหนดมาตรฐานการระบายอากาศของ ASHRAE อากาศเสย
1 : ้
สามารถหมุนเวียนนํ ากลับมาใชใหม่ ได ้หากผ่านการกรองอากาศเรียบร ้อยแล ้ว
2 : ้
ไม่สามารถหมุนเวียนนํ ากลับมาใชใหม่ได ้
3 : ไม่อนุญาตให ้มีการระบายอากาศในบริเวณสูบบุหรี
4 : มีการกําหนดอัตราการระบายอากาศในบริเวณสูบบุหรีทีชด ั เจน

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 212 :
ในการระบายอากาศโดยคํานึงถึงคุณภาพอากาศภายในอาคาร ข ้อใดมีสว่ นถูกต ้องมากทีสุด
1 : ชอ่ งระบายอากาศเสย ี ควรอยูด
่ ้านใต ้ลมของอาคาร และชอ่ งนํ าอากาศเข ้าควรอยูเ่ หนือลมของอาคาร
2 : ห ้องนํ าในอาคารควรจะอยูใ่ นด ้านทีมีแสงแดดสอ่ งตลอดเวลาเพือมิให ้เกิดกลินอับชน ื
3 : กําหนดบริเวณใดบริเวณหนึงในอาคารให ้เป็ นเขตสูบบุหรี
4 : ้
ใชฉนวนใยแก ้วในระบบท่อลมปรับอากาศ

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 213 :
สํานักงานแห่งหนึงมีพนที
ื 1,000 ตารางเมตร มีความหนาแน่นของพนักงาน 10 ตารางเมตรต่อคน อยากทราบว่า
ระบบปรับอากาศของสํานักงานนีต ้องมีการเติมอากาศจากภายนอกอย่างน ้อยเท่าใด
1 : 10 ลิตรต่อวินาที
2 : 100 ลิตรต่อวินาที
3 : 1,000 ลิตรต่อวินาที
4 : 10,000 ลิตรต่อวินาที

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 214 :
ข ้อใดคือหลักในการควบคุมคุณภาพอากาศในอาคาร
1 : การเจือจาง (Dilution)
2 : ิ
การกรองสงสกปรกออกจากอากาศ (Filtration)
3 : ถูกทังข ้อ 1 และ 2
4 : ผิดทุกข ้อ

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 215 :
HEPA Filter คืออะไร
1 : แผงกรองอากาศทีมีความสามารถในการกรองอนุภาคขนาด 0.3 Micron ได ้ไม่ตํากว่า 99.97%
2 : เครืองฟอกอากาศทีกําจัดไวรัสและแบคทีเรียได ้
3 : แผงกรองอากาศทีมีความสามารถในการกรอง 80% Arrestance ขึนไป
4 : แผงกรองอากาศใยสงั เคราะห์มคี วามสามารถในการกรอง 60 % Efficiency Dust Spot Test ขึนไป

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 216 :
สําหรับระบบปรับอากาศสําหรับห ้องผ่าตัด ข ้อใดผิด
1 : ติดตังแผงกรองอากาศชนิด HEPA
2 : ั
มีลมจ่าย 10 เท่าของปริมาตรห ้องต่อชวโมง
3 : ั
มีอากาศเติมจากภายนอก (Outdoor Air) 5 เท่าของปริมาตรห ้องต่อชวโมง
4 : มีความดันเป็ นบวก

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 217 :
สําหรับระบบปรับอากาศของห ้องทีใชส้ ําหรับแยกผู ้ป่ วยทีเป็ นโรคติดต่อทีแพร่เชอทางอากาศได
ื ้ ข ้อใดผิด
1 : มีการเติมอากาศจากภายนอก (Outdoor Air) มากกว่าระบายอากาศทิงอย่างน ้อย 15%
2 : ไม่ตอ
่ ท่อลมระบายอากาศทิงกับท่อลมอืนๆ
3 : ติดตังแผงกรองอากาศชนิด HEPA กรองอากาศทีหมุนเวียนภายในห ้อง
4 : ั
มีลมจ่าย 15 เท่าของปริมาตรห ้องต่อชวโมง

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 218 :
ห ้องปรับอากาศโดยทัวไป ควรจะอยูใ่ นสภาพทีเป็ น Infiltration หรือ Exfiltration
1 : ห ้องปรับอากาศโดยทัวไปอยูใ่ นสภาพเป็ นกลาง
2 : Infiltration
3 : Exfiltration
4 : แล ้วแต่สถานการณ์

คําตอบทีถูกต ้อง : 3
ข ้อที 219 :
ห ้องสะอาด หรือ Clean Room Class 10K หรือ Class 10000 หมายถึงอะไร
1 : หมายถึงห ้องทีเมือทําการวัดด ้วยเครืองตรวจจับอนุภาคขนาด 0.05 micron จะมีปริมาณอนุภาคน ้อยกว่า
10000 อนุภาคต่อปริมาตร 1 cuft
2 : หมายถึงห ้องทีเมือทําการวัดด ้วยเครืองตรวจจับอนุภาคขนาด 0.5 micron จะมีปริมาณอนุภาคน ้อยกว่า
10000 อนุภาคต่อปริมาตร 1 cuft
3 : หมายถึงห ้องทีเมือทําการวัดด ้วยเครืองตรวจจับอนุภาคขนาด 0.03 micron จะมีปริมาณอนุภาคน ้อยกว่า
10000 อนุภาคต่อปริมาตร 1 cuft
4 : หมายถึงห ้องทีเมือทําการวัดด ้วยเครืองตรวจจับอนุภาคขนาด 0.3 micron จะมีปริมาณอนุภาคน ้อยกว่า
10000 อนุภาคต่อปริมาตร 1 cuft

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 220 :
การติดตังระบบปรับอากาศแบบ Split Type หรือ VRV จะมีวธิ ก
ี ารเติมอากาศบริสท
ุ ธิเพือให ้เป็ นไปตามมาตรฐาน
วสท ได ้อย่างไร
1 : ไม่จําเป็ น เพราะในทางปฏิบต ั ทิ ผ่
ี านมาเป็ นทียอมรับว่าไม่ต ้องมีการเติมอากาศบริสท
ุ ธิ
2 : ไม่จําเป็ น เพราะเครืองปรับอากาศในปั จจุบน ั มีเครืองฟอกอากาศและสามารถผลิตอากาศบริสท ุ ธิในตัว
3 : จัดให ้มีระบบระบายอากาศ เชน ่ การติดตังพัดลมระบายอากาศ
4 : จัดให ้มีระบบการเติมอากาศบริสท ุ ธิเข ้าไปทีทางลมกลับของเครืองสง่ ลมเย็น หรือ ให ้มีระบบ Fresh Air
Supply ผ่าน Fresh Air Unit

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 221 :
เครืองปรับอากาศแบบ Split Type ทัวไป สามารถใชกั้ บห ้องผ่าตัดได ้หรือไม่
1 : ได ้ เพราะเป็ นทียอมรับในโรงพยาบาลสว่ นใหญ่ในปั จจุบน

2 : ได ้ หากใชรุ้ น
่ ทีมีเครืองฟอกอากาศ Plasma หรือ Nano
3 : ไม่ได ้ เพราะมีประสท ิ ธิภาพในการกรองอากาศตํากว่ามาตรฐาน
4 : ไม่ได ้ เพราะมีประสท ิ ธิภาพในการกรองอากาศและการเติมอากาศบริสท
ุ ธิทีตํากว่ามาตรฐาน

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 222 :

เครืองฟอกอากาศทีขายโดยทัวไป เหมาะกับการใชงานในลั
กษณะใด
1 : ห ้องผ่าตัด
2 : ห ้องปลอดเชอื
3 : ห ้องประชุม
4 : ห ้องนอน

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 223 :

พัดลมนํ า เหมาะกับการใชงานในลั
กษณะใด
1 : ทีอยูอ ั
่ าศย
2 : ห ้องอาหาร
3 : โรงงานอาหาร
4 : ลานภายนอก
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 224 :
ข ้อควรระวังทีสําคัญเป็ นอย่างยิงในการติดตัง Cooling Tower และพัดลมนํ าคือ
1 : ละอองนํ า
2 : การกินนํ า
3 : ปั ญหาโรคทีเกียวกับระบบทางเดินหายใจ
4 : เสยี ง

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 225 :
เหตุใดจึงไม่ควรให ้ห ้องปรับอากาศมีความดันอากาศเป็ นลบ
1 : ทําให ้ฝุ่ นเข ้ามามาก
2 : ทําให ้ความชนเข ื ้ามามาก
3 : ยากต่อการควบคุมสภาวะอากาศ
4 : ถูกทุกข ้อ

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 226 :
สภาวะใด มีความสบายเชงิ ความร ้อน (Thermal Comfort) มากทีสุด
1 : 22 CDB/60%RH ความเร็วลม 0.2 m/s
2 : 24 CDB/60%RH ความเร็วลม 0.1 m/s
3 : 25 CDB/55%RH ความเร็วลม 0.2 m/s
4 : 22 CDB/17 CWB ความเร็วลม 0.1 m/s

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 227 :
การออกแบบระบบปรับอากาศและระบายอากาศในอาคารขนาดใหญ่ทวไป
ั ควรจะต ้อง
1: มีการนํ าอากาศบริสท
ุ ธิเข ้ามาภายในอาคารมากกว่าทีดูดอากาศเสย ี ออกจากอาคาร
2: มีการนํ าอากาศบริสทุ ธิเข ้ามาภายในอาคารน ้อยกว่าทีดูดอากาศเสย ี ออกจากอาคาร
3: มีการนํ าอากาศบริสท ุ ธิเข ้ามาภายในอาคารเท่ากับทีดูดอากาศเสย ี ออกจากอาคาร
4: มีการนํ าอากาศบริสท ุ ธิเข ้ามาภายในอาคารมากกว่าหรือน ้อยกว่าทีดูดอากาศเสยี ออกจากอาคาร ไม่แตกต่าง
กัน

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 228 :
ข ้อใดไม่ใชป่ ั จจัยทีบ่งบอกการปรับสภาวะเพือความสบายของคน
1 : อุณหภูมก ิ ระเปาะแห ้งของอากาศ
2 : อุณหภูมก ิ ระเปาะเปี ยกของอากาศ
3 : ความเร็วของอากาศ
4 : ไม่มข
ี ้อใดถูก

คําตอบทีถูกต ้อง : 4
เนือหาวิชา : 397 : Energy Efficiency

ข ้อที 229 :
ิ ธิภาพการใชความเย็
เครืองปรับอากาศเครืองหนึงทีได ้ฉลากประหยัดไฟเบอร์ 5 มีคา่ ประสท ้ น (EER) เท่ากับ 11
อยากทราบว่าถ ้าเครืองปรับอากาศนีมีขนาดทําความเย็น 12,000 บีทย ั ้
ี /ู ชวโมง จะใชกําลังไฟฟ้ าเท่าใด
1 : 320 วัตต์
2 : 917 วัตต์
3 : 1,091 วัตต์
4 : 1,320 วัตต์

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 230 :
ี ว่ นชว่ ยในการประหยัดพลังงานของระบบปรับอากาศ
ข ้อใดไม่มส
1 : ้ องปรับอากาศทีมีประสท
ใชเครื ิ ธิภาพสูง
2 : ใชอุปกรณ์ปรับลดความเร็วรอบของพัดลมเมือต ้องการอัตราการสง่ ลมน ้อยลง

3 : ป้ องกันลมรัวผ่านกรอบประตูและหน ้าต่าง
4 : การนํ าตู ้เย็นมาไว ้ในห ้องปรับอากาศ

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 231 :
ี พลังงานจากการรัวของระบบท่อลม ตามมาตรฐานระบบปรับอากาศและ
การทดสอบการรัว เพือลดการสูญเสย
ระบายอากาศ ของสมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ มีแนวทางในการปฏิบตั ด
ิ งั นี
ยกเว ้นข ้อใด
ึ างานทีความดันสถิตย์สงู กว่า 750 ปาสคาล ต ้องทําการทดสอบการรัว ด ้วยวิธก
1 : ท่อลมซงทํ ี ารทีเป็ นทียอมรับ
โดยการทดสอบต ้องทดสอบกับสว่ นของท่อลมมีพนที ื อย่างน ้อย 25% ของพืนทีท่อลมทังหมด
ึ พก
2 : ท่อลมซงมี ิ ด ้
ั ความดันใชงานเกิ น 750 ปาสคาลต ้องแสดงในแบบให ้เห็นชด ั เจน
3 : อัตราการรัวสูงสุดทียอมรับได ้ต ้องไม่เกินค่าทีคํานวณจากสมการหรือจากตารางทีกําหนดในมาตรฐาน
4 : การทดสอบท่อลมจะทําหลังจากทีได ้ติดตังหุ ้มฉนวนเรียบร ้อยแล ้ว

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 232 :

ข ้อแนะนํ าในการประหยัดพลังงานในการใชระบบปรั บอากาศและระบายอากาศ ตามมาตรฐานระบบปรับอากาศและ
ระบายอากาศ ของสมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ มีดงั นี ยกเว ้นข ้อใด
1 : ติดตังระบบควบคุมลินปรับลมสําหรับเติมอากาศจากภายนอก
2 : ้ องปรับอากาศทีมีประสท
ใชเครื ิ ธิภาพไม่ตํากว่าค่าทีแนะนํ า
3 : ปิ ดเครืองปรับอากาศขณะพักกลางวันเป็ นเวลาหนึงชวโมงั หรือ ทุกครังทีไม่ใชห้ ้องทํางาน
4 : ้
ใชฉนวนทีมีคา่ ความต ้านความร ้อนไม่น ้อยกว่าค่าทีแนะนํ า

