You are on page 1of 156

สาขา: เครื่องกล วิชา: ME83 Aircraft Power Plant

ขอที่ : 1
ขอใดไมใชเครื่องยนตประเภทใชอากาศ (Air-breathing Engine)
คําตอบ 1 : กังหันเจ็ต (Turbojet)


คําตอบ 2 : กังหันพัดลม (Turbofan)

่ า
คําตอบ 3 : แรมเจ็ต (Ramjet)


คําตอบ 4 : จรวด (Rocket)

ขอที่ : 2

จ ำ ห

ขอใดตอไปนี้คือขอดอยของเครื่องยนตประเภทใชอากาศ (Air-breathing Engine)

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : เชื้อเพลิงตองมาจากปโตรเลียมเทานั้น
คําตอบ 2 : มีขอจํากัดของขนาดแรงขับดัน
คําตอบ 3 : ไมสามารถใชงานในอวกาศได

ิท
คําตอบ 4 : มีประสิทธิภาพต่ํา

นส

ขอที่ : 3


เครื่องบินประเภท 2 เครื่องยนตขณะบินในแนวระดับดวยความเร็วคงที่อยางสมดุล มีแรงยกและแรงตานอากาศกระทํากับเครื่องบินเทากับ L และ D ตามลําดับ จงหาขนาดแรงขับดัน


ของแตละเครื่องยนต
คําตอบ 1 : D/2

ขอ
กร
คําตอบ 2 : D


คําตอบ 3 : L



คําตอบ 4 : L/2

ขอที่ : 4

ภ าว

เครื่องบินมีความเร็ว 330 เมตร/วินาที และอุณหภูมิภายนอก -58 องศาเซลเซียส จงหาวาความเร็วของเครื่องบินจัดอยูในยานใด (กําหนดใหมวลโมเลกุลของอากาศเทากับ 28.98
กิโลกรัม/กิโลกรัมโมล, คาคงตัวสากลของแกสอุดมคติเทากับ 8314.472 จูล/กิโลกรัมโมล/เคลวิน, อัตราสวนความรอนจําเพาะ (γ) เทากับ 1.4)
คําตอบ 1 : Subsonic
คําตอบ 2 : Sonic
คําตอบ 3 : Transonic
คําตอบ 4 : Hypersonic
1 of 156

ขอที่ : 5
ความสัมพันธระหวางความเร็วอากาศที่ตําแหนง 1 (V1) และ 2 (V2) ขอใดตอไปนี้ถูกตองที่สุดในการบินยานความเร็วต่ํากวาเสียง (Subsonic)


คําตอบ 1 : V1 > V2
คําตอบ 2 : V1 < V2
น่ า
คําตอบ 3 : V1 = V2

จ ำ ห

คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูก

า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 6
ความสัมพันธระหวางความเร็วอากาศที่ตําแหนง 1 (V1) และ 2 (V2) ขอใดตอไปนี้ถูกตองที่สุดในการบินยานความเร็วเหนือเสียง (Supersonic)

ส ิท
ง ว น
อ ส

คําตอบ 1 : V1 > V2

กร
คําตอบ 2 : V1 < V2
คําตอบ 3 : V1 = V2

ิ ว
าว
คําตอบ 4 : ไมมีขอถูก

ขอที่ : 7
ส ภ
อากาศมีคาความดันสแตกเนชัน (stagnation pressure) และ อุณหภูมิสแตกเนชัน (stagnation temperature) เปน 7 เมกกะแพสคัล (MPa) และ 2,800 เคลวิน ตามลําดับ ถาความ
ดันและอุณหภูมิบรรยากาศเปน 101.3 กิโลแพสคัล (kPa) และ 293 เคลวิน อากาศจะมีความเร็วเทาใด (กําหนดใหอัตราสวนความรอนจําเพาะ (γ) เทากับ 1.4, คาคงตัวสากลของ
แกสอุดมคติเทากับ = 287 จูล/กิโลกรัม/เคลวิน)
คําตอบ 1 : 377 เมตร/วินาที
คําตอบ 2 : 577 เมตร/วินาที 2 of 156

คําตอบ 3 : 1,177 เมตร/วินาที


คําตอบ 4 : 2,277 เมตร/วินาที

ขอที่ : 8

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : 800 m/sec
คําตอบ 2 : 900 m/sec
คําตอบ 3 : 1,000 m/sec

ิท
คําตอบ 4 : 1,100 m/sec

นส

ขอที่ : 9

ส ง
ขอ
ว กร
าว ศ


คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :
3 of 156
คําตอบ 4 :

ขอที่ : 10
ขอใดคือความหมายของ ประสิทธิภาพแรงขับ (propulsive efficiency)
คําตอบ 1 : อัตราสวนระหวางกําลังของเครื่องบิน( aircraft power) ตอ กําลังที่ผลิตไดจากเครื่องยนต (net power out of the engine)

่ า ย
คําตอบ 2 : อัตราสวนระหวางแรงขับของเครื่องบิน (aircraft thrust) ตอกําลังที่ผลิตไดจากเครื่องยนต (net power out of the engine)


คําตอบ 3 : ผลคูณระหวาง Thermal efficiency กับ ความเร็วของเครื่องบิน


คําตอบ 4 : ผลคูณระหวางความเร็วของเครื่องบิน กับ กําลังที่ผลิตไดจากเครื่องยนต (net power out of the engine)

จ ำ

ขอที่ : 11

า้
ถาเครื่องบินบินดวยความเร็ว 400 กิโลเมตร/ชั่วโมง และมีความเร็วของกระแสของไหลที่บริเวณทางออกของเครื่องยนต (velocity at exit) เทากับ 1,200 กิโลเมตร/ชั่วโมง จง

ิธ์ ห
คํานวณหาประสิทธิภาพแรงขับ (propulsive efficiency)
คําตอบ 1 : 71%

ิท
คําตอบ 2 : 70.3%


คําตอบ 3 : 66.7%


คําตอบ 4 : 50%

ง ว

ขอที่ : 12


ขอใดคือความหมายของประสิทธิภาพอุณหภาพ (Thermal efficiency)
คําตอบ 1 :

กร ข
อัตราสวนระหวางงานที่เครื่องยนตผลิตไดกับปริมาณความรอนที่เกิดจากเชื้อเพลิงที่เผาไหมในเครื่องยนต


คําตอบ 2 : อัตราสวนระหวางงานที่เครื่องยนตผลิตไดกับพลังงานที่ไดจากขบวนการเผาไหมกับอากาศในเครื่องยนต



คําตอบ 3 : อัตราสวนระหวางกําลังงานที่เครื่องยนตผลิตไดกับอัตราการไหลมวลเชื้อเพลิง (fuel flow rate)

าว
คําตอบ 4 : อัตราสวนระหวางอุณหภูมิของกาซที่หองเผาไหมกับอัตราการไหลมวลเชื้อเพลิง( fuel flow rate)

ขอที่ : 13

ส ภ
4 of 156
่ า ย

คําตอบ 1 : 69.2%


คําตอบ 2 : 10.23%


คําตอบ 3 : 57.35%
คําตอบ 4 : 40.6%

มจ
า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 14
ขอใดกลาวไมถูกตองเกี่ยวกับประสิทธิภาพอุณหภาพ (Thermal efficiency)
คําตอบ 1 :

ส ิท
ประสิทธิภาพอุณหภาพเพิ่มขึ้นตาม อุณหภูมิที่ทางเขากังหัน (Turbine inlet) เพิ่มขึ้น

คําตอบ 2 :
rate) สูงขึ้น
ง ว น
ประสิทธิภาพอุณหภาพเพิ่มขึ้นตามความเร็วของอากาศ (air speed) ที่เพิ่มขึ้นเนื่องจากปรากฏารณกระแทก (Ram effect) ที่ทําให อัตราการไหลมวลอากาศ (mass flow

คําตอบ 3 :

อ ส
ความรอนของเชื้อเพลิง (fuel heating value) มีผลตอประสิทธิภาพอุณหภาพ
คําตอบ 4 :

กร ข
เครื่องยนตที่จะใหคาประสิทธิภาพอุณหภาพสูงๆ นั้นตองมีคา ประสิทธิภาพแรงขับ (propulsive efficiency) สูงดวย


ิ ว
าว
ขอที่ : 15


จงคํานวณหา Thrust specific fuel consumption ของเครื่องยนตที่มีคุณลักษณะดังนี้


Thrust = 50 kN

อัตราการไหลมวลอากาศ (Air mass flow rate) = 45 kg/sec

อัตราการไหลของมวลเชื้อเพลิง (Fuel mass flow rate) = 2.65 kg/sec

ความเร็วของเครื่องบิน = 240 m/sec


5 of 156

โดยสมมุติวาความดันที่ทางออก (exit pressure) เทากับความดันบรรยากาศ (ambient pressure)


คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :


คําตอบ 3 :

น่ า

คําตอบ 4 :

จ ำ
ขอที่ : 16

า้ ม
ิธ์ ห
ตัวแปรใดไมเกี่ยวของกับการบงบอกสมรรถนะของเครื่องยนตสําหรับอากาศยาน
คําตอบ 1 : ความยาวของเครื่องยนต (Engine length)
คําตอบ 2 : แรงขับจําเพาะ (Specific Thrust)
ส ิท
คําตอบ 3 :

ว น
อัตราการใชเชื้อเพลิงจําเพาะ (Thrust Specific Fuel Consumption)



คําตอบ 4 : อัตราสวนเชื้อเพลิงตออากาศ (Fuel/Air Ratio)

ขอ
กร
ขอที่ : 17


ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 : 1,515.03 N
คําตอบ 2 : 1,000 N 6 of 156

คําตอบ 3 : 103,005 N
คําตอบ 4 : 1,343.35 N

ขอที่ : 18
ในเครื่องยนตประเภทใชอากาศ (Air-Breathing Engine) ชิ้นสวนในขอใดที่ไมไดจัดอยูในตัวกําเนิดแกส (Gas Generator)
คําตอบ 1 : ตัวอัดอากาศ (Compressor)
คําตอบ 2 : ตัวเผาไหม (Combustor)
่ า ย
คําตอบ 3 : กังหัน (Turbine)

หน
คําตอบ 4 : หองสันดาปทาย (Afterburner)

จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ขอที่ : 19
ขอใดคือหลักการในการสรางแรงขับของเครื่องยนตกังหันเจ็ต (Turbojet)

ิท
คําตอบ 1 : เปลี่ยนแปลงพลังงานภายใน (Internal Energy) ใหอยูในรูปของพลังงานจลน (Kinetic Energy)
คําตอบ 2 :

นส
เปลี่ยนแปลงพลังงานภายใน (Internal Energy) ใหอยูในรูปของพลังงานศักย (Potential Energy)
คําตอบ 3 :

ง ว
เปลี่ยนแปลงพลังงานภายนอก (External Energy) ใหอยูในรูปของพลังงานจลน (Kinetic Energy)
คําตอบ 4 :

อ ส
เปลี่ยนแปลงพลังงานภายนอก (External Energy) ใหอยูในรูปของพลังงานศักย (Potential Energy)

กร ข

ขอที่ : 20



ในการหาขนาดแรงขับ (Thrust) ของเครื่องยนต มีแนวคิดพื้นฐานมาจากขอใด
คําตอบ 1 :

ภ าว
สมการเบอรนูลี่ (Bernoulli's equation)


คําตอบ 2 : กฏของนิวตันที่วา แรงเกิดจากมวลมีความเรง ( F = m x a )
คําตอบ 3 : กฏของนิวตันที่วา หากไมมีแรงใดๆมากระทําตอวัตถุ วัตถุนั้นจะเคลื่อนที่แบบไมมีความเรง

คําตอบ 4 : เครื่องยนตมีการเผาไหมจึงทําใหเกิดแรงขึ้น

ขอที่ : 21 7 of 156
แนวความคิดหาคาแรงขับ (Thrust) เกิดจาก
คําตอบ 1 : มีการเปลี่ยนแปลงความเร็วของกระแสอากาศ
คําตอบ 2 : เพิ่มความเร็วกระแสอากาศที่ทางออก
คําตอบ 3 : เพิ่มคาความดันที่ทางออก


ถูกทุกขอ

่ า
คําตอบ 4 :

หน

ขอที่ : 22


จงหาคากําลัง (Power) ของอากาศยานลําหนึ่งที่มีความเร็วในขณะนั้น 60 เมตร/วินาที และมีคาแรงขับ 120 กิโลนิวตัน
คําตอบ 1 : 120 กิโลนิวตัน (kN)
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 2 : 120 กิโลวัตต (kW)

ิท
คําตอบ 3 : 7,200 กิโลนิวตัน (kN)
คําตอบ 4 : 7,200 กิโลวัตต (kW)

นส
ง ว

ขอที่ : 23

ขอ
ว กร
าว ศ


คําตอบ 1 : 1,564 kW


คําตอบ 2 : 3,128 kW
คําตอบ 3 : 782 kW
คําตอบ 4 : 2,346 kW

ขอที่ : 24
กระบวนการที่ไมมีความรอนเขารวมปฏิสัมพันธ (Process in which there are no heat interactions) หมายถึงขอใด 8 of 156

คําตอบ 1 :
อะเดียบาติก (Adiabatic)
คําตอบ 2 : ยอนกลับได (Reversible)
คําตอบ 3 : ไอโซเมทริก (Isometric)
คําตอบ 4 : ยอนกลับไมได (Irreversible)

่ า ย

ขอที่ : 25


ขอใดคือหัวใจหลักของการทํางานของตัวกําเนิดแกส (Gas Generator) ของเครื่องยนตประเภทใชอากาศ (Air-Breathing Engine)
ทําใหมีความหนาแนนสูงขึ้นเทานั้น
จ ำ

คําตอบ 1 :

า้
คําตอบ 2 : ทําใหมีอุณหภูมิสูงขึ้นเทานั้น

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : ทําใหมีความดันสูงขึ้นเทานั้น

ิท
คําตอบ 4 : ทําใหมีอุณหภูมิและความดันสูงขึ้น

นส

ขอที่ : 26

ส ง
ขอใดคือความแตกตางระหวางเครื่องยนตไอพนชนิดกระแทก (Ramjet) กับเครื่องยนตเจ็ต (Turbojet)
คําตอบ 1 :

ขอ
เครื่องยนตไอพนชนิดกระแทก (Ramjet) ไมมีเขตการเผาไหม (Combustion Zone) แตเครื่องยนตกังหันเจ็ต (Turbojet) มี

กร
คําตอบ 2 : เครื่องยนตไอพนชนิดกระแทก (Ramjet) ไมมีสวนอัดอากาศ (Compressor) แตเครื่องยนตกังหันเจ็ต (Turbojet) มี
คําตอบ 3 :