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 233 :
่ ารใชงานอุ
วิธใี ดทีไม่ใชก ้ ิ ธิภาพ
ปกรณ์ในระบบปรับอากาศอย่างมีประสท
1 : ควบคุมความดันทางด ้านคอนเดนเซอร์ให ้ตําทีสุด
2 : ควบคุมความดันทางด ้านอีแวปปอเรเตอร์ให ้ตําทีสุด
3 : ้ มาณลมกลับและปริมาณลมบริสท
ใชปริ ุ ธิให ้เหมาะสม
4 : เดินเครืองทํานํ าเย็นตามลําดับของภาระทีเกิดขึน
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 234 :
การทยอยเพิมภาระ (Soft loading) ให ้กับเครืองทํานํ าเย็น สามารถชว่ ยการประหยัดพลังงานในแง่ใด
1 : ทําให ้เครืองทํานํ าเย็นไม่เกิดการสกึ หรอเร็วซงจะทํ
ึ ิ ธิภาพการทํางาน
าให ้ลดประสท
2 : ึ
ลดความต ้องการพลังงานสูงสุดในระบบ ซงอาจเกิดขึนขณะเริมเดินเครืองทํานํ าเย็น
3 : ชว่ ยให ้มอเตอร์ของคอมเพรสเซอร์กน ิ กระแสไฟน ้อยลง
4 : อุณหภูมน ึ
ิ ํ าเย็นจะไม่ลดตําลงอย่างรวดเร็ว ซงจะเป็ นอันตรายต่อเครืองทํานํ าเย็น

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 235 :
ิ ํ าเย็นให ้สูงขึนจึงสง่ ผลให ้เกิดการประหยัดพลังงาน
ทําไมการเพิมอุณหภูมน
1 : สารทําความเย็นมีอณ
ุ หภูมล ิ ดลงโดยอัตโนมัต ิ เครืองจึงทํางานลดลง
2 : ความดันของสารทําความเย็นทางด ้านเครืองระเหย (Evaporator) ลดลง เครืองต ้องการพลังงานในการอัด
ลดลงด ้วย
3 : ความดันของสารทําความเย็นทางด ้านเครืองระเหย (Evaporator) เพิมขึน เครืองต ้องการพลังงานในการอัด
ลดลงด ้วย
4 : สารทําความเย็นรับความร ้อนได ้น ้อยลง เครืองจึงทํางานน ้อยลง

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 236 :
วิธกี ารควบคุมความดันทางด ้านคอนเดนเซอร์ให ้ตําลงเพือการประหยัดพลังงานกระทําได ้โดยวิธใี ด
1 : ้ มาณสารทําความเย็นน ้อยเท่าทีต ้องการ
ใชปริ
2 : ลดอุณหภูมน ิ ํ าระบายความร ้อนลง
3 : เพิมอุณหภูมน ิ ํ าเย็นให ้สูงขึน
4 : ั
เดินท่อนํ ายาให ้สนเท่ าทีจะทําได ้

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 237 :
เครืองทํานํ าเย็นแบบหอยโข่งแบบระบายความร ้อนด ้วยนํ า ขนาดการทําความเย็น 1,000 ตันความเย็น ต ้องมีคา่
กิโลวัตต์ตอ่ ตันความเย็นไม่เกินเท่าใดเพือให ้ผ่านเกณฑ์ตามทีกําหนดใน พ.ร.บ.การสง่ เสริมการอนุรักษ์ พลังงาน
1 : 0.7 กิโลวัตต์ตอ
่ ตันความเย็น
2 : 0.8 กิโลวัตต์ตอ่ ตันความเย็น
3 : 0.9 กิโลวัตต์ตอ ่ ตันความเย็น
4 : ไม่มข
ี ้อใดถูก

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 238 :
ค่าการถ่ายโอนความร ้อนรวบยอด (OTTV) และค่าการถ่ายโอนความร ้อนของหลังคา (RTTV) ขันตําสําหรับอาคาร
สร ้างใหม่ต ้องไม่เกินเท่าใด
1 : OTTV = 45 และ RTTV= 25 วัตต์ตอ
่ ตารางเมตร
2 : OTTV = 25 และ RTTV= 45 วัตต์ตอ่ ตารางเมตร
3 : OTTV = 30 และ RTTV= 20 วัตต์ตอ ่ ตารางเมตร
4 : OTTV = 20 และ RTTV= 30 วัตต์ตอ ่ ตารางเมตร
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 239 :
ิ ธิภาพการให ้ความเย็น (EER) ไม่น ้อยกว่าเท่าใด
เครืองปรับอากาศทีได ้รับฉลากประหยัดไฟเบอร์ 5 ต ้องมีประสท
1 : 7.6
2 : 8.6
3 : 9.6
4 : 10.6

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 240 :
อาคารใด เข ้าข่ายเป็ นอาคารควบคุม ตาม พ.ร.บ. การสง่ เสริมการอนุรักษ์ พลังงาน
1 : อาคารทีมีพนที
ื ขนาด 10,000 ตารางเมตรขึนไป
2 : อาคารทีติดตังหม ้อแปลงขนาด 1,175 kVA ขึนไป
3 : อาคารทีติดเครืองปรับอากาศรวม 500 ตันขึนไป
4 : ้
อาคารทีเปิ ดใชงานหลังเดือนธันวาคม พ.ศ. 2538

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 241 :
ตาม พ.ร.บ. การสง่ เสริมการอนุรักษ์ พลังงาน มีการออกกฎกระทรวง บัญญัตใิ ห ้อาคารควบคุมต ้องติดตังเครืองปรับ
อากาศทีมีมาตรฐานประสท ิ ธิภาพพลังงานตามทีกําหนดไว ้ ข ้อใดต่อไปนีปฏิบต
ั ไิ ด ้อย่างถูกต ้อง
1 : ติดตังเครืองทํานํ าเย็นแบบเกลียว ระบายความร ้อนด ้วยนํ า (Water- Cooled Screw Chiller) ขนาด 150 ตัน
ความเย็น กินไฟ 0.75 กิโลวัตต์ตอ ่ ตันความเย็น
2 : ติดตังเครืองทํานํ าเย็นแบบหอยโข่ง ระบายความร ้อนด ้วยนํ า (Water-Cooled Centrifugal Chiller) ขนาด
300 ตันความเย็น กินไฟ 0.75 กิโลวัตต์ตอ ่ ตันความเย็น
3 : ติดตังเครืองทํานํ าเย็นแบบลูกสูบ ระบายความร ้อนด ้วยอากาศ (Air-Cooled Reciprocating Chiller) ขนาด
100 ตันความเย็น กินไฟ 1.20 กิโลวัตต์ตอ ่ ตันความเย็น
4 : ติดตังเครืองปรับอากาศแยกสว่ น ระบายความด ้วยอากาศ (Air-Cooled Split Type Air-Conditioner) ขนาด
2 ตันความเย็น กินไฟ 1.50 กิโลวัตต์ตอ ่ ตันความเย็น

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 242 :
การสง่ ผ่านความร ้อนในรูปแบบของการแผ่รังส ี ใชวิ้ ธใี ด
1 : การสะท ้อนความร ้อน
2 : การสง่ ถ่ายมวลความร ้อน
3 : การสง่ พลังงานคลืนแม่เหล็กไฟฟ้ า
4 : การพาความร ้อน

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 243 :
สภาวะอากาศน่าสบายขึนกับปั จจัยทีสําคัญอะไรบ ้าง
1 : อุณหภูม ิ
2 : ความชนื
3 : อุณหภูมแ ิ ละความชนื
4 : อุณหภูม ิ ความชน ื ความเร็วลม การหมุนเวียนอากาศ อุณหภูมจ
ิ ากการแผ่รังส ี คุณภาพอากาศ
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 244 :
อุณหภูมจ ี วามร ้อน (Mean Radiant Temperature – MRT) คืออะไร
ิ ากการแผ่รังสค
1 : เป็ นอุณหภูมท
ิ วัี ดได ้ด ้วยเทอร์โมมิเตอร์ปกติ
2 : เป็ นอุณหภูมทิ วัี ดทีผิวกระจกหรือผนังอาคาร
3 : เป็ นอุณหภูมท ิ รูี ้สกึ ได ้ทีเกิดจากผลของการแผ่รังสคี วามร ้อน เชน่ จากความเข ้มของแสงแดด
4 : เป็ นอุณหภูมท ิ รูี ้สกึ ได ้ทีเกิดจากผลของการแผ่รังสคี วามร ้อน เชน่ จากผิวของกระจกหรือหลังคาทีร ้อน

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 245 :
การทําความเย็นแบบจ่ายพืนทีกว ้าง (District Cooling) ชว่ ยในการประหยัดพลังงานอย่างไร
1 : ้ กการเฉลียภาระ(Load Sharing)
เป็ นระบบทีใชหลั
2 : ในกรณีทมีี ลก ้
ั ษณะการใชงานต่ างเวลา(Mixed Use) ทําให ้สามารถลดขนาดระบบทําความเย็น
3 : เหมาะกับกลุม ่ อาคารทีอยูห
่ า่ งๆกัน
4 : ข ้อ 1 และ 2

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 246 :
เครืองปรับอากาศแบบแยกสว่ น (Split Type) เหมาะกับอาคารสํานักงานขนาดใหญ่หรือไม่
1 : ้ องปรับอากาศเบอร์ 5 หรือ 6
เหมาะ หากเลือกใชเครื
2 : เหมาะ เพราะสามารถปิ ดเปิ ดได ้โดยอิสระ
3 : ไม่เหมาะ เพราะไม่มกี ารเฉลียภาระ (Load Sharing)
4 : ไม่เหมาะ เพราะค่าติดตังระบบสูงกว่าระบบอืน

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 247 :
เหตุใด เครืองปรับอากาศชนิดระบายความร ้อนด ้วยนํ าประหยัดไฟมากกว่าชนิดระบายความร ้อนด ้วยอากาศ
1 : การระบายความร ้อนด ้วยนํ าโดยทัวไปมีประสท ิ ธิภาพโดยรวมมากกว่า โดยเฉพาะอย่างยิงสําหรับระบบปรับ
อากาศตังแต่ขนาดกลางขึนไป
2 : การระบายความร ้อนด ้วยอากาศทําให ้อากาศโดยรอบอาคารร ้อนขึน
3 : ไม่แน่ เพราะการระบายความร ้อนด ้วยนํ าต ้องเปลืองไฟและนํ าเติมสําหรับระบบนํ าระบายความร ้อน
4 : ข ้อ 1 และ 2

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 248 :
เหตุใดจึงไม่ควรติดตังพัดลมระบายอากาศในห ้องปรับอากาศทัวไป
1 : พัดลมระบายอากาศมักจะมีขนาดใหญ่เกินไป
2 : ทําให ้สภาพความดันในห ้องเป็ นลบ
3 : ห ้องปรับอากาศในปั จจุบน
ั ห ้ามไม่ให ้มีการสูบบุหรีแล ้ว จึงไม่มค
ี วามจําเป็ นอีกต่อไป
4 : ถูกทุกข ้อ

คําตอบทีถูกต ้อง : 4
ข ้อที 249 :
ประโยชน์ของระบบการทําความเย็นแบบจ่ายพืนทีกว ้าง (District Cooling) ต่อสว่ นรวมคืออะไร
1 : ชว่ ยลดความต ้องการไฟฟ้ าของโครงการ
2 : ชว่ ยลดความจําเป็ นในการสร ้างโรงไฟฟ้ าและระบบสง่
3 : ชว่ ยลดการนํ าเข ้าของอุปกรณ์การทําความเย็น
4 : ถูกทุกข ้อ

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 250 :
การประหยัดพลังงานในระบบปรับอากาศวิธไี หนได ้ผลดีมากทีสุด
1 : ปิ ดเครืองปรับอากาศตอนพักเทียง
2 : ้ องปรับอากาศเบอร์ 5
เลือกใชเครื
3 : ลดภาระการปรับอากาศ
4 : ้ องปรับอากาศแบบแยกสว่ น (Split Type)
ใชเครื

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 251 :
ิ ธิภาพสูงสุด
เครืองปรับอากาศชนิดใดมีประสท
1 : เครืองปรับอากาศแบบแยกสว่ น ระบายความร ้อนด ้วยอากาศ (Air-cooled split type air conditioner)
2 : เครืองปรับอากาศแบบรวมสว่ น ระบายความร ้อนด ้วยอากาศ (Package air-cooled air conditioner)
3 : เครืองทํานํ าเย็น ระบายความร ้อนด ้วยนํ า (Water-cooled chiller)
4 : เครืองปรับอากาศแบบตัดหน ้าต่าง (Window type air conditioner)

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

เนือหาวิชา : 398 : Chapter 1: Basic thermodynamics

ข ้อที 252 :
ั ความเสย
การไหลของของไหลผ่านอุปกรณ์ลดความดัน(Expansion Valve) คือการลดความดันโดยอาศย ี ดทาน
อาจจะถือได ้ว่า
1 : เอนทัลปี (h)คงที
2 : เอนโทรปี (s)คงที
3 : อุณหภูม(ิ T)คงที
4 : ปริมาตรจําเพาะ(v)คงที

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 253 :
ิ ธิภาพ ซโี อพี(COP)สูงทีสุด
เครืองทําความเย็นแบบใดมีประสท
1 : ้
แบบใชคอมเพรสเซอร์ อดั ไอ(Vapor Compression Refrigeration)
2 : แบบดูดกลืน(Absorption Refrigeration) เชน่ เดียวกับทีใชที
้ สนามบินสุวรรณภูม ิ
3 : แบบ เทอร์โมอิเล็กทริก(Thermo-Electric Refrigeration)
4 : ้
แบบใชไอนํ าฉีด(Steam Jet Refrigeration)

คําตอบทีถูกต ้อง : 1
ข ้อที 254 :
อากาศภายนอกอุณหภูม ิ 35 Deg.C(308 Deg.K) ห ้องเย็นอุณหภูม ิ – 130 Deg.C(143 Deg.K) เครืองทําความ

เย็นซงสร ิ ธิภาพซโี อพี 0.9 (EER = 3.07 Btu/h/W) ท่านคิดว่าข ้อใดถูกต ้องทีสุด
้างโดยผู ้ผลิตรายหนึงมีประสท
1 : เครืองปรับอากาศเบอร์ 5 นันมี ประสท ิ ธิภาพซโี อพี 3.1 (EER = 10.6 Btu/h/W) ดังนันเครืองนี
ิ ี
ประสทธิภาพซโอพีตําไปหน่อย
2 : เป็ นไปไม่ได ้
3 : ประสท ิ ธิภาพซโี อพีไม่ควรจะตํากว่า 1
4 : ไม่สามารถวิจารณ์อะไรได ้ เพราะขึนอยูก ่ บ ี ารทําความเย็น และแบบเครืองทําความเย็นทีใช ้
ั วิธก

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 255 :
เครืองทําความเย็นแบบดูดกลืน(Absorption Refrigeration) ก็คอ
ื เครืองทําความเย็นทีทํางานเป็ นวัฏจักร ถ ้าเครือง
้ อเพลิ
มีขนาดทําความเย็น 1.5 MW เครืองต ้องใชเช ื งจากแก๊สธรรมชาติ 1 MW ความร ้อนทีต ้องระบายทิงรวม
ทังหมดประมาณเท่าไร?
1 : 1.5 MW
2 : 2.5 MW
3 : 1 MW
4 : ไม่สามารถประมาณได ้เพราะขึนอยูก
่ บ
ั การออกแบบของผู ้ผลิต

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 256 :
ในทางทฤษฎีระบบทําความเย็นทีดีควรเป็ นลักษณะใด
1 : COP ตํา
2 : เกิด Pressure drop ทีEvaporator
3 : สารความเย็นกลายเป็ นไอพอดีกอ ่ นทีเข ้า Compressor
4 : ท่อสารทําความเย็นด ้านดูด มีขนาดเล็กกว่าด ้านสง่

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 257 :

เครืองปรับอากาศทีปิ ดเครืองไม่ได ้ใชงานสารทํ าความเย็นภายในเครืองควรมีสถานะอะไร?
1 : ไอและของเหลว
2 : ไอ
3 : ของเหลว
4 : ของไหล(จะเรียกว่าเป็ นของเหลวทังหมด หรือเรียกว่าเป็ นไอทังหมดก็ได ้)

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 258 :
การทําความเย็นแบบอัดไอ(Vapor Compression Refrigeration) ข ้อความใดต่อไปนีถูกต ้องหรือใกล ้เคียงความ
จริงทีสุด
1 : ้
สามารถใชอากาศเป็ นสารทําความเย็นได ้
2 : การถ่ายเทพลังงานอาศยั การเปลียนสถานะของสาร
3 : เครืองอัดอาจสามารถใชปั้ มสารทําความเย็นเหลวแทนได ้
4 : การลดความดันทีวาล์วลดความดันคือการเปลียนพลังงานภายในเป็ นพลังงานจลน์

คําตอบทีถูกต ้อง : 2
ข ้อที 259 :
พิจารณาทีคอมเพรสเซอร์ การคํานวณอยูภ่ ายใต้สมมติฐานอะไร
1 : มีเฉพาะการเปลียนแปลงพลังงานจลน์และศักย์
2 : ไม่มีการถ่ายเทความร้อน ไม่มีการเปลียนแปลงพลังงานจลน์และศักย์
3 : ไม่มีการถ่ายเทงาน ไม่มีการเปลียนแปลงพลังงานจลน์และศักย์
4 : มีเฉพาะการถ่ายเทความร้อนและงาน

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 260 :
ในระบบทําความเย็น ทําไมต ้องให ้เกิดการระเหยของสารทําความเย็น
1 : เพราะจะได ้อัดไอได ้
2 : เพราะค่าความร ้อนแฝงต่อหน่วยมวลสารทําความเย็นสูง
3 : เพราะถ ้าไม่ระเหยก็ควบแน่นไม่ได ้
4 : เพือให ้โครงสร ้างทางเคมีของสารทําความเย็นเปลียนแปลง

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 261 :
้ งงานของระบบทําความเย็นหรือไม่
ชนิดของสารทําความเย็นมีผลต่อการใชพลั
1 : มี เพราะความหนาแน่นไอมีผลต่อขนาดคอมเพรสเซอร์
2 : มี เพราะต ้องเลือกใชอุ้ ณหภูมค ิ วบแน่นไม่เท่ากัน
3 : ไม่ม ี ขึนอยูก
่ บั อุณหภูมคิ วบแน่น ไอระเหย
4 : ไม่ม ี ขึนอยูป่ ระสทิ ธิภาพของมอเตอร์ขบ ั คอมเพรสเซอร์นัน

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 262 :
เอนทาลปี คอ ื อะไร
1 : พลังงานทีเกียวข ้องกับการเคลือนทีด ้วยแรงภายนอก
2 : พลังงานทีได ้จากการเพิมพลังงานเคมี
3 : สมบัตท
ิ างกายภาพ
4 : สมบัตทิ างเทอร์โมไดนามิกส ์

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 263 :
การลดงานทีต ้องป้ อนให ้กับคอมเพรสเซอร์ให ้เหลือน ้อยทีสุด ต ้องทําให ้กระบวนการอัดไอเป็ นไปตามข ้อใด
1 : กระบวนการอะเดียบาติก
2 : กระบวนการไอเซนโทรปิ ก
3 : กระบวนการโพลีทรอปิ ก
4 : กระบวนการไอโซเทอร์มอล

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 264 :

ทีสภาวะการทํางานเหมือนกัน แต่ใชสารทํ าความเย็นต่างชนิดกัน ระบบทําความเย็นใดจะมี COP สูงสุด
1 : ระบบทีมี Refrigerating Effect สูงสุด และงานของการอัดสูงสุด
2 : ระบบทีมี Refrigerating Effect สูงสุด และมีงานของการอัดตําสุด
้ มาณสารทําความเย็นมากทีสุด
3 : ระบบทีใชปริ
4 : ระบบทีใชปริ้ มาณสารทําความเย็นน ้อยทีสุด

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 265 :
ทําอย่างไรจึงจะทําให ้กระบวนการอัดไอเข ้าใกล ้กระบวนการ Isothermal
1 : การหุ ้มฉนวนคอมเพรสเซอร์
2 : การหล่อเย็นคอมเพรสเซอร์
3 : การหุ ้มฉนวนท่อทางสง่ ของคอมเพรสเซอร์
4 : การเพิม Compression Ratio

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

เนือหาวิชา : 399 : Chapter 2: Vapor Compression Systems:Simple,Multistage and Cascade

ข ้อที 266 :
ระบบทําความเย็นแบบอัดไอ(Vapor Compression Refrigeration) การไหลของสารทําความเย็น มีลําดับการไหล
ข ้อใดถูกต ้องทีสุด
1 : อุปกรณ์ลดความดัน เครืองระเหย(Evaporator) คอมเพรสเซอร์ คอนเดนเซอร์
2 : อุปกรณ์ลดความดัน เครืองระเหย(Evaporator) คอนเดนเซอร์ คอมเพรสเซอร์
3 : อุปกรณ์ลดความดัน คอนเดนเซอร์ เครืองระเหย(Evaporator) คอมเพรสเซอร์
4 : คอนเดนเซอร์ คอมเพรสเซอร์ เครืองระเหย(Evaporator) อุปกรณ์ลดความดัน

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 267 :
้ ณสมบัตใิ ดบนแผนภูม ิ P-h
เครืองระเหย (evaporator) มีหลักการทํางานเป็ นไปตามเสนคุ
1 : ้ ณหภูมค
เสนอุ ิ งที
2 : ้
เสนเอนโทรปี คงที
3 : ้
เสนเอนทาลปี คงที
4 : เสนปริ ้ มาตรจําเพาะคงที

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 268 :
ข ้อใดไม่ใชผ่ ลทีได ้จากการทําของเหลวเย็นยิง (subcooled)
1 : ค่าการทําความเย็นเพิมขึน (R.E.)
2 : อัตราการไหลของสารทําความเย็นต่อกิโลวัตต์การทําความเย็นเพิมขึน
3 : สมรรถนะการทําความเย็น(C.O.P.)เพิมขึน
4 : กําลังงานของเครืองอัดไอลดลง

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 269 :
สารทําความเย็นทีออกจากเครืองระเหย (evaporator) จะมีสถานะใด
1 : ของเหลวอิมตัว
2 : ไออิมตัว
3 : ของเหลวอัดตัว
4 : ไอเปี ยก

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 270 :
สารทําความเย็นทีออกจากเครืองอัดไอ (Compressor) มีสถานะใด
1 : ความดันสูง-อุณหภูมต
ิ ํา
2 : ความดันสูง-อุณหภูมสิ งู
3 : ความดันตํา-อุณหภูมส ิ งู
4 : ความดันตํา-อุณหภูมต ิ ํา

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 271 :
ข ้อใดคือผลทีเกิดจากความดันลดในท่อก่อนเข ้าเครืองอัดไอ (Compressor)
1 : ใชกํ้ าลังเครืองอัดไอเพิมขึน
2 : สมรรถนะการทําความเย็น (C.O.P.) เพิมขึน
3 : อุณหภูมท ิ างออกเครืองอัดไอลดลง
4 : เครืองควบแน่น (Condenser) มีพนที
ื ถ่ายเทความร ้อนเพิมขึน

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 272 :
ข ้อใดไม่ใชผ่ ลทีเกิดขึนเมืออุณหภูมค
ิ วบแน่นสูงขึน
1 : ผลของความเย็นลดลง
2 : กําลังทีใชขั้ บเครืองอัดไอ (compressor) ลดลง
3 : สมรรถนะการทําความเย็น (C.O.P.)ลดลง
4 : ความร ้อนทีระบายออกทีเครืองควบแน่น (condenser) ลดลง

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 273 :
ถังพักนํ ายาเหลว (receiver) ทําหน ้าทีอะไรในระบบทําความเย็น
1 : สะสมของเหลวจากเครืองควบแน่น (condenser) เพือจ่ายให ้เครืองระเหย (evaporator)
2 : สะสมของเหลวจากเครืองควบแน่น (condenser) เพือจ่ายให ้เครืองอัดไอ (compressor)
3 : สะสมของเหลวจากเครืองระเหย (evaporator) เพือจ่ายให ้เครืองอัดไอ (compressor)
4 : สะสมของเหลวจากเครืองระเหย (evaporator) เพือจ่ายให ้ถังแยกนํ ายาเหลว (accumulator)

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 274 :
่ ป
ในระบบอัดไอตามทฤษฏี ข ้อไหนไม่ใชอ ุ กรณ์หลัก
1 : คอมเพรสเซอร์
2 : วาล์วลดความดัน (Expansion Valve)
3 : อีวาโพเรเตอร์
4 : วาล์วเพิมความดัน

คําตอบทีถูกต ้อง : 4
ข ้อที 275 :
หากวัฏจักรการทําความเย็นทางทฎษฎีมคี า่ การทําความเย็น (Cooling capacity) 30kW ค่าความร ้อนทิง (Heat
้ งงาน 10 kW จะมีคา่ COP เป็ นเท่าใด
Reject) 40 kW และเครืองอัดไอใชพลั
1 : 3
2 : 4
3 : 7
4 : 1.33

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 276 :
ผลทําความเย็น (RE) คืออะไร
1 : พลังงานทีใสใ่ ห ้กับคอมเพรสเซอร์ขณะอัดไอ
2 : ค่าความร ้อนทีอีวาโปเรเตอร์รับจากห ้องเย็น
3 : ค่าความร ้อนทีคอนเดนเซอร์คายออกจากระบบหารด ้วยงานทีคอมเพรสเซอร์อดั ไอ
4 : ค่าความร ้อนทีอีวาโปเรเตอร์คลายออกจากระบบหารด ้วยงานทีคอมเพรสเซอร์อด
ั ไอ

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 277 :
ในทางปฏิบต ั ก ึ ้องทําให ้สารทําความเย็นเป็ น Superheat
ิ ารอัดไอสารทําความเย็นต ้องมีสภาพเป็ นไอทังหมดซงต
ก่อนสง่ เข ้าคอมเพรสเซอร์ข ้อใดเป็ นจริงเมือเทียบกับทางทฤษฎี
1 : สารทําความเย็นระเหยเป็ นไอไม่หมด
2 : พลังงานทีใชอั้ ดไอมีคา่ มากขึน
3 : พลังงานทีใชอั้ ดไอมีคา่ น ้อยลง
4 : ความร ้อนทีระบายทีคอนเดนเซอร์มค ี า่ น ้อยลง

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 278 :
ในทางปฏิบต ั วิ ฏ
ั จักรการทําความเย็นแบบอัดไอ โดยทัวไปแล ้ว หลังจากทีสารทําความเย็น ควบแน่นใน
คอนเดนเซอร์แล ้วก่อนทีจะไปเข ้าวาล์วระเหยสารทําความเย็น (expansion valve) จะมีถงั ดักเก็บสารทําความเย็น
ื ยกว่า
มีชอเรี
1 : Accumulator
2 : Receiver
3 : Sigh Glass
4 : Oil Separator