ิ ว
เครื่องยนตไอพนชนิดกระแทก (Ramjet) ไมมีปากทอ (Nozzle) แตเครื่องยนตกังหันเจ็ต (Turbojet) มี

าว
คําตอบ 4 : เครื่องยนตไอพนชนิดกระแทก (Ramjet) ไมไดถูกจัดอยูในประเภทเครื่องยนตที่หายใจดวยอากาศ (Air-Breathing)

ขอที่ : 27
ส ภ
ขอใดคือขอแตกตางระหวางแรงขับที่ติดตั้ง (Install Thrust) กับแรงขับที่ยังไมไดติดตั้ง (Uninstall Thrust)
คําตอบ 1 : ไมมีขอแตกตาง สามารถใชแทนกันได
คําตอบ 2 : แรงขับที่ติดตั้ง (Install Thrust) คํานึงถึงคาแรงตานที่เกิดขึ้นที่ทางเขา (Inlet) และปากทอ (Nozzle)
9 of 156
คําตอบ 3 : แรงขับที่ยังไมไดติดตั้ง (Uninstall Thrust) คํานึงถึงคาแรงตานที่เกิดขึ้นที่ทางเขา (Inlet) และปากทอ (Nozzle)
คําตอบ 4 : แรงขับที่ยังไมไดติดตั้ง (Uninstall Thrust) ใชไดเฉพาะตอนที่ยังไมไดติดตั้งกับเครื่องบินเทานั้น

ขอที่ : 28
ขอใดคือหลักการพื้นฐานในการคํานวณแรงจากทฤษฏีโมเมนตัม (Momentum Theory)


คําตอบ 1 : แรงภายนอกที่กระทํากับเครื่องยนต คํานวณจากงานในกระบวนเทอรโมไดนามิก
คําตอบ 2 : แรงภายนอกที่กระทํากับเครื่องยนต มีคาเทากับอัตราการเปลี่ยนโมเมนตัม (Momentum) ของเครื่องยนต

น่ า

แรงภายนอกที่กระทํากับเครื่องยนต เกิดจากแรงขับเครื่องยนต รวมกับแรงเสียดทานที่เกิดจากการเคลื่อนที่


คําตอบ 3 :


แรงภายนอกที่กระทํากับเครื่องยนต มีคาเทากับโมเมนตัม (Momentum) ของเครื่องยนตรวมกับของอากาศที่ไหลเขา


คําตอบ 4 :

า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 29
จงหาคาแรงที่กระทําตอเครื่องยนตกังหันเจ็ตที่ยังไมไดติดตั้ง (Uninstall Turbojet Engine) ที่สามารถวัดคาความเร็วที่ทอทางออกได 250 เมตร/วินาที และมีพื้นที่หนาตัดของทอ

ิท
ทางออก 0.25 ตารางเมตร และมีคาความดันที่ทอทางออก 3 บรรยากาศ โดยมีคาความดันบรรยากาศรอบๆ เทากับ 1.05 บรรยากาศ และมีอัตราการไหลของมวลอากาศเทากับ 50


กิโลกรัม/วินาที


คําตอบ 1 : 61,250 กิโลนิวตัน

ง ว
คําตอบ 2 : 61.250 กิโลนิวตัน


คําตอบ 3 : 30,625 กิโลนิวตัน


คําตอบ 4 : 30.625 กิโลนิวตัน

ขอที่ : 30

กร ข

ิ ว
จงคํานวณหาคาอัตราการใชเชื้อเพลิงจําเพาะ (Thrust Specific Fuel Consumption) ของเครื่องยนตที่ยังไมไดติดตั้ง (Uninstall) เครื่องหนึ่งที่มีคาตางๆ ดังนี้ ความเร็วที่ทอ

าว
ทางออก 250 m/s พื้นที่หนาตัดของทอทางออก 0.25 ตารางเมตร และมีคาความดันที่ทอทางออก 3 บรรยากาศ ในขณะนั้นมีคาความดันรอบๆ เทากับ 1.05 บรรยากาศ และมีคา
อัตราการไหลของมวลอากาศเทากับ 50 kg/s อัตราการไหลของมวลเชื้อเพลิง 0.05 kg/s


คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 : 10 of 156
คําตอบ 4 :

ขอที่ : 31

่ า ย
หน
จ ำ
คําตอบ 1 : 62.5 kg/s

า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 2 : 6.25 kg/s
คําตอบ 3 : 0.625 kg/s

ิท
คําตอบ 4 : 0.0625 kg/s

นส

ขอที่ : 32


จงหาคากําลังขับ (Power) บนแทนทดสอบของเครื่องยนตที่ยังไมไดติดตั้ง (Uninstall) เครื่องหนึ่งซึ่งวัดคาตางๆ ไดดังนี้ ความเร็วที่ทอทางออก 200 เมตร/วินาที คาอัตราการไหลของ

อ ส
มวลอากาศเทากับ 60 กิโลกรัม/วินาที และมีอัตราการไหลของมวลเชื้อเพลิง 0.045 กิโลกรัม/วินาที วิเคราะหใหความดันสถิตยปากทางเขาและออกของเครื่องยนตเทากับความดัน

กร ข
บรรยากาศ


คําตอบ 1 : 1,200.9 วัตต
คําตอบ 2 :

าว ศ

12.01 กิโลวัตต


คําตอบ 3 : 2,401.8 วัตต

ขอที่ :
คําตอบ 4 :

33
ส 2,401.8 กิโลวัตต

จงคํานวณวาจะตองเปดทอทายใหมีพื้นที่หนาตัดเทาใดจึงจะทําใหเกิดแรงขับ 150 kN โดยมีคาตางๆ ดังนี้ความเร็วที่ทอทางออก 350 m/s คาความดันที่ทอทางออก 5 บรรยากาศ


ในขณะนั้นมีคาความดันรอบๆ เทากับ1.0 บรรยากาศ คาอัตราการไหลของมวลอากาศเทากับ 65 kg/s และมีความเร็วของอากาศยาน 150 m/s
11 of 156
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :


คําตอบ 3 :

น่ า

คําตอบ 4 :

จ ำ
ขอที่ : 34

า้ ม
ิธ์ ห
จงหาคาความเร็วที่ทอทางออก โดยหากวาสามารถวัดคาตางๆ ไดดังนี้ คาแรงขับ 15 kN และมีคาอัตราการไหลของมวลอากาศเทากับ 55 kg/s อัตราการไหลของมวลเชื้อเพลิง 0.55
kg/s ในขณะนั้นมีคาความดันรอบๆเทากับ 1.0 บรรยากาศ และอุณหภูมิ 278 K เมื่อมีพื้นที่ทอทางออกเทากับ 0.25 ตารางเมตร (สมมุติวาอากาศยานหยุดนิ่งอยูบนพื้นดิน และทอ
ทางออกเปนแบบ Optimum Expansion)

ิท
คําตอบ 1 : 270 m/s
คําตอบ 2 : 350 m/s

นส

คําตอบ 3 : 135 m/s


คําตอบ 4 : 75 m/s

อ ส
กร ข
ขอที่ : 35


ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 :

12 of 156
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :


คําตอบ 4 :

น่ า
ขอที่ : 36

จ ำ ห

จงคํานวณคาประสิทธิภาพโดยรวม (Overall Efficiency) ของเครื่องยนตที่มีขอมูลดังนี้ แรงขับ 250 kN สามารถวัดความเร็วที่ทอทางออกได 350 m/s มีคาอัตราการไหลของมวล

า้
อากาศเทากับ 50 kg/s และมีอัตราการไหลของมวลเชื้อเพลิง 0.5 kg/s ในขณะนั้นอากาศยานบินที่ความเร็ว 200 m/s โดยมีคาเอนธัลปรวม (Total Enthalpy) ที่ตองเพิ่มเขาไป

ิธ์ ห
500,000 kJ/kg
คําตอบ 1 : 0.2
คําตอบ 2 : 0.02

ิท
คําตอบ 3 : 0.1


คําตอบ 4 : 0.01

ง ว น

ขอที่ : 37

ขอ
ว กร
าว ศ


คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
ภ 2.42 bar
1.8314 bar
2.42 Pa
1.8314 Pa
คําตอบ 4 :

13 of 156
ขอที่ : 38
เครื่องบินติดตั้ง 2 เครื่องยนต ขณะบินในแนวระดับ ที่ความเร็วคงที่ โดยมีน้ําหนักรวมขณะนั้นเทากับ M ขณะที่มีแรงยกและแรงตานอากาศกระทําตอลําตัวเครื่องบินคือ L และ D ตาม
ลําดับ จงหาแรงขับ (T) ของเครื่องยนตรวมทั้ง 2 ขาง
คําตอบ 1 : D
คําตอบ 2 : (D+M)/2


คําตอบ 3 : D/2
คําตอบ 4 : L/2
น่ า
ขอที่ : 39

จ ำ ห
การหาแรงขับของเครื่องยนตกังหันเจ็ต (Turbojet) จําเปนที่จะตองใชสมการพื้นฐานอะไรมาใชในการคํานวณ
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : First law of thermodynamics
Newton’s second law of motion

ิท
คําตอบ 2 :


Euler’s equation


คําตอบ 3 :


Bernoulli’s equation


คําตอบ 4 :

อ ส

ขอที่ : 40

ว กร
าว ศ


คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
ภ 0.21
0.58
คําตอบ 3 : 1.60
คําตอบ 4 : 2.01

14 of 156
ขอที่ : 41
ตัวแปรใดที่ไมเกี่ยวของกับการบงบอกสมรรถนะของเครื่องยนตของอากาศยาน
คําตอบ 1 : Fuel/Air Ratio
คําตอบ 2 : Specific Thrust
คําตอบ 3 : Thrust Specific Fuel Consumption


fuel injection

่ า
คําตอบ 4 :

หน

ขอที่ : 42

มจ
า้
ิธ์ ห
ส ิท
ว น
คําตอบ 1 : 315 m/s


คําตอบ 2 : 157.5 m/s


คําตอบ 3 : 347 m/s


คําตอบ 4 : 173.3 m/s

กร ข

ขอที่ : 43

าว ศ


คําตอบ 1 :
ภ 409.2 kg/s
คําตอบ 2 : 0.409 kg/s
คําตอบ 3 : 0.82 kg/s
คําตอบ 4 : 818.4 kg/s
15 of 156
ขอที่ : 44

่ า ย
คําตอบ 1 : 55 kN

หน

คําตอบ 2 : 100 kN


คําตอบ 3 : 25 kN

า้ ม
คําตอบ 4 : 97 kN

ิธ์ ห
ขอที่ : 45

ส ิท
ง ว น
อ ส

คําตอบ 1 : 0.15

กร
คําตอบ 2 : 0.35


คําตอบ 3 : 0.65



คําตอบ 4 : 1.54

ขอที่ : 46

ภ าว

คําตอบ 1 : 7,500 N
16 of 156
คําตอบ 2 : 13,127 N
คําตอบ 3 : 17,470 N
คําตอบ 4 : 4,200 N

ขอที่ : 47

่ า ย

คําตอบ 1 : 0.92707 kJ/kg.K
คําตอบ 2 : 0.27293 kJ/kg.K

จ ำ ห

0.31429 kJ/kg.K

า้
คําตอบ 3 :

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : 0.120 kJ/kg.K

ิท
ขอที่ : 48


ความเร็วเสียงมีความสัมพันธอยางไรกับระดับความสูง ในชวงระดับความสูงตั้งแตพื้นดินจนถึง 20 กิโลเมตร จากระดับน้ําทะเล
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
แปรผกผันกับความสูง
แปรผันตรงกับความสูง

ง ว น
อ ส
คําตอบ 3 : คงที่ไมขึ้นกับความสูง


คําตอบ 4 : แปรผันตรงกับความสูงจนถึง 10 กิโลเมตรจากระดับน้ําทะเลเทานั้น

ขอที่ : 49

ว กร
าว ศ


คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
ภ 76 m/s
304 m/s
คําตอบ 3 : 152 m/s
คําตอบ 4 : 379 m/s

17 of 156
ขอที่ : 50
คําตอบ 1 : 50 kg/s
คําตอบ 2 : 10 kg/s

่ า ย
คําตอบ 3 : 60 kg/s


คําตอบ 4 : 40 kg/s

ขอที่ : 51

จ ำ ห
า้ ม
ิธ์ ห
ิท
คําตอบ 1 : 1.00 kg/s


คําตอบ 2 : 0.5 kg/s

ว น
คําตอบ 3 : 0.1 kg/s


คําตอบ 4 : 0.2 kg/s

อ ส

ขอที่ : 52

กร
คุณสมบัติที่สภาวะคูใดมักนิยมใชเปนสภาวะอางอิงในการไหลแบบอัดตัวได


คําตอบ 1 : สภาวะสแตกเนชัน และสภาวะสถิย (stagnation and static states)



คําตอบ 2 : สภาวะสแตกเนชัน และสภาวะวิกฤต (stagnation and critical states)

าว
คําตอบ 3 : สภาวะวิกฤต และสภาวะสถิตย (critical and static states)


คําตอบ 4 : สภาวะสถิตย และสภาวะสมดุล (static and equilibrium states)

ขอที่ : 53

การไหลแบบอัดตัวไดจะเริ่มเกิดขึ้นเมื่อใด
คําตอบ 1 : M > 0.3
คําตอบ 2 : M>1
คําตอบ 3 : M>3
18 of 156
คําตอบ 4 : M>5
ขอที่ : 54
จงประมาณอัตราสวนระหวางความเร็วเสียงที่ระดับความสูง 1 กิโลเมตร เหนือระดับน้ําทะเลเมื่อเทียบกับความเร็วเสียงที่ระดับน้ําทะเล ขณะที่อัตราสวนอุณหภูมิที่ระดับความสูงดังกลาว
เมื่อเทียบกับระดับน้ําทะเลมีคาเทากับ 0.9774
คําตอบ 1 : 0.9886
คําตอบ 2 : 0.9774


คําตอบ 3 : 1.0231

่ า
คําตอบ 4 : 1.0125

หน

ขอที่ : 55


การไหลหนึ่งมิติในทอที่ไมมีความฝดและไมมีการถายเทความรอน เมื่อมีขนาดพื้นที่หนาตัดเล็กลง ขอใดถูกตอง
คําตอบ 1 : หากเปนการไหลแบบคืบคลาน (creeping) ความเร็วจะเพิ่มขึ้น

า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 2 : หากเปนการไหลที่มีความเร็วต่ํากวาเสียง (subsonic) ความเร็วจะลดลง
คําตอบ 3 : หากเปนการไหลที่มีความเร็วเหนือเสียงแบบไฮเปอรโซนิค (hypersonic) ความเร็วเพิ่มขึ้น
คําตอบ 4 : หากเปนการไหลที่มีความเร็วเหนือเสียง (supersonic) ความเร็วจะลดลง