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 279 :
Superheated refrigerant มีสภาพเป็ น
1 : ของแข็ง
2 : ของเหลว
3 : ไอ
4 : ของเหลวผสมไอ

คําตอบทีถูกต ้อง : 3
ข ้อที 280 :
เมือภาระความเย็นทีเครืองระเหย(Evaporator)ลดลง ทําให ้
1 : ความดันทางดูดลดลง
2 : ความดันทางดูดเพิมขึน
3 : ความดันทางสง่ เพิมขึน
4 : ความดันนํ ามันเพิมขึน

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 281 :
สารทําความเย็นในคอนเดนเซอร์กลันตัวจากไอเป็ นของเหลว เพราะ
1 : ถูกเพิมความดันจากคอมเพรสเซอร์
2 : ่ ม ้อพักนํ ายาทีตํากว่า
ต ้องไหลสูห
3 : ถ่ายเทความร ้อนสูบ ่ รรยากาศภายนอก
4 : มีการเปลียนแปลงอุณหภูม ิ

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 282 :
ขณะทีระบบทําความเย็นทํางาน สารทําความเย็นใน Evaporator เป็ นอย่างไร
1 : คายความร ้อนและเปลียนสถานะจากไอเป็ นของเหลว
2 : เดือดและเปลียนสถานะจากไอเป็ นของเหลว
3 : เดือดและเปลียนสถานะจากของเหลวเป็ นไอ
4 : มีสถานะเป็ นของเหลวโดยอุณหภูมต
ิ ํากว่าอุณหภูมอ
ิ มตั
ิ ว

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 283 :
ในทางทฤษฏีอป ุ กรณ์ใดในระบบการทําความเย็นทํางานภายใต ้สภาวะเอนโทรปี คงที (Isentropic)
1 : คอมเพรสเซอร์
2 : คอนเดนเซอร์
3 : อุปกรณ์ลดความดัน
4 : อีวาปโพเรเตอร์

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 284 :
อุปกรณ์ใดในระบบการทําความเย็นทํางานภายใต ้สภาวะความดันคงที (constant pressure)
1 : คอมเพรสเซอร์, คอนเดนเซอร์
2 : คอนเดนเซอร์, อุปกรณ์ลดความดัน
3 : คอนเดนเซอร์, อีวาปโพเรเตอร์
4 : อุปกรณ์ลดความดัน, อีวาปโพเรเตอร์

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 285 :
accumulator มีหน ้าทีอะไรในระบบทําความเย็น

1 : กรองสงสกปรกภายในระบบทํ าความเย็น
2 : ดักนํ ามันทีผสมมากับสารทําความเย็น
3 : ดักนํ ายาเหลวไม่ให ้สง่ เข ้าไปในคอมเพรสเซอร์
4 : ถ่ายเทความร ้อนออกจากระบบทําความเย็น

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 286 :
คอนเดนเซอร์มหี น ้าทีอะไร
1 : ระบายความร ้อนสารทําความเย็น
2 : ระเหยสารทําความเย็นให ้กลายเป็ นไอ
3 : ลดความดันในระบบก่อนสง่ สารทําความเย็นเข ้าคอมเพรสเซอร์
4 : เป็ นอุปกรณ์ดด ั ความร ้อนให ้แก่สารทําความเย็น
ู ซบ

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 287 :
ข ้อใดไม่ใชห่ น ้าทีของ คอมเพรสเซอร์
1 : เป็ นอุปกรณ์สร ้างแรงดันในระบบ
2 : อัดและสง่ สารทําความเย็นไปคอนเดนเซอร์
3 : เป็ นอุปกรณ์ทําให ้สารทําความเย็นกลันตัว
4 : เป็ นอุปกรณ์สร ้างสุญญากาศในระบบ

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 288 :
่ ารทําความเย็น
อุปกรณ์ใดในระบบการทําความเย็นทําหน ้าทีดูดความร ้อนเข ้าสูส
1 : วาล์วลดความดัน
2 : คอนเดนเซอร์
3 : คอมเพรสเซอร์
4 : อีวาโปเรเตอร์

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 289 :
ตําแหน่งใดเป็ นตําแหน่งทีติดตัง Accumulator
1 : ระหว่าง Compressor กับ Condenser
2 : ระหว่าง Evaporator กับ Condenser
3 : ระหว่าง Evaporator กับ Compressor
4 : ระหว่าง Booster compressor กับ High stage compressor

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 290 :
จงหากําลังของคอมเพรสเซอร์ ทีใชอั้ ดสารทําความเย็นทีมีคา่ เอนทาลปี 400 kJ/kg ให ้มีคา่ เอนทาลปี เป็ น 650
kJ/kg โดยทีมีอต
ั ราการไหลของสารทําความเย็นเท่ากับ 100 g/s
1 : 2.5 kw.
2 : 25 kw.
3 : 250 kw.
4 : 25000 kw.

คําตอบทีถูกต ้อง : 2
ข ้อที 291 :
เครืองควบแน่น (Condenser) แบบใด จะมีขนาดใหญ่ทสุ
ี ด หากระบายความร ้อนได ้เท่ากัน
1 : เครืองควบแน่นแบบระบายความร ้อนด ้วยอากาศ (Air Cooled Condenser)
2 : เครืองควบแน่นแบบเปลือกและท่อ (Shell and Tube Condenser)
3 : เครืองควบแน่นแบบระเหย (Evaporative Condenser)
4 : ทุกแบบมีขนาดใกล ้เคียงกัน

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 292 :
เครืองทําความเย็นชนิด Carnot Cycle มีอณ ี ส และอุณหภูมก
ุ หภูมไิ อระเหย –10 องศาเซลเซย ิ ลันตัว 40 องศา
เซลเซย ี ส COP ของเครืองทําความเย็นชุดนีควรมีคา่ เท่าใด
1 : มากกว่า 5.26
2 : เท่ากับ 5.26
3 : เท่ากับ 0.8
4 : เท่ากับ 0.2

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 293 :
ระบบทําความเย็นแบบอัดไอชนเดี ั ยว ทํางานทีอุณหภูมก ี ส อุณหภูมไิ อระเหย –20 องศา
ิ ลันตัว 40 องศาเซลเซย
เซลเซย ี ส ถ ้าเพิมอุณหภูมไิ อระเหยเป็ น –10 องศาเซลเซยี ส จะมีผลอย่างไร
1 : ทําให ้คอนเดนเซอร์ต ้องระบายความร ้อนมากขึน
2 : ้ งงานน ้อยลง
ทําให ้คอมเพรสเซอร์ใชพลั
3 : ค่า RE ตําลง
4 : ค่า COP ของระบบลดลง

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 294 :
สารทําความเย็น R134a ถูกดูดเข ้าคอมเพรสเซอร์ทอุ ี ณหภูมไิ ออิมตัว –6.7 องศาเซลเซย ี ส จงหาอัตราการไหลเชงิ
มวลเมือกระบอกสูบคอมเพรสเซอร์มค ี วามจุ 9.44 ลิตรต่อวินาที กําหนดให ้ทีอุณหภูมอ
ิ มตั
ิ ว –6.7 องศาเซลเซย ี ส
R134a มีปริมาตรจําเพาะของไอ 0.0874 ลูกบาศก์เมตรต่อกิโลกรัม
1 : ั
1.9 กิโลกรัมต่อชวโมง
2 : 0.108 กิโลกรัมต่อวินาที
3 : 0.103 กิโลกรัมต่อวินาที
4 : ั
19.05 กิโลกรัมต่อชวโมง

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 295 :
สารทําความเย็นชนิดหนึงจํานวน 1.36 kg ขณะออกจากวาล์วลดความดันเกิดเปลียนสถานะเป็ นไอโดยเอนทาลปี
ขณะผ่านวาล์วนีเท่ากับ 102.344 kJ/kg เอนทาลปี ของไออิมตัวเท่ากับ 241.904 kJ/kg เอนทาลปี ของของเหลว
อิมตัวเท่ากับ 41.868 kJ/kg สารทําความเย็นกลายเป็ นไอจํานวนเท่าใด
1 : 0.41kg
2 : 50%
3 : 40%
4 : 0.59 kg
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 296 :
้ าความเย็น
ระบบทําความเย็นชนิดใดทีนํ าคอมเพรสเซอร์มาใชทํ
1 : Absorption Refrigeration System
2 : Vapor Compression Refrigeration System
3 : Steam Jet Refrigeration System
4 : Air Expansion System

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 297 :
ี ส ต ้องการทํา Subcooling สารทําความเย็นนีจะทําได ้อย่างไร
มีสารทําความเย็นเหลวอุณหภูม ิ +40 องศาเซลเซย
1 : ใช ้ Open Flash Economizer
2 : แลกเปลียนความร ้อนกับไอสารทําความเย็นด ้าน Suction
3 : ใช ้ Open Flash Intercooler
4 : ในทางปฏิบต ั ไิ ม่สามารถทําได ้

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 298 :
ข ้อใดกล่าวได ้ถูกต ้อง
1 : อากาศทีปนอยูใ่ นระบบทําความเย็นไม่กอ ี อะไร
่ ให ้เกิดผลเสย
2 : เกล็ดหิมะทีเกาะตามผิวคอล์ยเย็นชว่ ยให ้การทําความเย็นดีขน ึ
3 : ระบบทําความเย็นทีมีความดันตํากว่าบรรยากาศ นํ าในระบบอาจแข็งตัวอุดตันวาล์วลดความดัน
4 : ห ้องเย็นทีมีอณ ี สไม่มโี อกาสทีจะมีนําแข็งเกาะคอล์ยเย็น
ุ หภูม ิ +1 องศาเซลเซย

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 299 :
ข ้อใดสามารถประกอบเป็ น Condensing Unit ได ้
1 : Condenser, Compressor, Accumulator
2 : Compressor, Accumulator, Evaporator
3 : Condenser, Receiver, Evaporator
4 : Compressor, Accumulator, Oil Separator

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 300 :
TD (Temperature Difference) ของคอล์ยเย็นคืออะไร
1 : อุณหภูมแ
ิ ตกต่างระหว่างสารทําความเย็นในคอล์ยกับอุณหภูมห ิ ้อง
2 : อุณหภูมแิ ตกต่างของสารทําความเย็นระหว่างขาเข ้ากับขาออกคอล์ยเย็น
3 : อุณหภูมแ ิ ตกต่างระหว่างของสารทําความเย็นทีเกิดจาก Pressure Drop ในคอล์ยเย็น
4 : อุณหภูมแ ิ ตกต่างระหว่างลมสง่ กับลมกลับเข ้าคอล์ยเย็น

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 301 :

อุปกรณ์ใดไม่ใชในระบบอั ั
ดไอชนเดี
ยว
1 : Compressor
2 : Liquid Receiver
3 : Recirculation Pump
4 : Intercooler

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 302 :
ค่าความร ้อนใดในวิธก
ี ารคํานวณหาภาระความเย็น (Cooling Load) ปกติจะไม่มก
ี ารนํ ามาคํานวณ
1 : Wall Heat Load
2 : Air Change Load
3 : Solar Heat Load
4 : Product Load

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 303 :
ิ องคอล์ยเย็น (Evaporating Temp.) ลดตําด ้วย จะสง่ ผล
ถ ้าลดแรงดันด ้านดูด (Suction Pressure) และอุณหภูมข
ให ้เกิดอะไรขึน
1 : กําลังไฟฟ้ าต่อตันความเย็นจะลดลง
2 : กําลังไฟฟ้ าต่อตันความเย็นจะเพิมสูงขึน
3 : กําลังไฟฟ้ าไม่มผ
ี ลอะไรใดๆ ต่อการลดลงของอุณหภูม ิ
4 : ความดันด ้านสง่ (Discharge Pressure) จะสูงขึน

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 304 :
ระบบทําความเย็นระบบหนึงมีคา่ Cooling Capacity ทีคอล์ยเย็นเท่ากับ 33 kW ค่าAbsorbed Power ทีเครือง
คอมเพรสเซอร์เท่ากับ 12 kW ค่า Heat Rejection ทีคอนเดนเซอร์เท่ากับ 45 kW ถามว่า C.O.P. ของระบบนี
เท่ากับเท่าไร
1 : 2.75
2 : 3.75
3 : 1.36
4 : 0.73

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 305 :
อุณหภูมข ิ ค ้าหรือของเหลวหรือวัตถุใดๆ ทีต ้องการทําให ้เย็นจะต ้อง
ิ องสน
1 : สูงกว่าจุดเยือกแข็ง (Freezing Point) ของบริเวณทีจะลดอุณหภูม ิ
2 : จะต ้องสูงกว่าจุดไอระเหยของคอล์ยเย็น (Evaporating Temp.)
3 : เท่ากับจุดไอระเหยของคอล์ยเย็น (Evaporating Temp.)
4 : ตํากว่าจุดไอระเหยของคอล์ยเย็น (Evaporating Temp.)