ส ิท

ขอที่ : 56

ง ว
ขอใดถูกตองเมื่อกลาวถึงการโชค (choking) ของการไหลในทอ


คําตอบ 1 : อัตราการไหลเชิงมวลสูงสุด


คําตอบ 2 : อุณหภูมิสูงสุด

กร ข
คําตอบ 3 : ความดันสูงสุด
คําตอบ 4 : ความหนาแนนต่ําสุด


ิ ว
าว
ขอที่ : 57
การเรงความเร็วของไหลจากความเร็วต่ํากวาเสียง (subsonic) ใหมีความเร็วเหนือเสียง (supersonic) ดวยกระบวนการแบบไอเซนโทรปก (isentropic) สามารถทําไดโดยใช


คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
ภ ทอถาง-ตีบ (Diverging-converging nozzle)
ทอตีบ-ถาง (Converging-diverging nozzle)
ทอตีบ (Converging nozzle)
คําตอบ 4 : ทอถาง (Diverging nozzle)

ขอที่ : 58
การหนวงความเร็วของไหลจากความเร็วเหนือเสียง (supersonic) ใหมีความเร็วต่ํากวาเสียง (subsonic) ดวยกระบวนการแบบไอเซนโทรปก (isentropic) สามารถทํ
19 ofา156
ไดโดยใช
คําตอบ 1 : ทอตีบ (Converging nozzle)
คําตอบ 2 : ทอถาง-ตีบ (Diverging-converging nozzle)
คําตอบ 3 : ทอตีบ-ถาง (Converging-diverging nozzle)
คําตอบ 4 : ทอถาง (Diverging nozzle)

ขอที่ : 59
ขอใดไมถูกตองเมื่อกลาวถึงการไหลผานคลื่นกระแทกที่ตั้งฉากกับการไหล (normal shock wave)
คําตอบ 1 : อุณหภูมิสถิตย (Static temperature) คงที่

่ า ย

คําตอบ 2 : อุณหภูมิสแตกเนชัน (Stagnation temperature) คงที่


คําตอบ 3 : ความดันสถิตย (Static pressure) คงที่

จ ำ
คําตอบ 4 : ความดันสแตกเนชัน (Stagnation pressure) คงที่

ขอที่ : 60

า้ ม
ิธ์ ห
ขอใดถูกตองเมื่อกลาวถึงการไหลผานคลื่นกระแทกแบบเอียง (oblique shock wave)
คําตอบ 1 : ความเร็วองคประกอบในแนวขนานกอนและหลังคลื่นกระแทก (shock wave) คงที่

ิท
คําตอบ 2 : ความเร็วองคประกอบในแนวตั้งฉากกอนและหลังคลื่นกระแทก (shock wave) คงที่


คําตอบ 3 : อุณหภูมิกอนและหลังคลื่นกระแทก (shock wave) คงที่

ว น
คําตอบ 4 : ความดันกอนและหลังคลื่นกระแทก (shock wave) คงที่

ส ง

ขอที่ : 61


การสูญเสีย (Loss) ในการผานคลื่นกระแทก (shock wave) มักแสดงเชิงปริมาณดวยผลตางของตัวแปรใด

กร
คําตอบ 1 : อุณหภูมิสแตกเนชัน (Stagnation temperature)


คําตอบ 2 : ความดันสแตกเนชัน (Stagnation pressure)



คําตอบ 3 : ความดันสถิตย (Static pressure)

าว
คําตอบ 4 : อุณหภูมิสถิตย (Static temperature)

ขอที่ : 62

ส ภ
เมื่อเครื่องบินบินดวยความเร็วและความสูงคงที่ขอใดมีความเปนไปไดต่ําที่สุด
คําตอบ 1 : น้ําหนัก (Weight) เทากับแรงยก (Lift)
คําตอบ 2 : แรงขับ (Thrust) เทากับแรงตาน (Drag)
คําตอบ 3 : แรงยก (Lift) เทากับแรงตาน (Drag)
คําตอบ 4 : กําลังขับเคลื่อน (Power) เทากับผลคูณของแรงขับกับความเร็ว (Thrust x Velocity)
20 of 156
ขอที่ : 63
พิสัยบินของอากาศยาน (Aircraft Range) มีความหมายตรงกับขอใดมากที่สุด
คําตอบ 1 : ความกวางเฉลี่ยรวมขนาดปกของเครื่องบิน
คําตอบ 2 : ความสูงที่เครื่องบิน สามารถบินไดสูงสุดวัดตามแนวดิ่ง
คําตอบ 3 : ความกวางเฉลี่ยตลอดลําของเครื่องบิน
คําตอบ 4 : ระยะทางที่เครื่องบิน บินไดไกลที่สุดที่ความสูงคงที่

่ า ย

ขอที่ : 64


ประสิทธิภาพแรงขับ (Propulsive efficiency) มีความหมายตรงกับขอใดมากที่สุด

จ ำ
คําตอบ 1 : อัตราสวนระหวางกําลังขับเคลื่อน (Thrust power) ตอ อัตราพลังงานภายในของมวลสารขับดันที่เพิ่มขึ้น


คําตอบ 2 : อัตราสวนระหวางแรงขับ (Thrust) ตอแรงตาน (Drag)

า้
คําตอบ 3 : อัตราสวนระหวางแรงขับ (Thrust) ตอแรงยก (Lift)

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : อัตราสวนระหวางกําลังขับเคลื่อน (Thrust power) ตอ อัตราพลังงานจลนที่ใหกับมวลของสารขับดัน

ิท
ขอที่ : 65


ประสิทธิภาพอุณหภาพ (Thermal efficiency) มีความหมายตรงกับขอใดที่สุด

ว น
คําตอบ 1 : อัตราสวนระหวางกําลังขับเคลื่อน (Thrust power) ตอ อัตราสวนกําลังความรอน (thermal power)


คําตอบ 2 : อัตราสวนระหวางกําลังความรอน (thermal power) ตอ อัตราพลังงานภายในของมวลสารขับดันที่เพิ่มขึ้น


คําตอบ 3 : อัตราสวนระหวางกําลังขับเคลื่อน (Thrust power) ตอ อัตราพลังงานจลนที่ใหกับมวลของสารขับดัน


คําตอบ 4 : อัตราพลังงานที่ใหจากเครื่องยนตเพื่อใชขับดันตออัตราพลังงานที่ไดจากเชื้อเพลิง

กร ข

ขอที่ : 66



ประสิทธิภาพใบพัด (Propeller efficiency) มีความหมายตรงกับขอใดที่สุด

าว
คําตอบ 1 : อัตราสวนระหวางกําลังขับเคลื่อน (Thrust power) ตอกําลังที่เพลา (Shaft power)


คําตอบ 2 : อัตรากําลังขับเคลื่อน (Thrust power) ตอกําลังที่ทําใหเคลื่อนไหว (Kinetic power)


คําตอบ 3 : อัตรากําลังขับเคลื่อน (Thrust power) ตอ อัตราการสิ้นเปลืองพลังงานเชื้อเพลิง
คําตอบ 4 : อัตรากําลังอุณหภาพ (thermal power) ตอ อัตราพลังงานภายในของมวลสารขับดันที่เพิ่มขึ้น

ขอที่ : 67
ประสิทธิภาพโดยรวม (Overall efficiency) ของเครื่องยนตที่หายใจดวยอากาศ (air breathing engine) มีความหมายตรงกับขอใด
คําตอบ 1 : ผลคูณของประสิทธิภาพใบพัด (propeller efficiency) กับประสิทธิภาพแรงขับ (propulsion efficiency)
21 of 156
คําตอบ 2 : ผลคูณของประสิทธิภาพอุณหภาพ (thermal efficiency) กับประสิทธิภาพแรงขับ (propulsion efficiency)
คําตอบ 3 : ผลคูณของประสิทธิภาพอุณหภาพ (thermal power) กับอัตราพลังงานภายในของมวลสารขับดันที่เพิ่มขึ้น
คําตอบ 4 : ผลคูณของกําลังอุณหภาพ (thermal power) กับอัตราพลังงานจลนที่ใหกับมวลของสารขับดัน

ขอที่ : 68
แรงขับที่ใชในขณะบินขึ้น (Takeoff Thrust) มีความหมายตรงกับขอใดมากที่สุด
คําตอบ 1 : ผลคูณของอัตราการไหลอากาศกับความเร็วกาซทางออก ขณะเครื่องมีความเรงคงที่
คําตอบ 2 : ผลคูณของอัตราการไหลอากาศกับความเร็วกาซทางเขา ขณะเครื่องหยุดนิ่ง

่ า ย

คําตอบ 3 : ผลคูณของอัตราการไหลอากาศกับความเร็วกาซทางออก ขณะเครื่องหยุดนิ่ง


คําตอบ 4 : ผลคูณของอัตราการไหลอากาศกับความเร็วกาซทางเขา ขณะเครื่องมีความเรงคงที่

จ ำ

ขอที่ : 69

า้
อัตราการสิ้นเปลืองเชื้อเพลิงจําพาะ (Thrust Specific Fuel Consumption) มีความหมายตรงกับขอใดที่สุด

ิธ์ ห
คําตอบ 1 : สัดสวนระหวางแรงขับ (Thrust) ตออัตราการสิ้นเปลืองพลังงาน
คําตอบ 2 : สัดสวนระหวางอัตราการสิ้นเปลืองพลังงานเขา ตอแรงขับ (Thrust)

ิท
คําตอบ 3 : สัดสวนระหวางแรงขับ (Thrust) ตอ อัตราการสิ้นเปลืองเชื้อเพลิง


คําตอบ 4 : สัดสวนระหวางอัตราการสิ้นเปลืองเชื้อเพลิง ตอแรงขับ (Thrust)

ขอที่ : 70

ง ว น
อ ส
Brake Specific Fuel Consumption ของเครื่องยนต มีความหมายตรงกับขอใดที่สุด


คําตอบ 1 : สัดสวน อัตราการสิ้นเปลืองเชื้อเพลิง ตอ กําลังเพลาขับ

กร
คําตอบ 2 : สัดสวน อัตราการสิ้นเปลืองเชื้อเพลิง ตอ Thrust power


คําตอบ 3 : สัดสวน อัตราการสิ้นเปลืองเชื้อเพลิง ตอ อัตราการ Enthalpy ผาน Turbine



คําตอบ 4 : สัดสวน อัตราการสิ้นเปลืองเชื้อเพลิง ตอ อัตราการ Kinetic energy ผาน Turbine

ขอที่ : 71

ภ าว

22 of 156
่ า ย
คําตอบ 1 : Turboprop

หน

คําตอบ 2 : Turbojet


คําตอบ 3 : Turboshaft

า้ ม
คําตอบ 4 : Ramjet

ิธ์ ห
ขอที่ : 72

ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข
คําตอบ 1 :



Turboprop

าว
คําตอบ 2 : Turbofan


คําตอบ 3 : Turboshaft


คําตอบ 4 : Ramjet

ขอที่ : 73

23 of 156
่ า ย
คําตอบ 1 : Ramjet
หน
คําตอบ 2 : Turbojet
จ ำ
คําตอบ 3 : Turboprop
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 4 : Turbofan

ขอที่ : 74

ส ิท

เครื่องยนตเจ็ท (Jet Engine) ขอใดตอไปนี้ที่ไมสามารถเริ่มทํางานไดถาเครื่องบินยังไมมีความเร็ว

ง ว

คําตอบ 1 : Ramjet
คําตอบ 2 : Turbojet

ขอ
กร
คําตอบ 3 : Turbofan
คําตอบ 4 : Turboprop


ิ ว
ขอที่ : 75

ภ าว
คําตอบ 1 :ส
ขอใดตอไปนี้คือลักษณะเดนของเครื่องยนต Ramjet
แบงอากาศออกเปนสองสวน
คําตอบ 2 : มีการฉีดออกซิเจนเขาไปในหองเผาไหม (Combustion chamber)
คําตอบ 3 : ไมใชชุดอัดอากาศ (Compressor)
24 of 156
คําตอบ 4 : ขนาดของปากทอทางออก (Nozzle) สามารถปรับได
ขอที่ : 76
ขอใดตอไปนี้เปนการเพิ่มคาประสิทธิภาพแรงขับ (propulsive efficiency)
คําตอบ 1 : ลดอุณหภูมิภายในหองเผาไหม (combustion chamber)
คําตอบ 2 : เพิ่มอุณหภูมิภายในหองเผาไหม (combustion chamber)
คําตอบ 3 : ลดความเร็วแก็สรอนที่ทางออก
่ า ย
คําตอบ 4 : เพิ่มความเร็วแก็สรอนที่ทางออก

หน
จ ำ

ขอที่ : 77

า้
ิธ์ ห
อุณหภูมิสแตกเนชัน (Stagnation Temperature) หมายถึงอะไร
คําตอบ 1 : คาอุณหภูมิเฉลี่ยของอากาศที่ไหลผานตัวเครื่องยนต

ิท
คาอุณหภูมิที่วัด ณ จุดกอนอากาศไหลเขาเครื่องยนต


คําตอบ 2 :


คาอุณหภูมิที่สภาวะความเร็วเครื่องบินเปนศูนย


คําตอบ 3 :


คาอุณหภูมิที่สภาวะความเร็วอากาศเปนศูนย


คําตอบ 4 :

ขอ
กร
ขอที่ : 78
เครื่องบินขณะปรับระดับความสูงโดยบังคับใหความเร็วคงที่ตลอดเวลา ขอใดเปนจริงสําหรับคา Mach number ของเครื่องบินดังกลาว
คําตอบ 1 :


ิ ว
คา Mach number สูงขึ้น ขณะเพิ่มระดับความสูง

าว
คําตอบ 2 : คา Mach number ไมเปลี่ยนแปลง
คําตอบ 3 : คา Mach number ลดลงขณะเพิ่มระดับความสูง

ขอที่ : 79 ส
คําตอบ 4 :

ภ ไมสามารถประเมินได เนื่องจากขอมูลที่ใหมาไมเพียงพอ

25 of 156
คําตอบ 1 :

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 2 :

ส ิท
ง ว น
อ ส
คําตอบ 3 :

กร ข

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 4 :

ขอที่ : 80

26 of 156
คําตอบ 1 :

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 2 :

ส ิท
ง ว น
อ ส
คําตอบ 3 :

กร ข

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 4 :

ขอที่ : 81

27 of 156
่ า ย

คําตอบ 1 : 1,414.6 K


คําตอบ 2 : 1,800 K


คําตอบ 3 : 1,115.4 K


คําตอบ 4 : 1,750.2 K

า้ ม
ิธ์ ห
ขอที่ : 82

ส ิท
ง ว น

คําตอบ 1 :

ขอ
กร
คําตอบ 2 :


ิ ว
าว
คําตอบ 3 :


คําตอบ 4 :ภ
ขอที่ : 83

28 of 156
่ า ย
คําตอบ 1 : 10.135 MW

หน

คําตอบ 2 : 24.040 MW
คําตอบ 3 : 6.952 MW

มจ
า้
คําตอบ 4 : 17.087 MW

ขอที่ : 84
ิธ์ ห
ิท
ขอจํากัดในการออกแบบเครื่องยนตวัฏจักรเบรยตัน (Brayton Cycle)

นส
ง ว
อุณหภูมิสูงสุด ณ บริเวณกังหันความดันสูง (High Pressure Turbine)


คําตอบ 1 :

ขอ
วัสดุของปากทางเขา (Inlet) กอนเขาเครื่องยนต

กร
คําตอบ 2 :


สีของหองเผาไหม



คําตอบ 3 :

ภ าว
จํานวนของทอทางออก (Exhaust Nozzle)


คําตอบ 4 :

ขอที่ : 85
ขอใดตอไปนี้เปนกระบวนการทางเธอรโมไดนามิกส (Thermodynamic) ที่เกิดขึ้นในเครื่องอัดอากาศอุดมคติ (Ideal Compressor)

29 of 156
คําตอบ 1 : adiabatic
คําตอบ 2 : isothermal
คําตอบ 3 : isotropic
คําตอบ 4 : isobaric

ขอที่ : 86
ขอใดตอไปนี้เปนกระบวนการทางเธอรโมไดนามิกส (Thermodynamic) ที่เกิดขึ้นในหองเผาไหมอุดมคติ (Ideal Combustion)

่ า ย
คําตอบ 1 : adiabatic

หน

คําตอบ 2 : isothermal

มจ
คําตอบ 3 : isotropic

า้
คําตอบ 4 : isobaric

ขอที่ : 87
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
คําตอบ 1 : 295K

อ ส

คําตอบ 2 : 550.3 K

กร
คําตอบ 3 : 578.5 K


คําตอบ 4 : 688.2 K

ขอที่ : 88

าว ศ

ส ภ
คําตอบ 1 : 198.56 m/sec
คําตอบ 2 : 208.31 m/sec
คําตอบ 3 : 240.56 m/sec 30 of 156
คําตอบ 4 : 300.45 m/sec
ขอที่ : 89

่ า ย
คําตอบ 1 :

หน
จ ำ

คําตอบ 2 :

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

ส ิท
ง ว น

ขอที่ : 90

ขอ
วกร
คําตอบ 1 : 1.97

าว ศ

ส ภ
คําตอบ 2 : 2.05
คําตอบ 3 : 2.35
คําตอบ 4 : 2.4

ขอที่ : 91

31 of 156
คําตอบ 1 : 15.06 MW
คําตอบ 2 : 135 MW
คําตอบ 3 : 19.2 MW

่ า ย

คําตอบ 4 : 5.14MW

ขอที่ : 92

จ ำ ห
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
คําตอบ 1 :

ง ว น
อ ส
คําตอบ 2 :

กร ข

ิ ว
าว
คําตอบ 3 :


คําตอบ 4 :

ขอที่ : 93
ขอใดไมถูกตอง
คําตอบ 1 : กระบวนการแอเดียแบติก (adiabatic process) คือ กระบวนการที่ไมมีการถายเทความรอน
32 of 156
คําตอบ 2 : สมบัติเอกซเทนซิฟ (Extensive Property) คือ สมบัติที่ไมขึ้นอยูกับขนาดของระบบ
คําตอบ 3 : เอนโทรป (Entropy) คือ สมบัติเอกซเทนซิฟที่บงถึงความไรระเบียบ หรือการยอนกลับไมไดของกระบวนการ
คําตอบ 4 : เอนธัลป (Enthalpy) คือผลรวมระหวางพลังงานภายใน (U ) กับผลคูณของความดันกับปริมาตร (PxV)

ขอที่ : 94

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
คําตอบ 1 : 116 MW

อ ส
กร ข
คําตอบ 2 : 90.5 MW
คําตอบ 3 : 84.6 MW


คําตอบ 4 : 80.8 MW

ขอที่ : 95

าว ศ

ส ภ
33 of 156
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
คําตอบ 1 : 35.9 MW
ิธ์ ห
ิท
คําตอบ 2 : 376.8 kJ
คําตอบ 3 : 42.1 MW

นส

คําตอบ 4 : 430 kJ

ส ง

ขอที่ : 96


ขอใดกลาวไดถูกตองเกี่ยวกับกฏทรงพลังงาน (Conservation of Energy)

กร
คําตอบ 1 : เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงพลังงานของระบบตอเวลา กับการเปลี่ยนแปลงความรอนตอเวลาที่เขาปฏิสัมพันธกับระบบ


คําตอบ 2 : เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงพลังงานของระบบตอเวลา กับการเปลี่ยนแปลงงานที่เขาปฏิสัมพันธกับระบบ

าว ศ

คําตอบ 3 : เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงความรอนของระบบตอเวลา กับการเปลี่ยนแปลงงานที่เขาปฏิสัมพันธกับระบบ
คําตอบ 4 : เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงพลังงานของระบบตอเวลา กับการเปลี่ยนแปลงความรอนตอเวลา และงานที่เขาปฏิสัมพันธกับระบบ

ขอที่ : 97
ส ภ
34 of 156
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :


คําตอบ 3 :

น่ า

คําตอบ 4 :

จ ำ
ขอที่ : 98

า้ ม
ิธ์ ห
จงหาคาความเร็วของแกสสมบูรณ (perfect gas) ที่มีอุณหภูมิ 300 K
คําตอบ 1 : 340.52 m/s

ิท
คําตอบ 2 : 347.187 m/s


คําตอบ 3 : 335.47 m/s

ว น
คําตอบ 4 : 300.487 m/s

ส ง

ขอที่ : 99


ขอใดคือความหมายของ calorically perfect gas

กร
Calorically perfect gas เปน perfect gas ที่มีคา specific heat at constant volume and pressure คงที่


คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

าว ศ

Calorically perfect gas เปน perfect gas ที่มีคา specific heat at constant volume แปรตามอุณหภูมิ


คําตอบ 3 :
ภ Calorically perfect gas เปน perfect gas ที่มีคา specific heat at constant pressure แปรตามอุณหภูมิ

ไมมีขอแตกตาง
คําตอบ 4 :

35 of 156
ขอที่ : 100
คําตอบ 1 :

่ า ย

คําตอบ 2 :

จ ำ ห

คําตอบ 3 :

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 4 :

ขอที่ : 101

ส ิท
ว น
ขอใดกลาวถึงนิยามของการไหลแบบคงตัว (Steady Flow) ไดถูกตองที่สุด


คําตอบ 1 : มีการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิตลอดเวลา


คําตอบ 2 : กาซเคลื่อนที่แบบมีความเรงเทานั้น
คําตอบ 3 :

ขอ
คุณสมบัติ (Properties) ของกาซไมเปลี่ยนแปลงตามเวลา

กร
คําตอบ 4 : อัตราการไหลของมวลอากาศไมคงที่

ขอที่ : 102


ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 : 401.6 kJ/kg
คําตอบ 2 : 400 kJ/kg
คําตอบ 3 : 800 kJ/kg
คําตอบ 4 : 803.2 kJ/kg
36 of 156
ขอที่ : 103
สมมุติวาอากาศไหลผานตําแหนงที่ 1 และ 2 แบบสภาวะคงตัว (Steady Flow Condition) ขอใดกลาวผิด
คําตอบ 1 : หากวาพื้นที่หนาตัดที่ตําแหนงที่ 1 และ 2 เทากัน ความเร็วของอากาศที่ตําแหนงทั้ง 2 จะเทากัน
คําตอบ 2 : ความหนาแนนของตําแหนงที่ 1 มีคาเทากับตําแหนงที่ 2
คําตอบ 3 : หากวาพื้นที่หนาตัดที่ตําแหนงที่ 1 เล็กกวาตําแหนงที่ 2 ความเร็วที่จําแหนงที่ 1 จะนอยกวาที่ตําแหนงที่ 2
คําตอบ 4 : ความหนาแนนที่ตําแหนงที่ 1 มีคามากกวาตําแหนงที่ 2

่ า ย

ขอที่ : 104


ขอใดกลาวถึงความรอนจําเพาะที่ความดันคงที่ (Specific Heat at constant Pressure) ไดถูกตองที่สุด

จ ำ
คําตอบ 1 : คาความรอนจําเพาะ เมื่อกําหนดใหปริมาตรคงที่


คําตอบ 2 : คาความรอนจําเพาะ เมื่อกําหนดใหความดันคงที่

า้
คําตอบ 3 : คาความรอนจําเพาะ เมื่อกําหนดใหพลังงานสะสมคงที่

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : คาความรอนจําเพาะ เมื่อกําหนดใหอุณหภูมิคงที่

ิท
ขอที่ : 105


ขอใดไมใชหลักการของกฎเธอรโมไดนามิกส (Thermodynamic) ขอที่ 1

ว น
คําตอบ 1 : ความรอนทั้งหมดที่ปฏิสัมพันธเขาสูระบบ เทากับงานทั้งหมดที่ปฏิสัมพันธออกจากระบบ รวมกับพลังงานของระบบที่เปลี่ยนแปลง


คําตอบ 2 : ความรอนทั้งหมดที่ปฏิสัมพันธออกจากระบบ เทากับงานทั้งหมดที่ปฏิสัมพันธออกจากระบบ รวมกับพลังงานของระบบที่เปลี่ยนแปลง


คําตอบ 3 : ความรอนทั้งหมดที่ปฏิสัมพันธเขาสูระบบ ลบดวยงานทั้งหมดที่ปฏิสัมพันธออกจากระบบ เทากับพลังงานของระบบที่เปลี่ยนแปลง


คําตอบ 4 : ทุกขอเปนหลักการตามกฏขอที่ 1

กร ข

ขอที่ : 106



ขอใดกลาวไดถูกตองเกี่ยวกับกฎเทอรโมไดนามิกส (Thermodynamic) ขอที่ 2

าว
คําตอบ 1 : การเปลี่ยนแปลงเอนโทรป (Entropy) ตองมากกวา หรือเทากับศูนย


คําตอบ 2 : การเปลี่ยนแปลงเอนโทรป (Entropy) ในระบบตองมากกวา หรือเทากับความรอนที่ปฏิสัมพันธออกจากระบบ


คําตอบ 3 : การเปลี่ยนแปลงเอนโทรป (Entropy) ตองนอยกวา หรือเทากับศูนย
คําตอบ 4 : การเปลี่ยนแปลงเอนโทรป (Entropy) ในระบบตองนอยกวา หรือเทากับความรอนที่ปฏิสัมพันธออกจากระบบ

ขอที่ : 107

37 of 156
คําตอบ 1 : 420 K
คําตอบ 2 : 20320 K

่ า ย
คําตอบ 3 : 400 K


คําตอบ 4 : 480 K

ขอที่ : 108

จ ำ ห
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : 1,400 kW

ส ิท
ว น
คําตอบ 2 : 400 kW


คําตอบ 3 : 602.4 kW


คําตอบ 4 : 800 kW

ขอ
กร
ขอที่ : 109


ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
1,100 K
1,200 K
1,500 K
คําตอบ 4 : 1,900 K

38 of 156
ขอที่ : 110

คําตอบ 1 : 1.455 bar

่ า
คําตอบ 2 : 2.1 bar


คําตอบ 3 : 1.723 bar

ำ ห
คําตอบ 4 : 2.39 bar

มจ
า้
ขอที่ : 111

ิธ์ ห
ส ิท
คําตอบ 1 : 300 m/s

ง ว น

คําตอบ 2 : 150 m/s


คําตอบ 3 : 450 m/s


คําตอบ 4 : 75 m/s

ขอที่ : 112

ว กร
าว ศ

ส ภ
คําตอบ 1 : 1.096 kJ/kg at 300 K
คําตอบ 2 : 3.104 kJ/kg at 300 K 39 of 156

คําตอบ 3 : 4.108 kJ/kg at 300 K


คําตอบ 4 : 6.099 kJ/kg at 300 K

ขอที่ : 113

่ า ย
หน

คําตอบ 1 : 60,240 kW


คําตอบ 2 : 60,240 W

า้ ม
คําตอบ 3 : 286,140 kW

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : 225,900 W

ขอที่ : 114

ส ิท
ง ว น
คําตอบ 1 : 56.88 m/s

อ ส

คําตอบ 2 : 85.33 m/s

กร
คําตอบ 3 : 170.66 m/s


คําตอบ 4 : 106.67 m/s

ขอที่ : 115

าว ศ

ส ภ
คําตอบ 1 : 586.18 K
40 of 156
คําตอบ 2 : 20.77 K
คําตอบ 3 : 300 K
คําตอบ 4 : 486.18 K

ขอที่ : 116

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
คําตอบ 1 : 0.040
ิธ์ ห
ิท
คําตอบ 2 : 0.031


คําตอบ 3 : 32.42


คําตอบ 4 : 21.00

ง ว
อ ส
ขอที่ : 117


จงเลือกแผนภาพ ความดัน – ปริมาตร (P-v Diagram) สําหรับวัฏจักร Otto

ว กร
าว ศ


คําตอบ 1 :


41 of 156
คําตอบ 2 :

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 3 :

ส ิท
ว น
คําตอบ 4 : ไมมีตัวเลือกที่ถูกตอง

ส ง

ขอที่ : 118


จงเลือกแผนภาพ ความดัน – ปริมาตร (P-v Diagram) สําหรับวัฏจักร Brayton

ว กร
าว ศ


คําตอบ 1 :


42 of 156
คําตอบ 2 :

่ า ย
หน
จ ำ
คําตอบ 3 :

า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท

คําตอบ 4 : ไมมีตัวเลือกที่ถูกตอง

ง ว

ขอที่ : 119

ขอ
ว กร
าว ศ


คําตอบ 1 : 500,753 J/kg


คําตอบ 2 : 107.6 MJ/kg
คําตอบ 3 : 302,624 J/kg
คําตอบ 4 : 543 J/kg

ขอที่ : 120
43 of 156
คําตอบ 1 : 0.08
คําตอบ 2 : 2.26

่ า ย

คําตอบ 3 : 0.75


คําตอบ 4 : 1.18

จ ำ

ขอที่ : 121

า้
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส

คําตอบ 1 : 433 K

กร
คําตอบ 2 : 1768 K
คําตอบ 3 : 1378 K
คําตอบ 4 : 908 K


ิ ว
ขอที่ : 122

ภ าว

คําตอบ 1 : 44 of 156
คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :


คําตอบ 4 :

น่ า
ขอที่ : 123

จ ำ ห
า้ ม
ิธ์ ห
ิท
คําตอบ 1 : 290 K


คําตอบ 2 : 305 K


คําตอบ 3 : 300 K
คําตอบ 4 : 295 K

ง ว
อ ส

ขอที่ : 124

วกร
าว ศ


คําตอบ 1 : 9.60 atm.