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 306 :
ถ ้าภาระความร ้อนของคอล์ยเย็น (Evaporator Load) เพิมขึนจะมีผลอย่างไรต่อแรงดันด ้านดูด (Suction
Pressure)
1 : จะลดลง
2 : จะเพิมขึน
3 : คงเดิมไม่มอี ะไรเปลียนแปลง
4 : ความดันด ้านสง่ จะลดลง

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 307 :
เหตุการณ์ใดต่อไปนีจะเกิดขึนในคอล์ยเย็น (Evaporator)
1 : ของเหลวแรงดันสูงเปลียนเป็ นของเหลวแรงดันตํา
2 : สารทําความเย็นเปลียนสถานะเป็ นแก๊สอิมตัว (Saturated Gas)
3 : ของเหลวแรงดันตําเปลียนเป็ นแก๊สแรงดันตํา
4 : แก๊สแรงดันสูงเปลียนเป็ นของเหลวแรงดันตํา

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 308 :
้ นเครืองทําความร ้อนหรือฮต
ระบบทําความเย็นแบบอัดไอ(Vapor Compression Refrigeration) ถ ้าใชเป็ ี ปั ม(Heat
Pump) การไหลของสารทําความเย็น มีลําดับการไหล ข ้อใดถูกต ้องทีสุด
1 : อุปกรณ์ลดความดัน เครืองระเหย(Evaporator) คอนเดนเซอร์ คอมเพรสเซอร์
2 : อุปกรณ์ลดความดัน เครืองระเหย(Evaporator) คอมเพรสเซอร์ คอนเดนเซอร์
3 : อุปกรณ์ลดความดัน คอนเดนเซอร์ เครืองระเหย(Evaporator) คอมเพรสเซอร์
4 : คอนเดนเซอร์ คอมเพรสเซอร์ เครืองระเหย(Evaporator) อุปกรณ์ลดความดัน

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 309 :
ความรู ้เกียวกับวัฏจักรทําความเย็นอัดไอแบบอุดมคติ(Ideal Vapor Compression Refrigeration Cycle) และ
วัฏจักรทําความเย็นคาร์โนต์(Carnot Refrigeration Cycle) ข ้อใดถูกต ้องทีสุด
1 : วัฏจักรทําความเย็นอัดไอแบบอุดมคติมปี ระสทิ ธิภาพวัฏจักร(COP)สูงกว่าวัฏจักรทําความเย็นคาร์โนต์
2 : วัฏจักรทําความเย็นอัดไอแบบอุดมคติ และวัฏจักรทําความเย็นคาร์โนต์ ต่างก็เป็ นวัฏจักรย ้อนกลับ
ได ้(Reversible Cycle)
3 : วัฏจักรทําความเย็นอัดไอแบบอุดมคติเป็ นวัฏจักรทีสมบูรณ์ ประสท ิ ธิภาพของวัฏจักร(COP)ไม่ขนกั
ึ บชนิด
ของสารทําความเย็น
4 : วัฏจักรทําความเย็นอัดไอแบบอุดมคติเป็ นวัฏจักรทีย ้อนกลับไม่ได ้(Irreversible Cycle)

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 310 :
ความหมายของการทําความเย็นโดยวัฏจักรคาร์โนมีความหมายว่าอะไร
1 : ิ ธิภาพตําทีสุด
เป็ นวัฏจักรการทําความเย็นทีได ้ประสท
2 : เป็ นวัฏจักรการทําความเย็นทีได ้ประสทิ ธิภาพสูงทีสุด
3 : เป็ นวัฏจักรการทําความเย็นทีทํางานจริง
4 : เป็ นวัฏจักรการทําความเย็นทีทําอุณหภูมไิ ด ้ตําสุด

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 311 :

สารทําความเย็นทีออกมาจากอีแวปโพเรเตอร์แบบควบคุมเอ็กแปนชนวาล์
วควรมีสถานะใด
1 : ของเหลวอิมตัว
2 : ของเหลวผสมกับไอ
3 : ไออิมตัว
4 : ี หรือไอร ้อนยวดยิง
ซุปเปอร์ฮท

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 312 :
สารทําความเย็นทีออกมาจากคอนเดนเซอร์ควรมีสถานะใด
1 : ซบั คูล(sub-cooled)หรือของเหลวอิมตัว
2 : ของเหลวผสมกับไอ
3 : ไออิมตัว
4 : ซุปเปอร์ฮที หรือไอร ้อนยวดยิง

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 313 :
คอมเพรสเซอร์เป็ นอุปกรณ์หลักทีใชส้ ําหรับระบบทําความเย็นแบบใด
1 : ระบบทําความเย็นแบบอัดไอ
2 : ระบบทําความเย็นแบบดูดซม ึ
3 : ้
ระบบทําความเย็นแบบใชไฟฟ้ าโดยตรง
4 : ระบบทําความเย็นแบบใชนํ้ าพ่น

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 314 :
ถ ้าอุณหภูมดิ ้านการกลันตัวมีคา่ สูงขึนจะสง่ ผลอย่างไรกับประสท
ิ ธิภาพของระบบทําความเย็น
1 : ิ ธิภาพสูงขึน
ประสท
2 : ประสทิ ธิภาพตําลง
3 : ประสท ิ ธิภาพเท่าเดิม
4 : อุณหภูมด ิ ้านการกลันตัวไม่มผ ิ ธิภาพของระบบทําความเย็น
ี ลต่อประสท

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 315 :
ถ ้าอุณหภูมดิ ้านการกลันตัวมีคา่ ตําลงจะสง่ ผลอย่างไรกับประสท
ิ ธิภาพของระบบทําความเย็น
1 : ิ ธิภาพสูงขึน
ประสท
2 : ประสทิ ธิภาพตําลง
3 : ประสท ิ ธิภาพเท่าเดิม
4 : อุณหภูมด ิ ้านการกลันตัวไม่มผ ิ ธิภาพของระบบทําความเย็น
ี ลต่อประสท

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 316 :
ถ ้าอุณหภูมดิ ้านการระเหยมีคา่ สูงขึนจะสง่ ผลอย่างไรกับประสท
ิ ธิภาพของระบบทําความเย็น
1 : ิ ธิภาพสูงขึน
ประสท
2 : ประสทิ ธิภาพตําลง
3 : ประสท ิ ธิภาพเท่าเดิม
4 : อุณหภูมด ิ ้านการกลันตัวไม่มผ ิ ธิภาพของระบบทําความเย็น
ี ลต่อประสท
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 317 :
ถ ้าอุณหภูมดิ ้านการระเหยมีคา่ ตําลงจะสง่ ผลอย่างไรกับประสท
ิ ธิภาพของระบบทําความเย็น
1 : ิ ธิภาพสูงขึน
ประสท
2 : ประสทิ ธิภาพตําลง
3 : ประสท ิ ธิภาพเท่าเดิม
4 : อุณหภูมด ิ ้านการกลันตัวไม่มผ ิ ธิภาพของระบบทําความเย็น
ี ลต่อประสท

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 318 :
การถ่ายเทความร ้อนในเครืองระเหย(Evaporator)เป็ นแบบใด
1 : ความร ้อนแฝงการระเหย
2 : ความร ้อนแฝงการกลันตัว
3 : ความร ้อนสมั ผัส
4 : ความร ้อนจําเพาะ

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 319 :
ข ้อใดคือชนิดของไอสารทําความเย็นทีเกิดขึนก่อนเข ้าเครืองอัดไอ(compressor)ในทางปฏิบต
ั ิ
1 : ไอร ้อนยวดยิง
2 : ไออิมตัว
3 : ไอเปี ยก
4 : ของเหลวอิมตัว

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 320 :
ข ้อใดเป็ นผลของสารความเย็นเป็ นไอร ้อนยวดยิง(super heat vapour)เพิมขึนก่อนเข ้าเครืองอัดไอ
1 : ิ ้านลินทางสง่ เครืองอัดตําลง
อุณหภูมด
2 : ปริมาตรจําเพาะของไอสารทําความเย็นลดลง
3 : อุณหภูมอิ มตั
ิ วทางดูดลดลง
4 : อุณหภูมอ ิ วทางสง่ ลดลง
ิ มตั

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 321 :
ข ้อใดเป็ นผลทําให ้ความสามารถการทําความเย็นลดลง
1 : อุณหภูมอ ิ วทางสง่ ลดลง
ิ มตั
2 : อุณหภูมทิ างดูดสูงขึน
3 : ปริมาตรจําเพาะไอสูงขึน
4 : อัตราการไหลเชงิ ปริมาณเพิมขึน

คําตอบทีถูกต ้อง : 3
ข ้อที 322 :
เครืองทําความเย็นมีผลทางความเย็น 10 kW และมีผลต่างทางเอลทาลปี ทีเครืองระเหย 110 kJ/kg จะมีอต
ั ราการ
ไหลเชงิ มวลเท่าไร
1 : 0.09 kg/s
2 : 0.009 kg/s
3 : 0.3 kg/s
4 : 0.003 kg/s

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 323 :
ี มากขึน(More Pressure drop) ข ้อใดไม่ใชผ
ถ ้าเครืองระเหยมีความดันสูญเสย ่ ลทีเกิดขึน
1 : อุณหภูมขิ องเหลวอิมตัวในเครืองควบแน่นเพิมขึน
2 : ค่าการทําความเย็นลดลง
3 : กําลังงานในเครืองอัดลดลง
4 : ปริมาตรจําเพาะของไอสูงขึน

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 324 :
ข ้อใดเป็ นผลโดยตรงมาจากไอร ้อนยวดยิงในระบบทําความเย็นเพิมขึนก่อนเข ้าเครืองอัดไอ
1 : ปริมาตรจําเพาะของไอลดลง
2 : ความร ้อนทีต ้องระเหยออกทีเครืองควบแน่นเพิมขึน
3 : อุณหภูมด ิ ้านลินทางสง่ เครืองอัดลดลง
4 : ้ องอัดลดลง
กําลังทีใชเครื

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 325 :

ระบบทําความเย็นมีผลทางความเย็น 10 kW และมีคา่ COP เท่ากับ 2.5 จะมีกําลังงานทีใชในการอั
ดเท่าไร
1 : 2 kW
2 : 4 kW
3 : 6 kW
4 : 0.25 kW

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 326 :
ข ้อใดเป็ นผลทีเกิดขึนถ ้ามีความดันลด (pressure loss) ของสารทําความเย็นในท่อทีออกจากเครืองควบแน่นไปยัง
ถังเก็บสารทําความเย็นมากเกินไป
1 : flashed gas
2 : Superheated
3 : subcooled
4 : Liquid hammer

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 327 :
ระบบทําความเย็นมีความสามารถทําความเย็น 10 kw และมีคา่ COP ของระบบเท่ากับ 2.5 และถ ้ากําลังงานของ
เครืองอัดลดลง 10% ค่า COP จะมีคา่ เท่าไร
1 : 2.7
2 : 3.2
3 : 1.5
4 : 2

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 328 :
ข ้อใดไม่ใชผ่ ลทําให ้ค่าความสามารถการทําความเย็นของระบบลดลงโดยทีมีคา่ อุณหภูมอ ิ วทางสง่ คงที
ิ มตั
1 : ความดันลดในท่อทางดูด
2 : ความดันลดในท่อทางสง่
3 : เกิดของเหลวเย็นยิง (Sub cooled) ในเครืองควบแน่น
4 : ความดันลดในเครืองระเหย

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 329 :
คอนเดนเซอร์มห ้ ณสมบัตใิ ดบนแผนภูม ิ P-h
ี ลักการทํางานเป็ นไปตามเสนคุ
1 : ้
เสนความดั นคงที
2 : ้
เสนเอนโทรปี คงที
3 : เสนปริ้ มาตรจําเพาะคงที
4 : เสนอุ ้ ณหภูมค
ิ งที

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 330 :
วาล์วระเหยสารทําความเย็น(Expansion Valve)ทําหน ้าทีอะไร
1 : เพิมความดันในระบบทําให ้สารทําความเย็นเปลียนสถานะไอเป็ นของเหลว
2 : ลดความดันทําให ้สารทําความเย็นเปลียนสถานะจากของเหลวเป็ นไอ
3 : ลดความดันให ้สารทําความเย็นเปลียนสถานะจากของไอเป็ นของเหลว
4 : ลดความดันในระบบทําให ้สารทําความเย็นเปลียนจากสถานะของเหลวเป็ นของเหลวผสมไอ

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 331 :
่ ป
ในระบบอัดไอตามทฤษฎีข ้อใดไม่ใชอ ุ กรณ์หลัก
1 : คอมเพรสเซอร์
2 : อีแวปโพเรเตอร์
3 : วาล์วลดความดัน
4 : วาล์วเปิ ด-ปิ ด (Stop Valve)

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 332 :
จงหาประสท ิ ธิภาพของการทําความเย็นของระบบ เมือ Enthalpy ทางด ้านเข ้าของ Evaporator = 100 kJ/kg
Enthalpy ทางด ้าน Suction ของ Compressor = 200 kJ/kg Enthalpy ทางด ้าน Discharge ของ Compressor
= 225 kJ/kg
1 : 5.0
2 : 4.0
3 : 3.0
4 : 2.5

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 333 :
ข ้อใดเป็ นอุปกรณ์พนฐานของระบบอั
ื ดไอ
1 : Evaporator, Compressor, Condenser, Receiver
2 : Compressor, Oil Separator, Condenser, Receiver
3 : Condenser, Expansion valve, Evaporator, Compressor
4 : Capillary tube, Expansion valve, Evaporator, Condenser

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 334 :
ผลทําความเย็น (Refrigeration Effect) คืออะไร
1 : งานทีใสใ่ ห ้กับคอมเพรสเซอร์ขณะอัดไอ
2 : ค่าความร ้อนทีอีวาโปเรเตอร์รับจากห ้องเย็น
3 : ค่าความร ้อนทีคอนเดนเซอร์ถา่ ยเทออกจากระบบหารด ้วยงานทีคอมเพรสเซอร์อด ั ไอ
4 : ค่าความร ้อนทีอีวาโปเรเตอร์ถา่ ยเทจากระบบหารด ้วยงานทีคอมเพรสเซอร์อด
ั ไอ