คําตอบ 2 : 8.76 atm.
คําตอบ 3 : 11.36 atm.
คําตอบ 4 : 10.10 atm.

ขอที่ : 125

45 of 156
คําตอบ 1 : 0.91

่ า ย
คําตอบ 2 : 1.2


คําตอบ 3 : 0.74


คําตอบ 4 : 0.83

จ ำ

ขอที่ : 126

า้
เครื่องยนตไอพนอุดมคติชนิด single spool มีชุดอัดอากาศ ไดรับกําลังจากกังหัน turbine เปนจํานวน 19,831.417 กิโลวัตต ขณะที่มีมวลอากาศไหลผานชุดอัดอากาศ 30 kg/s และ

ิธ์ ห
อัตราสวน เชื้อเพลิง/อากาศ 0.02 สวนชุดกังหัน turbine มีอัตราสวนการอัด 0.125 จงหาอุณหภูมิสูงสุดของวัฎจักรนี้

ิท
คําตอบ 1 : 1753 K


คําตอบ 2 : 1543 K


คําตอบ 3 : 454 K

ง ว
คําตอบ 4 : 1441 K

ขอที่ : 127

อ ส
กร ข
เมื่อพิจารณาความสัมพันธระหวางประสิทธิภาพ propulsive efficiency และอัตราสวนของความเร็วอากาศทางออกตอทางเขาเครื่องยนต (Ve/Vi) ขอความใดเปนจริง


คําตอบ 1 : อัตราสวน Ve/Vi แปรผกผันกับประสิทธิภาพ propulsive efficiency

าว ศ

คําตอบ 2 : อัตราสวน Ve/Vi แปรผันตรงกับประสิทธิภาพ propulsive efficiency
คําตอบ 3 : อัตราสวน Ve/Vi ไมขึ้นกับประสิทธิภาพ propulsive efficiency


คําตอบ 4 : อัตราสวน Ve/Vi มีความสัมพันธเชิงฟงกชันพาราโบรากับประสิทธิภาพ propulsive efficiency

ขอที่ : 128 ส
46 of 156
คําตอบ 1 : 11.2 kJ/kg
คําตอบ 2 : 52.0 kJ/kg
คําตอบ 3 : 0 kJ/kg
คําตอบ 4 : 37.1 kJ/kg

ขอที่ : 129

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : 40 kJ

ส ิท

คําตอบ 2 : 140 kJ

ง ว
คําตอบ 3 : 240 kJ


คําตอบ 4 : 340 kJ

ขอ
กร
ขอที่ : 130
สมการใดที่บงบอกตามคํานิยามของงาน


ิ ว
าว
คําตอบ 1 :


คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :
47 of 156
คําตอบ 4 :

ขอที่ : 131

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ิท
คําตอบ 1 : การอัดแบบไอเซนโทรปก (Isentropic compression)


คําตอบ 2 : การขยายแบบไอเซนโทรปก (Isentropic expansion)


คําตอบ 3 : การอัดแบบไอโซเธอรมัล (Isothermal compression)
คําตอบ 4 : การขยายแบบไอโซเธอรมัล (Isothermal expansion)

ง ว
อ ส

ขอที่ : 132

ว กร
าว ศ

ส ภ
คําตอบ 1 : 3
คําตอบ 2 : 4
คําตอบ 3 : ชิ้นสวนทุกหมายเลข 48 of 156
คําตอบ 4 : ไมมีชิ้นสวนหมายเลขใด
ขอที่ : 133

่ า ย
หน
จ ำ

คําตอบ 1 : 1

า้
คําตอบ 2 : 3

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : 5
คําตอบ 4 : ไมมีหมายเลขใด

ขอที่ : 134

ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
คําตอบ 1 :


1
าว

คําตอบ 2 : 3
คําตอบ 3 : 5
คําตอบ 4 : ไมมีหมายเลขใด

ขอที่ : 135

49 of 156
่ า ย
คําตอบ 1 : 2 และ 3

หน

คําตอบ 2 : 3 และ 4


คําตอบ 3 : 4 และ 5

า้ ม
คําตอบ 4 : ไมมีหมายเลขใด

ิธ์ ห
ขอที่ : 136

ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

คําตอบ 1 : พลังงานภายในคงที่

าว ศ

คําตอบ 2 : พลังงานภายในลดลง
คําตอบ 3 : พลังงานภายในเพิ่มขึ้น


คําตอบ 4 : พลังงานภายเกิดการเปลี่ยนแปลงแบบไมสามารถคาดคะเนได

ขอที่ : 137 ส
นิยามของกระบวนการแอเดียแบติก (adiabatic process) คือ
Collapse/expand the right pane

คําตอบ 1 : กระบวนการเธอรโมไดนามิกส (thermodynamic process) ที่ไมมีการถายเทความรอน


คําตอบ 2 : กระบวนการเธอรโมไดนามิกส (thermodynamic process) ที่ไมมีการเปลี่ยนแปลงความดัน
50 of 156
คําตอบ 3 : ขั้นตอนการทดสอบเครื่องยนตดวยการฉีดน้ํา
คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูก

ขอที่ : 138
กระบวนการเธอรโมไดนามิกส (Thermodynamic process) แบบไอเซนโทรปก (isentropic) คือ
คําตอบ 1 : กระบวนการที่ไมมีการถายเทความรอน
คําตอบ 2 : กระบวนการที่ไมมีการเปลี่ยนแปลงความดัน
คําตอบ 3 : กระบวนการที่ไมมีการเปลี่ยนแปลงเอนโทรป (entropy)

่ า ย

คําตอบ 4 : กระบวนการที่ไมมีการเปลี่ยนแปลงเอนธัลป (enthalpy)

ขอที่ : 139

จ ำ ห

กระบวนการเผาไหม (Combustion process) ของเครื่องยนตเจ็ต (Turbojet) เปนแบบใด

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : ปริมาตรคงที่ (constant volume)
คําตอบ 2 : ความดันคงที่ (constant pressure)
คําตอบ 3 : อุณหภูมิคงที่ (constant temperature)

ิท
คําตอบ 4 : เอนโทรปคงที่ (constant entropy)

นส

ขอที่ : 140


กระบวนการเผาไหม (Combustion process) ของเครื่องยนตลูกสูบที่ใชในเครื่องบินเปนแบบใด
คําตอบ 1 :


ปริมาตรคงที่ (constant volume)


คําตอบ 2 : ความดันคงที่ (constant pressure)

กร
คําตอบ 3 : อุณหภูมิคงที่ (constant temperature)


คําตอบ 4 : เอนโทรปคงที่ (constant entropy)

ขอที่ : 141

าว ศ


ขอใดตอไปนี้ไมถูกตอง


คําตอบ 1 : กระบวนการอัดอากาศ (Compression process) ของเครื่องยนตเจ็ตทําใหความดัน (pressure) ของอากาศเพิ่มขึ้น
คําตอบ 2 : กระบวนการอัดอากาศ (Compression process) ของเครื่องยนตเจ็ตทําใหปริมาตร (volume) ของอากาศลดลง
คําตอบ 3 : กระบวนการอัดอากาศ (Compression process) ของเครื่องยนตเจ็ตทําใหอุณหภูมิ (temperature) ของอากาศเพิ่มขึ้น
คําตอบ 4 : กระบวนการอัดอากาศ (Compression process) ของเครื่องยนตเจ็ตทําใหเอนโทรป (entropy) ของอากาศลดลง

ขอที่ : 142 51 of 156


ขอใดตอไปนี้ไมถูกตอง
คําตอบ 1 : กระบวนการขยายตัว (Expansion process) ของเครื่องยนตเจ็ตทําใหเอนโทรป (entropy) ของอากาศลดลง
คําตอบ 2 : กระบวนการขยายตัว (Expansion process) ของเครื่องยนตเจ็ตทําใหปริมาตร (volume) ของอากาศเพิ่มขึ้น
คําตอบ 3 : กระบวนการขยายตัว (Expansion process) ของเครื่องยนตเจ็ตทําใหอุณหภูมิ (temperature) ของอากาศลดลง
คําตอบ 4 : กระบวนการขยายตัว (Expansion process) ของเครื่องยนตเจ็ตทําใหความดัน (pressure) ของอากาศลดลง

ขอที่ : 143

่ า ย
ขอใดตอไปนี้ไมถูกตอง


คําตอบ 1 : กระบวนการเผาไหม (Combustion process) ของเครื่องยนตเจ็ตทําใหพลังงานภายใน (internal energy) ของอากาศเพิ่มขึ้น


คําตอบ 2 : กระบวนการเผาไหม (Combustion process) ของเครื่องยนตเจ็ตทําใหปริมาตร (volume) ของอากาศเพิ่มขึ้น

จ ำ
คําตอบ 3 : กระบวนการเผาไหม (Combustion process) ของเครื่องยนตเจ็ตทําใหความดัน (pressure) ของอากาศเพิ่มขึ้น


คําตอบ 4 : กระบวนการเผาไหม (Combustion process) ของเครื่องยนตเจ็ตทําใหอุณหภูมิ (temperature) ของอากาศเพิ่มขึ้น

า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 144

ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข
คําตอบ 1 :


ิ ว
ดิฟฟวเซอร (Diffuser)

าว
คําตอบ 2 : ตัวอัด (Compressor)


คําตอบ 3 : ตัวเผาไหม (Combustor)


คําตอบ 4 : กังหัน (Turbine)

ขอที่ : 145

52 of 156
่ า ย
คําตอบ 1 : กังหัน (Turbine)

หน
จ ำ
คําตอบ 2 : ตัวอัด (Compressor)


คําตอบ 3 : ตัวเผาไหม (Combustor)

า้
คําตอบ 4 : ทอทางอก (Nozzle)

ขอที่ : 146
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
าว
คําตอบ 1 : กังหัน (Turbine)
คําตอบ 2 : ดิฟฟวเซอร (Diffuser)


คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ภ ตัวอัด (Compressor)
อุปกรณเผาไหมเสริม (Afterburner)

ขอที่ : 147

53 of 156
่ า ย
คําตอบ 1 : กังหัน (Turbine)

หน

คําตอบ 2 : ดิฟฟวเซอร (Diffuser)
คําตอบ 3 : ตัวอัด (Compressor)

มจ
า้
คําตอบ 4 : อุปกรณเผาไหมเสริม (Afterburner)

ขอที่ : 148
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
าว
คําตอบ 1 : กังหัน (Turbine)


คําตอบ 2 : ดิฟฟวเซอร (Diffuser)


คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ตัวอัด (Compressor)
อุปกรณเผาไหมเสริม (Afterburner)

ขอที่ : 149
กําหนดใหอุณหภูมิของกาซกอนเขาชุดอัดอากาศ หองเผาไหม กังหันตนกําลัง และทอทาย มีคาเทากับ 30องศาเซลเซียส 600องศาเซลเซียส 1000องศาเซลเซียส และ 169องศา
เซลเซียส ตามลําดับ (กําหนดใหคาความรอนจําเพาะของกาซคงที่ Cp 1.004 kJ/kgK) จงหาคา Thermal Efficiency.
54 of 156
คําตอบ 1 : 0.65
คําตอบ 2 : 0.69
คําตอบ 3 : 0.62
คําตอบ 4 : 0.73

ขอที่ : 150
วัฎจักร Brayton มีอัตราสวนการอัด 4.5 และอากาศกอนเขาชุดอัดอากาศ มีอุณหภูมิ 27องศาเซลเซียสและความดัน 100 kPa โดยที่ อุณหภูมิสูงสุดของวัฎจักรมีคาเทากับ 827องศา


เซลเซียส (กําหนดใหคาความรอนจําเพาะของกาซคงที่ Cp 1.004 kJ/kgK) จงหางานสุทธิที่ไดจากวัฎจักรดังกลาว
คําตอบ 1 : 224 kJ

น่ า

คําตอบ 2 : 1,120 kJ


คําตอบ 3 : 162 kJ

มจ
คําตอบ 4 : 386 kJ

า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 151
วัฎจักร Brayton มีอัตราสวนการอัด 4.5 และอากาศกอนเขาชุดอัดอากาศ มีอุณหภูมิ 27องศาเซลเซียส และความดัน 100 kPa โดยที่ อุณหภูมิสูงสุดของวัฎจักรมีคาเทากับ 827
องศาเซลเซียส (กําหนดใหคาความรอนจําเพาะของกาซคงที่ Cp 1.004 kJ/kgK) จงหาอัตราสวนงานระหวางชุดอัดอากาศและกังหันตนกําลัง (Back Work Ratio)
คําตอบ 1 : 0.42

ส ิท

คําตอบ 2 : 2.38

ง ว
คําตอบ 3 : 0.03


คําตอบ 4 : 0.57

ขอ
กร
ขอที่ : 152
วัฎจักร Brayton มีอัตราสวนการอัด 4.5 และอากาศกอนเขาชุดอัดอากาศ มีอุณหภูมิ 27องศาเซลเซียส และความดัน 100 kPa โดยที่ อุณหภูมิสูงสุดของวัฎจักรมีคาเทากับ 827


องศาเซลเซียส (กําหนดใหคาความรอนจําเพาะของกาซคงที่ Cp 1.004 kJ/kgK) จงหาประสิทธิภาพเชิงความรอน (Thermal Efficiency)
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
0.35
0.42

าว ศ


คําตอบ 3 : 0.65


คําตอบ 4 : 0.58

ขอที่ : 153
วัฎจักร Brayton มีอัตราสวนการอัด 4.5 และอากาศกอนเขาชุดอัดอากาศ มีอุณหภูมิ 27องศาเซลเซียส และความดัน 100 kPa โดยที่ อุณหภูมิสูงสุดของวัฎจักรมีคาเทากับ 827
องศาเซลเซียส (กําหนดใหคาความรอนจําเพาะของกาซคงที่ Cp 1.004 kJ/kgK) จงหากําลังสุทธิจากวัฎจักร ขณะที่อัตราการไหลของอากาศที่ 5 kg/s
คําตอบ 1 : 1120 kW 55 of 156
คําตอบ 2 : 224 kJ
คําตอบ 3 : 1921.5 kW
คําตอบ 4 : 384.3 kJ

ขอที่ : 154
เครื่องยนตเทอรโบเจ็ต อุดมคติ มีอุณหภูมิและความดันของอากาศกอนเขาชุดอัดอากาศ 27องศาเซลเซียส และ 100 kPa ตามลําดับ ขณะที่พบอุณหภูมิและความดันออกจากชุดอัด
อากาศที่ 188องศาเซลเซียส และ 100 kPa (กําหนดใหคาความรอนจําเพาะของกาซคงที่ Cp 1.004 kJ/kgK) จงหาประสิทธิภาพเชิงความรอน (Thermal Efficiency)

่ า ย
คําตอบ 1 : 0.35


คําตอบ 2 : 0.86


คําตอบ 3 : 0.42


คําตอบ 4 : 0.65

มจ
า้
ขอที่ : 155

ิธ์ ห
กําหนดตําแหนงของกาซกอนเขาชุดอัดอากาศ หองเผาไหม กังหันตนกําลัง และทอทาย คือหมายเลข 2 3 4 และ 5 ตามลําดับ จงหาความสัมพันธของอัตราสวนอุณหภูมิรวม
(T5/T4) ของวัฎจักรอุดมคติ Brayton ดังกลาว

ิท
คําตอบ 1 : T3/T2


คําตอบ 2 : 1


คําตอบ 3 : T3/T4

ง ว
คําตอบ 4 : P4/P5

ขอที่ : 156

อ ส
กร ข
กําหนดตําแหนงของกาซกอนเขาชุดอัดอากาศ หองเผาไหม กังหันตนกําลัง และทอทาย คือหมายเลข 2 3 4 และ 5 ตามลําดับ จงหาความสัมพันธของอัตราสวนอุณหภูมิรวม
(T5/T2) ของวัฎจักรอุดมคติ Brayton ดังกลาว


คําตอบ 1 : T4/T3
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
1
P1/P4

าว ศ


คําตอบ 4 : P4/P1

ขอที่ : 157 ส
กําหนดใหอุณหภูมิของกาซกอนเขาชุดอัดอากาศ หองเผาไหม กังหันตนกําลัง และทอทาย มีคาเทากับ 30องศาเซลเซียส 600องศาเซลเซียส 1000องศาเซลเซียส และ 169องศา
เซลเซียส ตามลําดับ (กําหนดใหคาความรอนจําเพาะของกาซคงที่ Cp 1.004 kJ/kgK) จงประมาณกําลังที่ไดจากเครื่องยนตไอพนอุดมคติขณะที่อัตราการไหลของอากาศ 5 kg/s
คําตอบ 1 : 1,310 kW
คําตอบ 2 : 4,172 kW 56 of 156
คําตอบ 3 : 834 kW
คําตอบ 4 : 262 kW

ขอที่ : 158

่ า ย
หน
จ ำ
คําตอบ 1 : 5,516.418 N

า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 2 : 4,500.73 N
คําตอบ 3 : 37,409.7 N
คําตอบ 4 : 55,400.5 N

ส ิท

ขอที่ : 159

ง ว
ขอใดไมใชขอสมมุติฐานในการคํานวณหาคาแรงขับของเครื่องยนตไอพนแบบอุดมคติ (ideal Turbojet Engine)


คําตอบ 1 : คาความดันในหองเผาไหมคงที่


คําตอบ 2 : ไมมีการสูญเสียความรอน

กร ข
คําตอบ 3 : คาความดันที่ทางเขา และทางออกเครื่องยนตมีคาคงที่
คําตอบ 4 : กระแสอากาศไหลเขาจากทอทางเขาไปจนถึงหองเผาไหมเปนการไหลแบบไอเซนโทรปก (Isentropic)


ิ ว
าว
ขอที่ : 160
ขอใดคือนิยามของอัตราการสิ้นเปลืองเชื้อเพลิงจําเพาะ (thrust specific fuel consumption)


คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
ภ อัตราการไหลของมวลของเชื้อเพลิงตออัตราการไหลของมวลอากาศ
อัตราคาแรงขับตออัตราการไหลของมวลอากาศ
อัตราการไหลของมวลของเชื้อเพลิงตอ 1 หนวยแรงขับ
คําตอบ 4 : อัตราการไหลของมวลของอากาศตอ 1 หนวยแรงขับ

ขอที่ : 161
57 of 156
คําตอบ 1 : 0.1644 bar

่ า ย
คําตอบ 2 : 0.1932 bar


คําตอบ 3 : 0.15456 bar


คําตอบ 4 : 0.1836 bar

จ ำ

ขอที่ : 162

า้
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
39,470 N
10,000.29 N

กร ข

ิ ว
คําตอบ 3 : 3,800.5 N

าว
คําตอบ 4 : 1,500.39 N

ขอที่ : 163

ส ภ
ขอใดคือผลของการเพิ่มคาอัตราสวนความดันของสวนอัดอากาศ (Compressor Pressure Ratio) ตอคาประสิทธิภาพอุณหภาพ (Thermal Efficiency) ของเครื่องยนต ไอพนใน
อุดมคติ ( Ideal Turbojet Engine ) โดยกําหนดใหคาอื่นๆ ทุกตัวใหมีคาคงที่
คําตอบ 1 : คงที่
คําตอบ 2 : เพิ่มขึ้น
คําตอบ 3 : ลดลง
คําตอบ 4 : ยังสรุปไมได
58 of 156
ขอที่ : 164

่ า ย
หน

0.117 m2


คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :
0.267 m2

า้ ม
ิธ์ ห
0.351 m2
คําตอบ 3 :

ิท
0.468 m2
คําตอบ 4 :

นส
ขอที่ : 165

ง ว
อ ส
กร ข

ิ ว
คําตอบ 1 :

ภ าว

คําตอบ 2 :
59 of 156
่ า ย
หน
จ ำ

คําตอบ 3 :

า้
ิธ์ ห
ส ิท

คําตอบ 4 :

ง ว
ขอที่ : 166

อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 :
60 of 156
คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

่ า ย
คําตอบ 4 :

หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ขอที่ : 167

ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

คําตอบ 1 : 17,445 N



คําตอบ 2 : 150 N

าว
คําตอบ 3 : 5,500 N


คําตอบ 4 : 16,000 N

ขอที่ : 168

61 of 156
่ า ย
คําตอบ 1 : 32.01 kPa

หน

คําตอบ 2 : 29.1 kPa


คําตอบ 3 : 26.45 kPa

า้ ม
คําตอบ 4 : 21.34 kPa

ิธ์ ห
ขอที่ : 169

ส ิท
ง ว น
อ ส
คําตอบ 1 :

กร ข

ิ ว
าว
คําตอบ 2 :


คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

ขอที่ : 170 62 of 156


่ า ย
คําตอบ 1 : 0.308

หน

คําตอบ 2 : 0.245


คําตอบ 3 : 0.714

า้ ม
คําตอบ 4 : 0.503

ิธ์ ห
ขอที่ : 171

ิท
ขอใดคือนิยามของประสิทธิภาพอุณหภาพ (Thermal Efficiency )ของวัฏจักรอุดมคติ (Ideal Cycle)

นส
ง ว

คําตอบ 1 :

ขอ
ว กร
คําตอบ 2 :

าว ศ

ส ภ
คําตอบ 3 :

63 of 156
คําตอบ 4 : ไมมีขอถูก

ขอที่ : 172

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : 0.05 kg/s
คําตอบ 2 : 0.5 kg/s

ิท
คําตอบ 3 : 5.0 kg/s


คําตอบ 4 : 50.0 kg/s

ขอที่ : 173

ง ว น

(หมายเหตุ ความดันในโจทย และคําตอบ มีหนวยเปต bar)

ขอ
ว กร
าว ศ


คําตอบ 1 : 0.34


คําตอบ 2 : 0.15
คําตอบ 3 : 0.085
คําตอบ 4 : 0.1

ขอที่ : 174
64 of 156

คําตอบ 1 : 0.125
คําตอบ 2 : 0.237

น่ า

คําตอบ 3 : 0.38


คําตอบ 4 : 0.4

มจ
า้
ขอที่ : 175

ิธ์ ห
จงประมาณ Mach number ของกาซรอนบริเวณทอทายของเทอรโบเจ็ตอุดมคติ ขณะที่เครื่องยนตมีอากาศเขาที่ Mach 0.6 และเครื่องยนตทํางานที่อัตราสวนการอัดบริเวณชุดอัด
อากาศและกังหันเทอรไบนมีคาเทากับ 10 และ 0.125 ตามลําดับ

คําตอบ 1 : 0.50

ส ิท

คําตอบ 2 : 0.84


คําตอบ 3 : 1.0

ส ง
คําตอบ 4 : 1.5

ขอ
กร
ขอที่ : 176
เรื่อง Ideal Turbojet Engine ชิ้นสวนใดที่ทําหนาที่ในการเพิ่ม Entropy ใหกับระบบ


คําตอบ 1 : ชิ้นสวนอัดอากาศ Compressor
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :

าว ศ

ชิ้นสวนหมุนเพลา Turbine
หองเผาไหม Combustion


คําตอบ 4 : ทอทางออก Nozzle

ขอที่ : 177 ส
65 of 156
่ า ย

คําตอบ 1 : 5.45 kN


คําตอบ 2 : 13.64 kN


คําตอบ 3 : 15.25 kN
คําตอบ 4 : 25.14 kN

มจ
า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 178
ขอใดไมใชขอสมมุติฐานในการวิเคราะห Ideal Gas Turbine Cycle

ิท
คําตอบ 1 : กระบวนการ Compression และ Expansion เปนแบบ Isentropic


คําตอบ 2 : Pressure Lose ระหวางชิ้นสวนตางๆ มีคานอยมากจนละทิ้งได

ว น
คําตอบ 3 : อัตราการไหลของกาซมีคาคงที่ตลอดทั้งระบบ


คําตอบ 4 : ไมมีขอถูก

อ ส

ขอที่ : 179

ว กร
าว ศ

ส ภ
66 of 156
คําตอบ 1 : รับอากาศเขา ( Inlet )
คําตอบ 2 : อัดอากาศ ( Compressor )
คําตอบ 3 : เผาไหมเชื้อเพลิง ( Combustion )
คําตอบ 4 : เปลี่ยนรูปพลังงาน ( Turbine )

ขอที่ : 180

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท

คําตอบ 1 : มีการเพิ่มพลังงานความรอนเขาสูระบบ

ง ว
คําตอบ 2 : มีการเพิ่มความดันใหอากาศ


คําตอบ 3 : มีการนําพลังงานความรอนออกจากระบบ


คําตอบ 4 : มีการลดความดันอากาศ

ขอที่ : 181

กร ข

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 : 5.0 kN
คําตอบ 2 : 10.0 kN
คําตอบ 3 : 15.5 kN
คําตอบ 4 : 18.6 kN 67 of 156
ขอที่ : 182

่ า ย
คําตอบ 1 : 8.0 ตารางเมตร

หน
คําตอบ 2 : 0.8 ตารางเมตร

จ ำ

คําตอบ 3 : 0.08 ตารางเมตร

า้
คําตอบ 4 : 0.008 ตารางเมตร

ขอที่ : 183
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

าว ศ


คําตอบ 3 :ภ
คําตอบ 4 :

68 of 156

ขอที่ : 184
่ า ย
หน
คําตอบ 1 :

จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 2 :

ส ิท
คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

ง ว น
อ ส
ขอที่ : 185

กร ข

เครื่องบินลําหนึ่งกําลังบิน ณ ความสูงหนึ่งที่มีคา Ambient Temperature และ Pressure ดังนี้ 216.5 K และ 0.1932 bar ในขณะนั้นกําลังบินที่ความเร็ว M = 0.84 และสามารถวัด



คาความเร็วที่ทางเขา Compressor ไดM = 0.65 และมีคาสูญเสียความดันรวม (Compressor Total Pressure Lose) เทากับ 2% จงหาคาความดันรวมที่ทางเขา Compressor

าว
คําตอบ 1 : 0.2 bar


คําตอบ 2 : 0.3 bar


คําตอบ 3 : 0.4 bar
คําตอบ 4 : 0.5 bar

ขอที่ : 186

69 of 156
คําตอบ 1 :

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 2 :

ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข
คําตอบ 3 :


ิ ว
ภ าว

คําตอบ 4 :
70 of 156
่ า ย
หน
จ ำ

ขอที่ : 187

า้
เครื่องยนตไอพน (jet engine) ถูกทดสอบในสภาวะที่ตางกัน โดยกําหนดใหความเร็วรอบเทากันในทุกสภาวะทดสอบ (A คือสภาวะ ณ ระดับน้ําทะเล B คือ สภาวะที่สูงกวาระดับน้ํา

ิธ์ ห
ทะเล 3000 เมตร ) ขอความใดเปนจริง
คําตอบ 1 : ที่สภาวะ B ใหแรงขับ (THRUST) ต่ํากวาสภาวะ A

ิท
คําตอบ 2 : ที่สภาวะ A และ B มีอัตราการใชเชื้อเพลิงเทากัน


คําตอบ 3 : ที่สภาวะ A ใหแรงขับ (THRUST) ต่ํากวาสภาวะ B


คําตอบ 4 : ที่สภาวะ A มีอัตราการใชเชื้อเพลิงสูงกวาสภาวะ B

ง ว

ขอที่ : 188

ขอ
ว กร
าว ศ


คําตอบ 1 : 4,750 N


คําตอบ 2 : 5,000 N
คําตอบ 3 : 100,000 N
คําตอบ 4 : 2,375 N

ขอที่ : 189

71 of 156
่ า ย
คําตอบ 1 :

หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 2 :

ส ิท

คําตอบ 3 :

ง ว
อ ส
คําตอบ 4 :

กร ข

ิ ว
ขอที่ : 190

ภ าว

72 of 156
คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

่ า ย
หน

คําตอบ 3 :

มจ
า้
ิธ์ ห
คําตอบ 4 :

ส ิท
ว น
ขอที่ : 191

ส ง
ขอ
คําตอบ 1 :

วกร
าว ศ


คําตอบ 2 :


คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :
73 of 156
ขอที่ : 192
ขอใดเปนอุปกรณพื้นฐานของเครื่องบินไอพน
คําตอบ 1 : Low Pressure Compressor
คําตอบ 2 : Free Power Turbine
คําตอบ 3 : Water Injection


คําตอบ 4 : Afterburner

น่ า

ขอที่ : 193


ปจจัยที่สําคัญที่ทําใหประสิทธิภาพแรงขับ (Propulsive Efficiency) ของเครื่องยนตชนิดไอพน (Turbojet) มีคาต่ํากวาของชนิด Turbofan และ Propeller คือ
คําตอบ 1 : คาความเร็วบริเวณทอทายมีคาสูงเกินไป

มจ
า้
คําตอบ 2 : อัตราการไหลของมวลอากาศมีคาสูงเกินไป

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : มีอุณหภูมิหลังหองเผาไหมสูงเกินไป
คําตอบ 4 : มีสัมประสิทธิ์แรงเสียดทานสูง