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 335 :
ระบบทําความเย็นแบบอัดไอ(Vapor Compression Refrigeration) ถ ้าเป็ นวัฏจักรอุดมคติ(Ideal Cycle) ต่อไปนี
ข ้อใดถูกต ้องหรือใกล ้เคียงทีสุด
1 : ในคอมเพรสเซอร์ไม่สมบูรณ์หรือย ้อนกลับไม่ได ้
2 : ในคอนเดนเซอร์ ไม่สมบูรณ์หรือย ้อนกลับไม่ได ้
3 : ในเครืองระเหย(Evaporator) ไม่สมบูรณ์หรือย ้อนกลับไม่ได ้
4 : ในอุปกรณ์ลดความดัน ไม่สมบูรณ์หรือย ้อนกลับไม่ได ้

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 336 :
้ นเครืองทําความร ้อนหรือฮต
ระบบทําความเย็นแบบอัดไอ(Vapor Compression Refrigeration) ถ ้าใชเป็ ี ปั ม(Heat
Pump) ต่อไปนี ข ้อใดถูกต ้องหรือใกล ้เคียงทีสุด
ั ประสท
1 : สม ิ ธิสมรรถนะ(COP)ของฮต ี ปั มต ้องมากกว่า 1 เสมอ (COPฮต ี ปั ม>1)
2 : สมั ประสท ิ ธิสมรรถนะ(COP) ของฮต ี ปั มจะน ้อยกว่าหรือมากกว่า 1 ก็ได ้(COPฮตี ปั ม> 1 หรือ <1)
3 : สม ั ประสท ิ ธิสมรรถนะ(COP)ของฮต ี ปั มจะน ้อยกว่าของเครืองทําความเย็น 1 (COPเครืองทําความเย็น –
COPฮต ี ปั ม = 1)
4 : โจทย์ไม่ชด ั เจน ฮต
ี ปั มและเครืองทําความเย็นต่างกันจะมาสมมุตแ ิ บบนันไม่ได ้

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 337 :
ความรู ้เกียวกับวัฏจักรทําความเย็นอัดไอ(Vapor Compression Refrigeration Cycle) ต่อไปนี ข ้อใดถูกต ้องหรือ
ใกล ้เคียงทีสุด
1 : ั ประสท
สม ิ ธิสมรรถนะ(COP)ต ้องมากกว่า 1 (100%) เสมอ
2 : การไหลผ่าน Expansion Valve ถือว่าเอนโทรปี คงที
3 : การอัดของคอมเพรสเซอร์ถอ ื ว่าเอนทัลปี คงที
4 : ี
ความเสยดทานในExpansion Valveมีมาก แต่โดยประมาณแล ้วเอนทัลปี ยงั คงที

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 338 :
ความรู ้เกียวกับเครืองทําความเย็นอัดไอ(Vapor Compression Refrigeration ) ต่อไปนี ข ้อใดถูกต ้องหรือใกล ้
เคียงทีสุด
1 : อุณหภูมใิ นห ้องเย็นยิงตําสมั ประสท ิ ธิสมรรถนะ(COP)ยิงสูง
2 : อุณหภูมอ ิ ากาศภายนอกยิงตําสม ั ประสท ิ ธิสมรรถนะ(COP)ยิงตํา
3 : อุณหภูมอ ิ ากาศภายนอกยิงตําสม ั ประสท ิ ธิสมรรถนะ(COP)ยิงสูง
4 : อุณหภูมอ ิ ากาศในห ้องเย็นไม่มผ
ี ลต่อสม ั ประสท
ิ ธิสมรรถนะ(COP)

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 339 :
เครืองทําความเย็นแบบอัดไอ(Vapor Compression Refrigeration) ถ ้าเป็ นวัฏจักรอุดมคติ(Ideal Cycle) ให ้
สภาวะของสารทําความเย็นทีออกจากเครืองระเหย(Evaporator)และไหลเข ้าคอมเพรสเซอร์เป็ นสภาวะที 1 และ
สภาวะที 2 เป็ นสภาวะระหว่างคอมเพรสเซอร์กบ ั คอนเดนเซอร์ สว่ นสภาวะที 3 และ 4 ให ้ไล่ไปตามลําดับการไหล
ของสารทําความเย็น ถ ้าอัตราการทําความเย็นเป็ นQL มีหน่วยเป็ น kW ข ้อใดต่อไปนีถูกต ้องหรือใกล ้เคียงทีสุด
1 : ขนาดทําความเย็น(QL) = (h1 – h4) หน่วยเป็ น kW
2 : กําลังอัดของคอมเพรสเซอร์ = QL(h2 – h1) / (h1 – h4) หน่วยเป็ น kW
3 : สมั ประสทิ ธิสมรรถนะ(COP)คือ (h2 – h3)/(h2 – h1)
4 : อัตราระบายความร ้อน = h2 – h3 หน่วยเป็ น kW

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 340 :
เครืองทําความเย็นแบบอัดไอ(Vapor Compression Refrigeration) ถ ้าเป็ นวัฏจักรอุดมคติ(Ideal Cycle) ให ้
สภาวะของสารทําความเย็นทีออกจากเครืองระเหย(Evaporator)และไหลเข ้าคอมเพรสเซอร์เป็ นสภาวะที 1 และ
สภาวะที 2 เป็ นสภาวะระหว่างคอมเพรสเซอร์กบั คอนเดนเซอร์ สว่ นสภาวะที 3 และ 4 ให ้ไล่ไปตามลําดับการไหล
ของสารทําความเย็น ถ ้ากําลังอัดคอมเพรสเซอร์เป็ น Wc มีหน่วยเป็ น kW ข ้อใดต่อไปนีถูกต ้องหรือใกล ้เคียงทีสุด
1 : อัตราการทําความเย็น = Wc (h1 – h4 ) / ( h2 – h1 ) หน่วยเป็ น kW
2 : อัตราการทําความเย็น = Wc (h1 – h4 ) หน่วยเป็ น kW
3 : กําลังอัดคอมเพรสเซอร์ = h2 – h1 หน่วยเป็ น kW
4 : อัตราระบายความร ้อน = h2 – h3 หน่วยเป็ น kW

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 341 :
ความรู ้เกียวกับวัฏจักรทําความเย็นอัดไอ(Vapor Compression Refrigeration Cycle) ต่อไปนี ข ้อใดถูกต ้องหรือ
ใกล ้เคียงทีสุด
1 : สารทําความเย็นไหลผ่านอุปกรณ์ลดความดันแม ้ว่าจะเป็ นทางปฏิบต ั ก
ิ ถ
็ อ
ื ได ้ว่าเอนทัลปี คงที
2 : การอัดของคอมเพรสเซอร์แม ้ว่าจะเป็ นทางปฏิบตั ก
ิ ถ
็ อ
ื ได ้ว่าเอนโทรปี คงที
3 : การอัดของคอมเพรสเซอร์ถอ ื ว่าเอนทัลปี คงที
4 : สารทําความเย็นไหลผ่านอุปกรณ์ลดความดันตามทฤษฎีสมบูรณ์ถอ ื ได ้ว่าเอนโทรปี คงที

คําตอบทีถูกต ้อง : 1
ข ้อที 342 :
ประโยชน์ทส ี ําคัญของการแลกเปลียนความร ้อนระหว่างท่อด ้านดูดและท่อสารทําความเย็นเหลว(Liquid-Suction
Subcooled) คือ
1 : ั ประสท
สม ิ ธิสมรรถนะ(COP) เพิมขึนอย่างมาก
2 : ขนาดทําความเย็น(Cooling Capacity)เพิมขึนอย่างมาก
3 : ทําให ้อุณหภูมส ิ ารทําความเย็นก่อนเข ้าคอมเพรสเซอร์จะเย็นลง
4 : ทําให ้สารทําความเย็นก่อนเข ้าคอมเพรสเซอร์มโี อกาสเป็ นของเหลวได ้น ้อยลง

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 343 :
ิ เกิดขึน ข ้อใดต่อไปนีถูกต ้องหรือ
ระบบทําความเย็นแบบอัดไอ การทีของเหลวไหลผ่านอุปกรณ์ลดความดัน สงที
ใกล ้เคียงความจริงทีสุด
1 : ของเหลวจะกลายเป็ นไอ เพราะความร ้อนจากอากาศรอบๆไหลเข ้า
2 : ความดันลดธรรมชาติบงั คับให ้บางสว่ นต ้องกลายเป็ นไอ ทําให ้ของเหลวทีเหลือเย็นลง ซงไอนั
ึ นก็จะเย็น
ตามไปด ้วย
3 : ความดันลดธรรมชาติบงั คับให ้มันเย็นลงแต่กย็ งั เป็ นของเหลวอยูท
่ งหมด
ั จนกว่าจะไหลเข ้าเครืองระเหยจึง
จะกลายเป็ นไอได ้
4 : ความดันลดเนืองจากความเสย ี ดทาน ทําให ้ร ้อนขึนบางสว่ นจึงกลายเป็ นไอ

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 344 :

โดยปกติแล ้ว เครืองทําความเย็นใชคอนเดนเซอร์ ิ ธิภาพ COP สูงทีสุด
ระบายความร ้อนแบบใด มักมีประสท
1 : คอนเดนเซอร์ระบายความร ้อนด ้วยนํ า(Water-cooled Condenser)
2 : คอนเดนเซอร์ระบายความร ้อนด ้วยการระเหยนํ า(Evaporative Condenser)
3 : คอนเดนเซอร์ระบายความร ้อนด ้วยอากาศ(Air-cooled Condenser)
4 : ไม่มข
ี ้อใดถูก

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 345 :
การระบายความร ้อนดี ทําให ้ของเหลวทีออกจากคอนเดนเซอร์มอ
ี ณ
ุ หภูมต
ิ ํา มีผลทําให ้
1 : ้
กําลังทีใชในการอั ดของคอมเพรสเซอร์ตอ ่ หน่วยการทําความเย็นมีคา่ เพิมขึน
2 : สมั ประสทิ ธิสมรรถนะ( COP )เพิมขึน
3 : ความร ้อนทีถ่ายเททีคอนเดนเซอร์มค ี า่ มากขึนประมาณ 15%
4 : ความดันด ้านตํา(Evaporating Pressur ) ลดลง

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 346 :
การออกแบบเครืองทําความเย็นให ้ Condensing Temperature สูงมักมีผลทําให ้
1 : ิ ธิภาพตํา
เครืองมีประสท
2 : เครืองมีประสทิ ธิภาพสูง
3 : ขนาดทําความเย็นเพิมขึน
4 : คอมเพรสเซอร์มข ี นาดเล็กลง

คําตอบทีถูกต ้อง : 1
ข ้อที 347 :
เครืองทําความเย็นมีอณ
ุ หภูมอิ มตั
ิ วทีเครืองระเหย (Evaporator) -10 องศาเซลเซย ี ส และเป็ นไอร ้อนยวดยิง
(Superheat) 5K อุณหภูมส ิ ารทําความเย็นก่อนเข ้าเครืองอัดไอจะมีอณ
ุ หภูมเิ ท่าไร
1 : 0 องศาเซลเซยี ส
2 : -5 องศาเซลเซย ี ส
3 : -10 องศาเซลเซย ี ส
4 : -15 องศาเซลเซย ี ส

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 348 :
ให ้คํานวณหาคาปาซต ิ ต่
ี ออัตราไหลเชงิ ปริมาตรไอ ของระบบทําความเย็นทีใชสารแอมโมเนี
้ ยทีอุณหภูมก
ิ ลันตัว
(Sat. Condensing Temp.) +40 องศาเซลเซย ี ส และอุณหภูมไิ อระเหย (Sat. Evaporating Temp.) –10 องศา
เซลเซย ี ส โดยกําหนดตารางนํ ายาตามตารางข ้างล่างนี

1 : 12,770 กิโลจูลต่อลูกบาศก์เมตร
2 : 2,536 กิโลจูลต่อลูกบาศก์เมตร
3 : 88 กิโลจูลต่อลูกบาศก์เมตร
4 : 443 กิโลจูลต่อลูกบาศก์เมตร

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 349 :
ให ้คํานวณหาค่า C.O.P. (Coefficient of Performance) ของระบบทําความเย็นตามตาราง และ p-h Diagram ที
กําหนดมาให ้ โดยทีค่า Enthalpy จุดอัดสูงสุดแบบ Isentropic ก่อนเข ้าคอนเดนเซอร์ มีคา่ เท่ากับ 1,925.93
kJ/kg

1 : 1.0
2 : 1.18
3 : 5.05
4 : 4.13

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 350 :
วัฏจักรทําความเย็นอัดไอแบบอุดมคติ (Ideal Vapor Compression Refrigeration) ถ ้าสภาวะที 1 หมายถึงสาร
่ อมเพรสเซอร์เป็ น สว่ นสภาวะที 2, 3 และ 4 ให ้ไล่ไป
ทําความเย็นไหลออกจากเครืองระเหย (Evaporator) เข ้าสูค
ตามลําดับการไหล ต ้องการคํานวณการระบายความร ้อนทีคอนเดนเซอร์เป็ น kJ/kg

1 : m(h2 – h1)
2 : V(h2 – h3)
3 : h2 – h3
4 : m(h2 – h3)

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 351 :
สมมติอากาศภายนอกอุณหภูม ิ 50 องศาเซลเซย ี ส เครืองทําความเย็นแบบระบายความร ้อนด ้วยอากาศ อุณหภูม ิ
Condensing Temperature (TC) ทีดีทสุ
ี ดคือข ้อใด
1 : 55 ี ส
องศาเซลเซย
2 : 50 องศาเซลเซยี ส
3 : 40 องศาเซลเซย ี ส
4 : 60 องศาเซลเซย ี ส

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 352 :
ถ ้าแชแ่ ข็งเนือจระเข ้ 2,000 kg ซงมี
ึ นํา 75% โดยมวล จากอุณหภูม ิ 20 deg.C เป็ น -18 deg.C ภายใน 4 ชวโมง

จุดเยือกแข็งของเนือจระเข ้ -2 deg.C จงหาภาระการทําความเย็น

1 : 35 kW
2 : 45 kW
3 : 49 kW
4 : 52 kW

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 353 :
ี ส ควรออกแบบเครืองทําความเย็นให ้มี Evaporating Temperature (Te)
ห ้องเย็นอุณหภูม ิ -50 องศาเซลเซย
ประมาณเท่าไร
1 : -47 ี ส
องศาเซลเซย
2 : -50 องศาเซลเซยี ส
3 : -55 องศาเซลเซย ี ส
4 : -60 องศาเซลเซย ี ส

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 354 :
วัฏจักรทําความเย็นอัดไอแบบอุดมคติ (Ideal Vapor Compression Refrigeration) ถ ้าสภาวะที 1 หมายถึงสาร
่ อมเพรสเซอร์ สว่ นสภาวะที 2, 3 และ 4 ให ้ไล่ไปตาม
ทําความเย็นไหลออกจากเครืองระเหย (Evaporator) เข ้าสูค

ลําดับการไหล ต ้องการคํานวณงานทีต ้องใชของคอมเพรสเซอร์ เป็ น kW

1 : m(h2 – h1)
2 : V(h1 – h4)
3 : h1 – h3
4 : h2 – h1

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 355 :
สารทําความเย็นใดทีอยูใ่ นกลุม
่ ไฮโดรคาร์บอน (HC)
1 : R-290
2 : R-717
3 : R-718
4 : R-404a

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 356 :
ข ้อใดไม่นย ้
ิ มใชในระบบทํ าความเย็นขนาดเล็ก
1 : Open Type Compressor
2 : Hermetic Compressor
3 : Semi-hermetic Compressor
4 : Scroll-Compressor

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 357 :
การลดความดันของสารทําความเย็น ต ้องคํานึงถึงอะไร
1 : ต ้องได ้อุณหภูมอ
ิ มตั
ิ วตํากว่าอุณหภูมหิ ้องเย็นทีออกแบบ
2 : ต ้องได ้อุณหภูมอิ มตั
ิ วเท่ากับอุณหภูมหิ ้องเย็นทีออกแบบ
3 : ต ้องลดความดันลงมาไม่เกิน 3 บาร์
4 : เมืออัดไอแล ้ว Compression Ratio ไม่เกิน 4 เท่า

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 358 :

สามารถใชประโยชน์
ของไอสารทําความเย็นทีออกจากอีวาโปเรเตอร์ได ้อย่างไรบ ้าง
1 : อุน ื
่ นํ าทีจ่ายเข ้าคอยล์ลดความชน
2 : ซบ ั คูล (Subcool) สารทําความเย็นจากถังพักนํ ายาความดันสูง
3 : อุน่ นํ าให ้ร ้อน
4 : ้
ใชประโยชน์ ไม่ได ้

คําตอบทีถูกต ้อง : 2
ข ้อที 359 :
ถ ้าในทางทฤษฎีอณ ี ส แต่วด
ุ หภูมไิ อสารทําความเย็นขาออกของคอมเพรสเซอร์คํานวณได ้ 90 องศาเซลเซย ั ได ้จริง
112 องศาเซลเซย ี ส หมายความว่าอย่างไร
1 : Isentropic Efficiency ตํากว่า 1
2 : Isentropic Efficiency สูงกว่า 1
3 : COP ตํากว่า 1
4 : เกิด Pressure Drop ในคอนเดนเซอร์มากเกินไป

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 360 :
ั เจนทีสุดอย่างไร
ในระบบทําความเย็นแบบอัดไอ ถ ้า Isentropic Efficiency ไม่เท่ากับ 1 จะให ้ผลทีเห็นได ้ชด
1 : ให ้ผลการทําความเย็น (Refrigerating Effect) ดีขน

2 : อุณหภูมค ิ วบแน่นสูงขึน
3 : อุณหภูมข ิ าออกคอมเพรสเซอร์สงู กว่าเดิม
4 : ไม่มผ ิ
ี ลต่ออุณหภูมใิ ดๆ ทังสน

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 361 :
ข ้อใดทําไม่ได ้ในทางปฏิบต
ั ิ
1 : ออกแบบระบบให ้มีการซบ ั คูล (Subcooling)
2 : ้
ออกแบบให ้ใชโพรเพนเป็ นสารทําความเย็น
3 : ้ บอนไดออกไซด์เป็ นสารทําความเย็น
ออกแบบให ้ใชคาร์
4 : ออกแบบให ้อุณหภูมคิ วบแน่นตํากว่าอุณหภูมอิ ากาศภายนอกหรือนํ า

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 362 :
ข ้อใดกล่าวถูกต ้อง
1 : ้
ถ ้าใชคอมเพรสเซอร์ ทมีี กําลังผลิตความเย็นมากๆ จะยิงมี COP ของระบบสูง
2 : ถ ้าอุณหภูมไิ อสารทําความเย็นทีทางสง่ ตํากว่าค่าทางทฤษฎีแสดงว่าคอมเพรสเซอร์มป ิ ธิภาพสูง
ี ระสท
3 : ถ ้าลดการเกิด Flash Gas ทีวาล์วลดความดันได ้ก็จะได ้ COP ของระบบสูงขึน
4 : ถ ้าใชอั้ ตราการไหลเชงิ มวลมากกว่าค่าทางทฤษฎีกจ ็ ะได ้ COP ของระบบสูงขึน

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 363 :
ระบบทําความเย็นแบบคาสเคด (Cascade) ทีใช้แอมโมเนียกับคาร์บอนไดออกไซด์ มีขอ้ ควรระวังอย่างไร
1 : การรัวของสารทําความเย็นที Heat Exchanger ทําให้เกิด Ammonium Carbamate
2 : ความดันควบแน่นของวงจรด้านความดันสู ง จะสู งมาก
3 : อุณหภูมิไอระเหยของแอมโมเนี ยต้องตํามาก
4 : อุณหภูมิทีใช้งานของคาร์ บอนไดออกไซด์มีความดันตําผิดปกติ

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

เนือหาวิชา : 400 : Chapter 3:Refrigeration Load Calculation


ข ้อที 364 :

1 : 100 W
2 : 152 W
3 : 222 W
4 : 252 W

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 365 :
จงคํานวณหาอัตราการไหลของความร ้อนทีผ่านผนังกว ้าง 5 เมตร ยาว 10 เมตร ถ ้าสม ั ประสท
ิ ธิการถ่ายเทความ
ร ้อนของผนังเท่ากับ 0.37 วัตต์ตอ
่ ตารางเมตรเคลวิน อุณหภูมภ
ิ ายนอกเท่ากับ 40 องศาเซลเซย ี ส อุณหภูมภ
ิ ายใน
10 องศาเซลเซย ี ส
1 : 740 W
2 : 555 W
3 : 185 W
4 : 4,054 W

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 366 :
โดยปกติทวไป
ั การถนอมอาหารโดยวิธแ ี ชเ่ ยือกแข็ง จะต ้องนํ าอาหารเข ้าแชใ่ นห ้องแชเ่ ยือกแข็ง
จนกระทังอาหารมีอณ
ุ หภูมท
ิ ใจกลางตํ
ี าลงมาทีอย่างน ้อยกีองศาเซลเซย ี ส

1:

2:

3:

4:

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 367 :

1 : 135 W
2 : 140 W
3 : 145 W
4 : 150 W

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 368 :
1 : 0.32 kW
2 : 0.36 kW
3 : 0.38 kW
4 : 0.40 kW

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 369 :
่ ข็งให ้มีอณ
เนือไก่ 136 kg อุณหภูม ิ 4.4 deg.C นํ าเข ้าห ้องเย็นเพือการแชแ ั
ุ หภูม-ิ 20.6 deg.C ภายใน 12 ชวโมง
จงคํานวณอัตราการดึงความร ้อนออกจากเนือไก่ กําหนดให ้อุณหภูมเิ ยือกแข็งของไก่ -2.8 deg.C, ค่าความร ้อน
จําเพาะก่อนถึงจุดเยือกแข็ง 3.35 kJ/kgK, ค่าความร ้อนแฝงเพือการแชแ ่ ข็ง 246.6 kJ/kg, ค่าความร ้อนจําเพาะตํา
กว่าจุดเยือกแข็ง 1.76 kJ/kgK
1 : 852.3 watt
2 : 847.9 watt
3 : 936.9 watt
4 : 951 watt

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 370 :
สําหรับห ้องเก็บสน
ิ ค ้า ภาระการทําความเย็นใดมีเฉพาะในผักผลไม ้
1 : Respiration Load
2 : Above Freezing Heat Load
3 : Below Freezing Heat Load
4 : Latent Heat Load

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 371 :
ข ้อใดเป็ นการลดภาระความร ้อนของคอยล์เย็นในห ้อง
1 : การทํา Precool Fresh Air
2 : การเพิมจํานวนครีบคอยล์เย็น
3 : การเพิมจํานวนรอบละลายนํ าแข็ง
4 : การเพิมขนาดฮที เตอร์ละลายนํ าแข็ง

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 372 :
Fresh Air ทีนํ าเข ้ามาในห ้อง ทําให ้เกิดภาระการทําความเย็นจากอะไร
ื และความร ้อน
1 : ความชน
2 : ฝุ่ นละออง
3 : ความชืน
4 : Respiration Load

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 373 :
การดึง Latent Heat ออกจากสิ นค้าจะเกิดขึนในช่วงใด
1 : อุณหภูมิสินค้าได้ 0 องศาเซลเซี ยส
2 : อุณหภูมส ิ ิ นค้ าถึงจุดเยือกแข็ง
3 : อุณหภูมิหอ ้ งลดเหลือ 0 องศาเซลเซียส
4 : อุณหภูมิลมเย็นเท่ากับจุดเยือกแข็งของสิ นค้า

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 374 :
มอเตอร์คอมเพรสเซอร์มีผลต่อปริ มาณภาระการทําความเย็นของคอยล์เย็นหรื อไม่
1 : ไม่มี เพราะไม่ได้อยูใ่ นห้องเย็น
2 : มี เพราะต้องเผือกําลังผลิตความเย็นสําหรับมอเตอร์ ดว้ ย
3 : ไม่มี เพราะมีการระบายความร้อนให้คอมเพรสเซอร์ ต่างหาก
4 : มี เพราะถ้าประสิ ทธิ ภาพตําจะทําให้ภาระการทําความเย็นสู งขึน

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 375 :
ภาระของคอนเดนเซอร์คือข้อใด
1 : ภาระการทําความเย็นของคอยล์เย็น
2 : ความร้อนทีเกิดจากการอัดไอ
3 : ภาระการทําความเย็นของคอยล์เย็นและความร้อนทีเกิดจากการอัดไอ
4 : ความร้อนทีเกิดจากการอัดไอคูณสองเท่า

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 376 :
ในห้องสายงานผลิตทีมีผปู ้ ฏิบตั ิงาน จะต้องคํานึงถึงเรื องอะไรบ้าง
1 : อุณหภูมิหอ
้ งอย่างเดียว
2 : อุณหภูมิหอ้ ง ความชืนสัมพัทธ์ และปริ มาณอากาศไหลเวียน
3 : ความชืนสัมพัทธ์
4 : ปริ มาณอากาศไหลเวียน

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

เนือหาวิชา : 401 : Chapter 4:Refrigeration Components,Refrigerant Piping and Design

ข ้อที 377 :
อุปกรณ์แยกนํ ายาเหลว (accumulator) ติดตังระหว่างอุปกรณ์ใด
1 : เครืองอัดไอ (compressor) - เครืองควบแน่น (condenser)
2 : เครืองควบแน่น (condenser) - ถังพักนํ ายาเหลว (receiver)
3 : ถังพักนํ ายาเหลว (receiver) - วาล์วระเหยสารทําความเย็น (expansion valve)
4 : เครืองระเหย (evaporator) - เครืองอัดไอ (compressor)

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 378 :
นํ ามันทีถูกแยกออกจากอุปกรณ์แยกนํ ามันหล่อหลืน (oil separator) จะถูกสง่ ไปทีอุปกรณ์ใด
1 : เครืองระเหย (evaporator)
2 : เครืองอัดไอ (compressor)
3 : ถังพักนํ ายาเหลว (receiver)
4 : เครืองควบแน่น (condenser)

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 379 :
สภาวะอากาศภายนอกแบบใดทีทําให ้ Evaporative Condenser มีสมรรถภาพสูงสุด
1 : วันทีอากาศมีอณ
ุ หภูมก ิ ระเปาะแห ้งสูง
2 : วันทีอากาศมีอณุ หภูมก ิ ระเปาะแห ้งตํา
3 : วันทีอากาศมีอณ ุ หภูมก ิ ระเปาะเปี ยกสูง
4 : วันทีอากาศมีอณ ุ หภูมก ิ ระเปาะเปี ยกตํา

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 380 :