ขอที่ : 194

ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
าว
คําตอบ 1 : 300 m/s


คําตอบ 2 : 100 m/s


คําตอบ 3 : 350 m/s
คําตอบ 4 : 250 m/s

ขอที่ : 195

74 of 156
่ า ย

คําตอบ 1 :

จ ำ ห

คําตอบ 2 :

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

ส ิท
ง ว น
อ ส
ขอที่ : 196

กร ข

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
5.07 MW
10.15 MW
คําตอบ 3 : 14.00 MW
คําตอบ 4 : 15.50 MW
75 of 156

ขอที่ : 197
่ า ย

คําตอบ 1 : 14 MW

ำ ห
คําตอบ 2 : 15.5 MW


คําตอบ 3 : 5.07 MW


คําตอบ 4 : 10.15 MW

า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 198

ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

คําตอบ 1 :

าว ศ


คําตอบ 2 :


คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

76 of 156
ขอที่ : 199

่ า ย
หน
คําตอบ 1 : 19100 N

จ ำ
า้ ม
คําตอบ 2 : 20000 N

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : 20900 N
คําตอบ 4 : 25900 N

ส ิท
ขอที่ : 200


เครื่องบินความเร็วสูงที่ติดตั้งระบบขับดันไอพน ขณะทําการบินดวย M = 0.8 ในระดับความสูง 10 km ( ความเร็วเสียงเทากับ 299.5 m/s ) สามารถวัดคาตางๆไดดังนี้ แรงขับ 50 kN


อัตราการไหลมวลอากาศ 45 kg/s อัตราการไหลมวลเชื้อเพลิง 2.65 kg/s โดยที่ใชเชื้อเพลิงมีคาความรอนจําเพาะ 42800 kJ/kg จงคํานวณหาคา thrust specific fuel


consumption ( S )


คําตอบ 1 : 0.53 mg/N.s
คําตอบ 2 : 1,111 mg/N.s

ขอ
กร
37,475,000 mg/N.s
คําตอบ 3 :


ิ ว
าว
คําตอบ 4 : 239.6 mg/N.s


ขอที่ : 201


เครื่องบินความเร็วสูงที่ติดตั้งระบบขับดันไอพน ขณะทําการบินดวย M = 0.8 ในระดับความสูง 10 km ( ความเร็วเสียงเทากับ 299.5 m/s ) สามารถวัดคาตางๆไดดังนี้ แรงขับ 50 kN
อัตราการไหลมวลอากาศ 45 kg/sอัตราการไหลมวลเชื้อเพลิง 2.65 kg/s โดยที่ใชเชื้อเพลิงมีคาความรอนจําเพาะ 42,800 kJ/kg จงหาคา specific thrust
คําตอบ 1 : 1.11 (kN.s)/kg
คําตอบ 2 : 0.53 (kN.s)/kg
คําตอบ 3 : 0.50 (kN.s)/kg
คําตอบ 4 : 0.64 (kN.s)/kg
77 of 156
ขอที่ : 202
เครื่องบินความเร็วสูงที่ติดตั้งระบบขับดันไอพน ขณะทําการบินดวย M = 0.8 ในระดับความสูง 10 km ( ความเร็วเสียงเทากับ 299.5 m/s ) สามารถวัดคาตางๆไดดังนี้ แรงขับ 50 kN
อัตราการไหลมวลอากาศ 45 kg/s อัตราการไหลมวลเชื้อเพลิง 2.65 kg/s โดยที่ใชเชื้อเพลิงมีคาความรอนจําเพาะ 42,800 kJ/kg จงหาคาความเร็วของอากาศบริเวณทอทาย
(Pe=P0)
คําตอบ 1 : 1,275.6 m/s
คําตอบ 2 : 239.6 m/s


คําตอบ 3 : 1,010.6 m/s

่ า
คําตอบ 4 : 309.6 m/s

หน

ขอที่ : 203


เครื่องบินความเร็วสูงที่ติดตั้งระบบขับดันไอพน ขณะทําการบินดวยความเร็ว M = 0.8 ในระดับความสูง 10 km ( ความเร็วเสียงเทากับ 299.5 m/s ) สามารถวัดคาตางๆไดดังนี้ แรง


ขับ 50 kN อัตราการไหลมวลอากาศ 45 kg/s อัตราการไหลมวลเชื้อเพลิง 2.65 kg/s โดยที่ใชเชื้อเพลิงมีคาความรอนจําเพาะ 42,800 kJ/kg จงหากําลังขับของเครื่องยนตดังกลาว

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : 37.475 MW
คําตอบ 2 : 113.42 MW
คําตอบ 3 : 11.98 MW

ิท
คําตอบ 4 : 63.78 MW

นส

ขอที่ : 204

ส ง
ขอ
ว กร
าว ศ

คําตอบ 1 :
ส ภ
คําตอบ 2 :
78 of 156
คําตอบ 3 :


คําตอบ 4 :

น่ า
ขอที่ : 205

จ ำ ห
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส

คําตอบ 1 :

วกร
คําตอบ 2 :

าว ศ


คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 : 79 of 156
ขอที่ : 206

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 1 :

ส ิท
ง ว น
คําตอบ 2 :

อ ส
กร ข

ิ ว
าว
คําตอบ 3 :


คําตอบ 4 :

ขอที่ : 207
80 of 156
่ า ย

คําตอบ 1 :

จ ำ ห
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 2 :

ส ิท

คําตอบ 3 :

ง ว
อ ส

คําตอบ 4 :

วกร
ขอที่ : 208

าว ศ

ส ภ
81 of 156
คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

่ า ย

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

จ ำ ห
า้ ม
ิธ์ ห
ขอที่ : 209

ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข
คําตอบ 1 :


ิ ว
ภ าว

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :
82 of 156
ขอที่ : 210
วัตถุประสงคหลักของอุปกรณเผาไหมเสริม (Afterburner) ในเครื่องยนตกังหันเจ็ต (Turbojet Engine) ขอใดถูกตองที่สุด
คําตอบ 1 : เพิ่มอุณหภูมิกาซทางออกของเครื่องยนต
คําตอบ 2 : เพิ่มความดันกาซทางออกของเครื่องยนต
คําตอบ 3 : เพิ่มความเร็วกาซทางออกของเครื่องยนต


คําตอบ 4 : เพิ่มคาความจุความรอนของกาซที่ทางออกของเครื่องยนต

น่ า

ขอที่ : 211


เครื่องยนตกังหันเจ็ตแบบอุดมคติ (Ideal Turbojet) เครื่องหนึ่งทํางานโดยเปดระบบเผาไหมเสริม (Afterburning) ถาเครื่องยนตทํางานที่แรงขับจําเพาะ (Specific Thrust) สูงสุด


เงื่อนไขใดตอไปนี้ถูกตองที่สุด
คําตอบ 1 : อัตราสวนความดันผานตัวอัดอากาศ (compressor) สูงสุด

า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 2 : อัตราสวนความดันผาน หองเผาไหม สูงสุด
คําตอบ 3 : อัตราสวนความดันผานอุปกรณเผาไหมเสริม (Afterburner) สูงสุด
คําตอบ 4 : อัตราสวนความดันผานทอทางออก (nozzle) สูงสุด

ส ิท

ขอที่ : 212

ง ว
เครื่องยนตกังหันเจ็ตแบบอุดมคติ (Ideal Turbojet) ทํางานโดยเปดระบบเผาไหมเสริม (Afterburning) ถาทําการออกแบบใหเครื่องยนตทํางานที่แรงขับจําเพาะ (Specific Thrust)


สูงสุดเงื่อนไขใดตอไปนี้ถูกตองที่สุด


คําตอบ 1 : ความสิ้นเปลืองน้ํามันต่ําสุด


คําตอบ 2 : ความสิ้นเปลืองน้ํามันสูงสุด

กร
คําตอบ 3 : อัตราการอัดอากาศผานตัวอัดอากาศ (compressor) สูงสุด


คําตอบ 4 : อัตราการอัดอากาศผานตัวอัดอากาศ (compressor) ต่ําสุด

ขอที่ : 213

าว ศ

ส ภ
83 of 156
คําตอบ 1 : 77.7%
คําตอบ 2 : 67.7%
คําตอบ 3 : 57.7%
คําตอบ 4 : 57.7%

ขอที่ : 214

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : 10.76 %
คําตอบ 2 : 8.865 %
คําตอบ 3 : 17.73%

ส ิท
คําตอบ 4 : 21.52 %

ขอที่ : 215

ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
คําตอบ 1 :


35%
าว

คําตอบ 2 : 24%
คําตอบ 3 : 12%
คําตอบ 4 : 6%

ขอที่ : 216

84 of 156
คําตอบ 1 : 64%


คําตอบ 2 : 84%

่ า
คําตอบ 3 : 56%


คําตอบ 4 : 40%

ขอที่ : 217

จ ำ ห
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : 0.51

ส ิท

คําตอบ 2 : 1.51


คําตอบ 3 : 2.51

ส ง
คําตอบ 4 : 3.51

ขอ
กร
ขอที่ : 218
เครื่องยนต turbojet บินดวย M=0.7 บนชั้นบรรยากาศอุณหภูมิบรรยากาศ 222 K จงคํานวณหา stagnation temperature ของอากาศกอนเขาเครื่องยนต


คําตอบ 1 : 243.75 K

าว ศ

คําตอบ 2 : 293.75 K
คําตอบ 3 : 343.75 K


คําตอบ 4 : 446.75 K

ขอที่ : 219 ส
85 of 156
คําตอบ 1 : 591.82 K
คําตอบ 2 : 611.82 K
คําตอบ 3 : 621.82 K
คําตอบ 4 : 631.82 K

ขอที่ : 220

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : 591.82 K
คําตอบ 2 : 611.82 K
คําตอบ 3 : 621.82 K

ิท
คําตอบ 4 : 631.82 K

นส
ง ว
ขอที่ : 221


อากาศยานใชเครื่องยนต ideal turbojet โดยมีประสิทธิภาพ propulsive efficiency เทากับ 0.6 จงหาอัตราสวนของความเร็วอากาศทางออกตอทางเขาเครื่องยนต

คําตอบ 1 : 0.5

ขอ
กร
คําตอบ 2 : 0.8


คําตอบ 3 : 2.3



คําตอบ 4 : 3

ขอที่ : 222

ภ าว

เครื่องยนต Turbojet ที่ออกแบบโดยใหทํางานที่ Maximum thrust เมื่อปรับลดอัตราสวนการอัดอากาศผาน Compressor จนมีคาเปน 1 ถาเครื่องยนตทํางานที่อุณหภูมิบรรยากาศ
222 K และ Mach Number = 3 จงคํานวณหาอุณหภูมิที่ออกจากหองเผาไหม
คําตอบ 1 : 1,350 K
คําตอบ 2 : 1,400 K
คําตอบ 3 : 1,550 K
คําตอบ 4 : 1,740 K
86 of 156
ขอที่ : 223
เครื่องยนต Turbojet ที่ออกแบบโดยใหทํางานที่ Maximum thrust เมื่อปรับลดอัตราสวนการอัดอากาศผาน Compressor พบวา
คําตอบ 1 : อัตราสวนการอัดต่ําสุดเปน 1 และ Mach Number มีคาสูงสุด
คําตอบ 2 : อัตราสวนการอัดต่ําสุดเปน 0.5 และ Mach Number มีคาสูงสุด
คําตอบ 3 : อัตราสวนการอัดต่ําสุดเปน 0.5 และ Mach Number มีคาต่ําสุด
คําตอบ 4 : อัตราสวนการอัดต่ําสุดเปน 1 และ Mach Number มีคาต่ําสุด

่ า ย

ขอที่ : 224

จ ำ ห
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท

คําตอบ 1 : Exhaust Nozzle

ง ว
คําตอบ 2 : Inlet Diffuser


คําตอบ 3 : Combustor


คําตอบ 4 : Compressor

กร ข

ขอที่ : 225

าว ศ

ส ภ
คําตอบ 1 : Diffuser
คําตอบ 2 : Compressor 87 of 156
คําตอบ 3 : Combustor
คําตอบ 4 : Nozzle

ขอที่ : 226
จงเรียงลําดับอุปกรณประกอบภายในเครื่องยนต Turbojet
คําตอบ 1 : Inlet - Compressor - Burner - Turbine - Nozzle
คําตอบ 2 : Inlet - Turbine - Compressor - Burner - Nozzle
คําตอบ 3 : Inlet - Nozzle - Compressor - Burner - Turbine

่ า ย

คําตอบ 4 : Nozzle - Compressor - Burner - Turbine - Inlet

ขอที่ : 227

จ ำ ห

ตัวแปรใดที่ควรพิจารณาเพื่อบงบอกถึงประสิทธิภาพเครื่องยนตตอการตอบสนองการเรงความเร็วของเครื่องบิน

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : Thrust to weight ratio
คําตอบ 2 : Thrust specific fuel consumption
คําตอบ 3 : Equivalent ratio

ิท
คําตอบ 4 : Drag

นส

ขอที่ : 228


เครื่องยนต turbofan ของเครื่องบินโดยสาร มี nozzle ทางออกของอากาศหลักและของอากาศ bypass แยกจากกัน ความเร็วทางออกของอากาศหลัก 389 m/s ความเร็วทางออก


ของอากาศเลี่ยง (bypass) 293 m/s ขณะที่เครื่องบิน บินดวยความเร็วคงที่ 251 m/s อัตราสวนอากาศ bypass ตอ อากาศหลักมีคา 8 ถาอัตราสวนมวลเชื้อเพลิงตอมวลอากาศหลักมี


คานอยมาก จงคํานวณ specific thrust
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
52.667 Ns/kg
474 Ns/kg

กร ข
คําตอบ 3 : 27.4 Ns/kg


ิ ว
าว
คําตอบ 4 : 526.667 Ns/kg

ขอที่ : 229

ส ภ
ขอใดคือนิยามของ Bypass Ratio
คําตอบ 1 : อัตราสวนระหวางคาอัตราการไหลของมวลอากาศที่ผานใบพัด (Fan) ตออัตราการไหลของมวลอากาศที่ผานใจกลางเครื่องยนต (Engine Core)
คําตอบ 2 : อัตราสวนระหวางคาอัตราการไหลของมวลอากาศที่ไหลผานใจกลางเครื่องยนต (Engine Core) ตออัตราการไหลของมวลอากาศที่ผานใบพัด (Fan)
คําตอบ 3 : อัตราสวนระหวางคาการไหลของมวลอากาศที่ไหลผานใบพัด (Fan) ตออัตราการไหลของมวลอากาศที่ผานเครื่องยนตทั้งระบบ (Engine + Fan)
คําตอบ 4 : อัตราสวนระหวางคาอัตราการไหลของมวลอากาศที่ผานเครื่องยนตทั้งระบบ (Engine + Fan) ตออัตราการไหลของมวลอากาศที่ผานใบพัด (Fan)
88 of 156