หลักในการเลือกขนาดของคอนเดนเซอร์เพือมาใชงานในระบบทํ าความเย็นคือข ้อใด
1 : ต ้องมีขนาดเพียงพอทีจะรับภาระความร ้อนจากระบบได ้
2 : ต ้องมีขนาดเพียงพอทีจะใชส้ ําหรับเพิมความดันของสารทําความเย็นให ้เพียงพอทีจะนํ าไปใชงานได
้ ้
3 : ต ้องมีขนาดเพียงพอทีจะถ่ายเทความร ้อนออกจากระบบได ้
4 : ต ้องมีขนาดเพียงพอทีจะรองรับปริมาณสารทําความเย็นในระบบได ้

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 381 :

หลักในการเลือกขนาดของอีแวปโพเรเตอร์เพือมาใชงานในระบบทํ าความเย็นคือข ้อใด
1 : ต ้องมีขนาดเพียงพอทีจะรับภาระความร ้อนจากระบบได ้
2 : ต ้องมีขนาดเพียงพอทีจะใชส้ ําหรับเพิมความดันของสารทําความเย็นให ้เพียงพอทีจะนํ าไปใชงานได
้ ้
3 : ต ้องมีขนาดเพียงพอทีจะถ่ายเทความร ้อนออกจากระบบได ้
4 : ต ้องมีขนาดเพียงพอทีจะรองรับปริมาณสารทําความเย็นในระบบได ้

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 382 :
้ วลดความดัน (Expansion Valve) ทีมีขนาด (Capacity) ใหญ่กว่าทีขนาดทีเหมาะสมไปติดตังกับ
หากนํ าใชวาล์
เครืองทําความเย็นจะทําให ้เกิดผลกระทบอย่างไร
1 : ความดันทีสารทําความเย็นกลันตัวจะสูงขึน
2 : ความดันทีสารทําความเย็นระเหยจะสูงขึน
3 : สารทําความเย็นจะไหลเข ้าเครืองระเหย (Evaporator) น ้อยหรือมากเกินไปสลับกันไป (Hunting)
4 : มีสารทําความเย็นเหลวไหลเข ้าคอมเพรสเซอร์เป็ นจํานวนมากตลอดการทํางาน

คําตอบทีถูกต ้อง : 3
ข ้อที 383 :
R-134a เป็ นสารทําความเย็นประเภทใด
1 : CFC
2 : HFC
3 : HCFC
4 : HFFC

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 384 :
R-134a เป็ นสารทําความเย็นทีมีผลกระทบต่อสภาวะแวดล ้อมด ้านไหน
1 : ทําลายโอโซน
2 : ้ เ์ อฟเฟค
ทําให ้เกิดกรีนเฮาส
3 : ้ เ์ อฟเฟค
ทําลายโอโซนและทําให ้เกิดกรีนเฮาส
4 : ไม่ทําลายโอโซนและไม่ทําให ้เกิดกรีนเฮาส้ เ์ อฟเฟค

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 385 :
สารทําความเย็นแอมโมเนียมี Refrigerant Number อะไร
1 : R-717
2 : R-718
3 : R-744
4 : R-290

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 386 :
สารทําความเย็นคาร์บอนไดออกไซด์ม ี Refrigerant Number อะไร
1 : R-717
2 : R-718
3 : R-744
4 : R-290

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 387 :
สารทําความเย็นนํ ามี Refrigerant Number อะไร
1 : R-717
2 : R-718
3 : R-744
4 : R-290

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 388 :
ระบบทําความเย็นทีไม่ม ี Liquid Sub-cooling อาจทําให ้เกิดปั ญหาดังต่อไปนี
1 : ปริมาณสารทําความเย็นหมุนเวียนในระบบไม่เพียงพอ
2 : อุณหภูมท
ิ างดูดตําเกินไป
3 : อุณหภูมทิ างสง่ ตําเกินไป
4 : ความดันนํ ามันตําเกินไป

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 389 :
ระบบทําความเย็นทีมีอากาศในระบบ จะทําให ้เกิดปั ญหาดังต่อไปนี
1 : ความดันทางสง่ สูงกว่าปกติ
2 : สารทําความเย็นมีคณุ สมบัตทิ ําความเย็นได ้น ้อยลงเพราะมีอากาศผสมอยู่
3 : สารทําความเย็นไหลเข ้าคอล์ยเย็นได ้ยากเพราะอากาศขวางอยู่
4 : คอมเพรสเซอร์ดด ู สารทําความเย็นได ้น ้อยลงเพราะอากาศขวางอยูใ่ นท่อทางดูด

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 390 :

ระบบทําความเย็นโดยทัวไปในประเทศไทย ทีใชการระบายความร ้อนด ้วยนํ า มีอณ
ุ หภูมก
ิ ลันตัวออกแบบเท่าไร

1:
2:
3:
4:

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 391 :

ระบบทําความเย็นทีใชสารทํ าความเย็น HFC ทีมีขนาดท่อ Suction ใหญ่เกินไป ถึงแม ้ว่าจะมีข ้อดีคอ
ื ความดันสูญ
เสย ี ภายในท่อตํา แต่มข ี คือ
ี ้อเสย
1 : นํ ามันหล่อลืนจากคอล์ยเย็นไม่สามารถไหลกลับไปเครืองอัดนํ ายา
2 : ิ
สนเปลื องสารทําความเย็นในระบบมากขึน
3 : สูญเสย ี ความร ้อนผ่านผนังท่อทางดูดทีมีพนที
ื ผิวมากขึน
4 : ิ
สนเปลืองค่าฉนวนหุ ้มท่อทางดูดมากขึน

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 392 :
ข ้อใดเป็ นผลจากการรวมตัวกับนํ ามันของสารทําความเย็น
1 : ความสามารถในการถ่ายเทความร ้อนทีเครืองควบแน่นเพิมขึน
2 : ความหนืดของนํ ามันทีผสมกับสารความเย็นเพิมขึน
3 : การรวมตัวของนํ ามันหล่อลืนกับสารความเย็น ทําให ้ความสามารถในการหล่อลืนลดลง
4 : การผสมกันระหว่างนํ ามันหล่อลืนกับสารทําความเย็นทําให ้การหล่อลืนดีขน

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 393 :
ข ้อใดเป็ นหลักการของท่อแคพิลลารี (Capillary tube)
1 : เพิมความดันของสารความเย็นจากเครืองควบแน่น (Condenser) มายังเครืองระเหย (Evaporator)
2 : เป็ นกระบวนการ Throttling
3 : เป็ นกระบวนการเพิมอุณหภูมใิ ห ้กับสารทําความเย็น
4 : เป็ นการเพิมความดันของสารทําความเย็น โดยให ้งานกับระบบ

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 394 :
ข ้อใดเป็ นผลทีเกิดเมือสารทําความเย็นเหลวไหลเข ้าเครืองอัดไอ
1 : ทําให ้เครืองอัดไอพัง
2 : ทําให ้ความดันด ้านดูดลดลง
3 : ประสทิ ธิภาพการอัดเพิมขึน
4 : ึ วออกมาปนกับสารทําความเย็นมากขึน
ทําให ้นํ ามันซงรั

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 395 :
เพราะเหตุใด Evaporative condenser จึงต ้องมีการระบายนํ าทิง (Bleed –off)
1 : เพือลดความเข ้มข ้นของนํ า
2 : เพือลดอุณหภูมข ิ องนํ า
3 : เพือลดขนาดของปั มนํ า
4 : เพือเพิมอัตราการถ่ายเทความร ้อน

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 396 :

สารทําความเย็นในข ้อใดทําลายโอโซน และถูกห ้ามใชในประเทศที
พัฒนาแล ้ว
1 : R-12
2 : R-134a

3:

4:

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 397 :
ในการเลือกขนาดอัตราระบายความร ้อนของคอนเดนเซอร์ ถ ้าเผืออัตราระบายความร ้อนให ้เพิมขึน หรือให ้ขนาด
คอนเดนเซอร์ใหญ่ขนึ 25% จะมีผลอันใดต่อระบบทําความเย็น
1 : คอมเพรสเซอร์จะต ้องทํางานหนักขึนเพราะต ้องอัดสารทําความเย็นเข ้ามากขึน
2 : นํ ามันจะค ้างอยูใ่ นคอนเด็นเซอร์เพราะความเร็วของสารทําความเย็นลดลง
3 : ไม่ควรทําอย่างยิงเพราะไอบางสว่ นอาจเล็ดลอดออกไปยังอุปกรณ์ลดความดัน
4 : สม ั ประสท
ิ ธิสมรรถนะ(COP)ของระบบทําความเย็นจะเพิมขึน

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 398 :
ในการเลือกขนาดหอทําความเย็น(Cooling Tower) ในทางปฎิบต
ั ิ ค่าทีต ้องทราบอย่างน ้อยทีสุดคือ
1 : อุณหภูมก ิ ระเปาะเปี ยกของอากาศภายนอก อัตราการไหลของนํ า ขนาดทําความเย็นของเครืองทําความเย็น
อุณหภูมนิ ํ าเข ้า และอุณหภูมนิ ํ าออก
2 : อุณหภูมก ิ ระเปาะเปี ยกของอากาศภายนอก อัตราการไหลของนํ า อุณหภูมนิ ํ าเข ้า และอุณหภูมนิ ํ าออก
3 : อัตราการไหลของนํ า ขนาดทําความเย็นของเครืองทําความเย็น อุณหภูมน ิ ํ าเข ้า และอุณหภูมนิ ํ าออก
4 : อุณหภูมอ
ิ ากาศภายนอก อัตราการไหลของนํ า ขนาดทําความเย็นของเครืองทําความเย็น อุณหภูมน
ิ ํ าเข ้า
และอุณหภูมน ิ ํ าออก

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 399 :
ในเครื องปรับอากาศแบบแยกส่ วน(Split Type Air Conditioner) ผูผ้ ลิตรายใหญ่ๆมักทดสอบขนาดความสามารถในการทําความ
เย็น(Cooling Capacity)แยกเป็ น ( )ชุดควบแน่น(Condensing Unit)ซึงประกอบด้วย คอมเพรสเซอร์และคอนเดนเซอร์พร้อม
พัดลม โดยมีตวั แปรคืออุณหภูมิอากาศทีใช้ระบายความร้อน อุณหภูมิอิมตัวด้านดูด(Saturated Suction Temperature)หรื ออุณหภูมิ
ระเหย(Evaporating Temperature) และ (2) หน่วยแฟนคอยล์(Fan Coil Unit)ซึงประกอบด้วยEvaporatorและพัดลมโดยมีตวั แปร
คือ อุณหภูมิอากาศเข้าหน่วยแฟนคอยล์ และอุณหภูมิระเหย(อุณหภูมิอิมตัวด้านดูด) ข้อความต่อไปนีข้อใดถูกต้องหรื อใกล้เคียง
ทีสุ ด
1 : สําหรับชุดควบแน่น ให ้อุณหภูมอ ้
ิ ากาศทีใชระบายความร ้อนคงที ถ ้าอุณหภูมอ
ิ มตั
ิ วด ้านดูดลดลง ขนาดความ
สามารถในการทําความเย็นจะเพิมขึน
2 : สําหรับชุดควบแน่น ให ้อุณหภูมอ ้
ิ ากาศทีใชระบายความร ้อนลดลง และให ้อุณหภูมอ ิ มตั
ิ วด ้านดูดลดลง
ขนาดความสามารถในการทําความเย็นจะลดลง
3 : สําหรับหน่วยแฟนคอยล์ ให ้อุณหภูมอ ิ ากาศเข ้าหน่วยแฟนคอยล์คงที และให ้อุณหภูมอ ิ มตั
ิ วด ้านดูดลดลง
ขนาดความสามารถในการทําความเย็นจะเพิมขึน
4 : สําหรับหน่วยแฟนคอยล์ ให ้อุณหภูมอ ิ ากาศเข ้าหน่วยแฟนคอยล์คงที และให ้อุณหภูมอ ิ มตั
ิ วด ้านดูดลดลง
ขนาดความสามารถในการทําความเย็นจะลดลง

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 400 :
ความรู ้เกียวกับคอยล์ของเครืองระเหย(Evaporator Coil) แบบมีครีบอลูมเิ นียม ข ้อความใดต่อไปนีถูกต ้องหรือใกล ้
เคียงความจริงทีสุด
1 : ระยะห่างระหว่างครีบของคอยล์ทใช ้
ี ในเครื องปรับอากาศจะมากทีสุด
2 : อัตราอากาศไหลและอืนๆคงเดิม ถ ้าเพิมจํานวนแถวตามแนวลึก(Rows Deep) ขนาดทําความเย็นจะเพิมขึน
และสภาวะของอากาศทีผ่านคอยล์ออกมาจะมีอณ ุ หภูมต ั ราสว่ นความชน(Humidity
ิ ําลง แต่อต ื Ratio)จะเพิมขึน
3 : ทุกอย่างคงเดิม ถ ้าเพิมอัตราไหลหรือความเร็วลมผ่านคอยล์ ขนาดทําความเย็นจะเพิมแต่สภาวะของอากาศ
ทีผ่านคอยล์ออกมาจะมีอณ ุ หภูมแ ิ ละอัตราสว่ นความชน(Humidity
ื Ratio)เพิมขึน
4 : ทุกอย่างคงเดิม ถ ้าเพิมอัตราไหลหรือความเร็วลมผ่านคอยล์ ขนาดทําความเย็นจะเพิม และสภาวะของ
อากาศทีผ่านคอยล์ออกมาจะมีอณ ุ หภูมต ั ราสว่ นความชน(Humidity
ิ ําลง แต่อต ื Ratio)เพิมขึน

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

You might also like