ขอที่ : 230
่ า ย
คําตอบ 1 : 8000 N


คําตอบ 2 : 32000 N


คําตอบ 3 : 20000 N


คําตอบ 4 : 24000 N

มจ
า้
ขอที่ : 231

ิธ์ ห
ขอใดไมถูกตอง
คาประสิทธิภาพอุณหภาพ (Thermal Efficiency) ของเครื่องยนตกังหันพัดลมแบบอุดมคติ (Ideal Turbofan) มีคาเทากับคาของเครื่องยนตกังหันเจ็ตแบบอุดมคติ
คําตอบ 1 :

ิท
(Ideal Turbojet)


เครื่องยนตกังหันพัดลม (Turbofan) มีคาประสิทธิภาพอุณหภาพ (Propulsion Efficiency) ลดลง เมื่อเทียบกับคาประสิทธิภาพแรงขับ (Propulsion Efficiency)
คําตอบ 2 :


ของเครื่องยนตกังหันเจ็ต (Turbojet) ที่เหมือนกับสวนที่เปนเครื่องยนตหลัก (Engine Core) ของเครื่องยนตกังหันพัดลม (Turbofan)


คาแรงขับที่เกิดขึ้นของเครื่องยนตกังหันพัดลม (Turbofan) จะเกิดจาก 2 สวนหลัก คือ สวนที่เกิดจากกระแสความรอน และสวนที่เกิดจากกระแสอากาศเย็น (Hot


คําตอบ 3 :
and Cold Stream)


คําตอบ 4 :


ไมมีขอใดถูก

ขอที่ : 232

กร ข

หากวาเพิ่มคา Bypass Ratio ของเครื่องยนต Turbofan จะมีผลอยางไรตอคา Thrust Specific Consumption



คําตอบ 1 :

าว
เพิ่มขึ้น
คําตอบ 2 : ลดลง


คําตอบ 3 : คงที่


คําตอบ 4 : ยังไมสามารถสรุปได

ขอที่ : 233
เครื่องยนต Turbofan เครื่องหนึ่งมีคา Bypass Ratio 5.0 และมีคา Total Air Mass Flow Rate 215 kg/s เมื่อวัดคาความเร็วของกระแสอากาศที่ทางเขาได 150 m/s จงหาคาแรง
ขับที่เกิดจากสวนของ Fan เมื่อคา Fan Pressure Ratio 1.65 , คาอุณหภูมิบรรยากาศ 288 K และคา R = 287 J/kg/K
คําตอบ 1 : 33871.55 N
89 of 156
คําตอบ 2 : 31250.15 N
คําตอบ 3 : 45019.32 N
คําตอบ 4 : 50000 N

ขอที่ : 234

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

ส ิท
คําตอบ 3 :

ง ว น
อ ส

คําตอบ 4 :

ว กร
าว ศ

ขอที่ : 235

ส ภ
90 of 156
แผนภาพแสดงใหเห็นถึงจุดเหมาะสมที่สุดของอัตราสวนการอัดของพัดลม และ bypass ratio ขณะระบุคา Thrust Specific Fuel Consumption
คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :


คําตอบ 3 :

น่ า
คําตอบ 4 :

จ ำ ห
า้ ม
ิธ์ ห
ขอที่ : 236

ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

ภ าว

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

91 of 156

ขอที่ : 237
่ า ย
หน

คําตอบ 1 : 0.00071


คําตอบ 2 : 0.0010

า้ ม
คําตอบ 3 : 0.00140

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : 0.00050

ขอที่ : 238

ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 : 4535.85 kW
คําตอบ 2 : 7104.1 kW
คําตอบ 3 : 30000 kW
92 of 156
คําตอบ 4 : 28000 kW
ขอที่ : 239
เครื่องยนต Turbofan เครื่องหนึ่งมีคา Bypass Ratio 9.0 และมีคา Total Air Mass Flow Rate 200 kg/s เมื่อวัดคาความเร็วของกระแสอากาศที่ทางเขา และทางออกที่ทอ Jet
Stream ได 150 m/s และ 250 m/s จงหาคาแรงขับที่เกิดจากสวนของ Fan เมื่อคาแรงขับที่เกิดจากกระแสอากาศรอนที่ผานการเผาไหมใน Combustion (Hot Stream) มีคาเพียง
5% ของแรงขับที่เกิดขึ้นทั้งหมด
คําตอบ 1 : 38 kN


คําตอบ 2 : 25 kN

่ า
คําตอบ 3 : 10 kN


คําตอบ 4 : 5 kN

ขอที่ : 240

จ ำ ห
า้ ม
ขอใดคือเหตุผลในการเพิ่มคา Bypass Ratio

ิธ์ ห
คําตอบ 1 : ตองการลดคา Specific Fuel Consumption โดยการลดคา Specific Thrust
คําตอบ 2 : ตองการลดคา Specific Fuel Consumption โดยการเพิ่มคา Specific Thrust
คําตอบ 3 : เพื่อตองการทําใหเครื่องยนตทํางานคลายกับ Turbojet Engine

ิท
คําตอบ 4 : ตองการเพิ่มคาอัตราการไหลของกระแสอากาศรอนที่ผานการเผาไหมใน Combustion (Hot Air Mass Flow)

นส

ขอที่ : 241

ส ง
จงหาคา Bypass Ratio ของเครื่องยนต turbofan หากสามารถวัดคาตางๆ ไดดังนี้ ความเร็วของอากาศบริเวณทอเขาเครื่องยนต 100 m/s ความเร็วของแกสบริเวณทอทายพัดลม


250 m/s ความเร็วแกสทอทายเครื่องยนต 350 m/s คาแรงขับรวมที่เกิดจาก turbofan 10 kN และมีคาอัตราการไหลมวลของกระแสอากาศรอนที่เกิดจากการเผาไหมเทากับ 10 kg/s

คําตอบ 1 : 4.23

กร ข

คําตอบ 2 : 5.0



คําตอบ 3 : 6.2

าว
คําตอบ 4 : 7.5

ขอที่ : 242

ส ภ
จงหาคา Bypass Ratio ของเครื่อง Turbofan ที่มีคา อัตราการไหลของกระเสเย็นที่ผาน Fan (Cold Air Mass Flow) เทากับ 80 kg/s และมีคาอัตราการไหลของกระแสอากาศรวม
(Total Air Mass Flow) เทากับ 100 kg/s
คําตอบ 1 : 4
คําตอบ 2 : 5
คําตอบ 3 : 6
คําตอบ 4 : 7 93 of 156
ขอที่ : 243
จงหาคาความเร็วของกระแสอากาศที่ทางออก Nozzle ของกระแสอากาศเย็นที่ผาน Fan ( Cold Stream ) ที่มีคา Fan Pressure Ratio = 1.5 ขณะที่กระแสอากาศเขาดวยความเร็ว
M=0.5
คําตอบ 1 : M = 0.6556
คําตอบ 2 : M = 0.9460


คําตอบ 3 : M = 0.4487

่ า
คําตอบ 4 : M = 0.379

หน

ขอที่ : 244


จงหาคา Fan Pressure Ratio ของเครื่องยนต Turbofan ที่มีคาความเร็วที่ทางออก Nozzle ของกระแสอากาศเย็นที่ผาน Fan (Cold Stream) อยางเดียว เทากับ 250 m/s และมี

า้ ม
คาความเร็วของกระแสอากาศที่ทางเขาเครื่องยนต 150 m/s และ Ambient Temperature 288 K

ิธ์ ห
คําตอบ 1 : 1.2536
คําตอบ 2 : 1.667
คําตอบ 3 : 0.75

ิท
คําตอบ 4 : 3.5

นส
ง ว
ขอที่ : 245

อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :
94 of 156
คําตอบ 4 :

ขอที่ : 246

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

ส ิท
ง ว น

คําตอบ 3 :

ขอ
กร
คําตอบ 4 :


ิ ว
าว
ขอที่ : 247

ส ภ
95 of 156
คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

่ า ย
คําตอบ 4 :

หน
จ ำ
ขอที่ : 248

า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข
คําตอบ 1 :


ิ ว
าว
คําตอบ 2 :


คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

96 of 156
ขอที่ : 249
่ า ย
หน
คําตอบ 1 :

จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 2 :

ส ิท
คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

ง ว น
อ ส
ขอที่ : 250

กร ข

เครื่องยนต Turbofan ชนิด Single Spool ถูกออกแบบให Fan และ Compressor ตองการกําลังขับถึง 8,000 kW และ 5,000 kW ตามลําดับขณะที่ประสิทธิภาพทางกลในการสง



ถายกําลังเพลามีคาเทากับ 0.9 จงหากําลังของกังหันTurbine ที่จําเปนตองผลิตออกมา

คําตอบ 1 :

ภ าว

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

97 of 156
คําตอบ 4 :
ขอที่ : 251

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ิท
คําตอบ 1 :

นส
คําตอบ 2 :

ง ว
อ ส

คําตอบ 3 :

วกร


คําตอบ 4 :

ภ าว

ขอที่ : 252

98 of 156
่ า ย
หน

คําตอบ 1 :

มจ
า้
ิธ์ ห
คําตอบ 2 :

ส ิท

คําตอบ 3 :

ง ว
อ ส
กร ข
คําตอบ 4 :


ิ ว
าว
ขอที่ : 253

ส ภ
99 of 156
คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :


คําตอบ 3 :

น่ า

คําตอบ 4 :

จ ำ
ขอที่ : 254

า้ ม
ิธ์ ห
เครื่องยนต Ideal Turbofan หากพิจารณาบริเวณหองเผาไหม ขณะที่เครื่องยนตมีความเร็วอากาศปากทางเขาเร็วขึ้นกวาเดิม ควรมีการควบคุมอัตราสวนเชื้อเพลิงอากาศอยางไร เมื่อ
พยายามควบคุมอุณหภูมิแกสรอนขณะออกจากหองเผาไหมคงที่เสมอ และใหอัตราสวนความดันที่ชิ้นสวนตางๆ ใหมีคาคงเดิมเชนกัน

คําตอบ 1 :
ลดอัตราสวนเชื้อเพลิงอากาศลง

ส ิท
คําตอบ 2 :
เพิ่มอัตราสวนเชื้อเพลิงอากาศขึ้น

ง ว น

ไมมีความสัมพันธเกี่ยวของกันระหวางตัวแปรดังกลาว


คําตอบ 3 :

กร ข
เพิ่มอัตราสวนเชื้อเพลิงอากาศ พรอมกับเพิ่มอัตราสวนความดันบริเวณชุดอัดอากาศ พรอมกัน
คําตอบ 4 :


ิ ว
าว
ขอที่ : 255
คา Bypass ratio ในอากาศยานใช เครื่องยนต Ideal Turbofan กําหนดโดย


คําตอบ 1 : อัตราสวนอัตราการไหลเชิงมวลของอากาศผาน fan ตอ core engine


คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
อัตราสวนอัตราการไหลเชิงมวลของอากาศผาน core engine ตอ อากาศทั้งหมด
อัตราสวนอัตราการไหลเชิงมวลของอากาศผาน fan ตอ อากาศทั้งหมด
อัตราสวนอัตราการไหลเชิงมวลของอากาศผาน core engine ตอ fan

ขอที่ : 256
100 of 156
คําตอบ 1 :

่ า ย

คําตอบ 2 :

จ ำ ห
า้ ม
คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :
ิธ์ ห
ส ิท
ขอที่ : 257

ง ว น
คาอัตราการเลี่ยง (bypass ratio) เหมาะสมที่สุดในการบินของเครื่องบินที่มีเครื่องยนตกังหันพัดลมแบบอุดมคติ (Ideal Turbofan) ที่โดยทั่วไปมักใชเปนเครื่องยนตโดยสารหรือขน


สงกําหนดจาก
คําตอบ 1 :


คาการสิ้นเปลืองเชื้อเพลิงต่ําสุด


กร
คําตอบ 2 : คาแรงขับ (Thrust) สูงสุด


คําตอบ 3 : คาประสิทธิภาพการขับดันสูงสุด



คําตอบ 4 : คาประสิทธิภาพความรอนสูงสุด

ขอที่ : 258

ภ าว

ในการบินเครื่องบินที่มีเครื่อยนตกังหันพัดลมแบบอุดมคติ (Ideal Turbofan) โดยที่มีทอไอเสียแยกจากทออากาศจากพัดลม (fan) ซึ่งเครื่องยนตนี้โดยทั่วไปมักใชเปนเครื่องยนต
โดยสารหรือขนสง ควรมีพารามิเตอร (parameters) สําหรับการบินที่เหมาะสมที่สุดดังนี้

คําตอบ 1 :

101 of 156
คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

่ า ย
หน

คําตอบ 4 :

มจ
า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 259
ในการบินเครื่องบอนที่มีเครื่องยนตกังหันพัดลม (Ideal Turbofan) ที่มีทอไอเสียแยกจากทออากาศของพัดลม (fan) ซึ่งเครื่องยนตนี้โดยทั่วไปมักใชเปนเครื่องยนตโดยสารหรือขน

ิท
สง คาอัตราการเลี่ยง (bypass ratio) ที่เหมาะสมจะเปลี่ยนแปลงไปตามขนาดชองพัดลม (fan) ที่เลือกใช เมื่อพิจารณาความสัมพันธระหวาง อัตราสวนการอัดอากาศของพัดลม (fan)


กับอัตราการเลี่ยง (bypass ratio) นี้ขอใดถูกตอง


คําตอบ 1 : อัตราสวนการอัดอากาศของพัดลม (fan) เพิ่มขึ้น เมื่ออัตราการเลี่ยง (bypass ratio) ที่เหมาะสมลดลง
คําตอบ 2 :

ง ว
อัตราสวนการอัดอากาศของพัดลม (fan) ลดลงตามอัตราการเลี่ยง (bypass ratio)


คําตอบ 3 : อัตราสวนการอัดอากาศของพัดลม (fan) เปนอิสระจากอัตราการเลี่ยง (bypass ratio) เมื่ออัตราการเลี่ยง (bypass ratio) มีคาต่ํามาก


คําตอบ 4 : อัตราสวนการอัดอากาศของพัดลม (fan) สูงสุดเมื่ออัตราการเลี่ยง (bypass ratio) มีคาต่ําสุด

กร ข

ขอที่ : 260



ในการบินเครื่องบินที่มีเครื่องยนตกังหันพัดลมแบบอุดมคติ (Ideal Turbofan) ที่มีทอไอเสียแยกจากทออากาศของพัดลม (fan) ซึ่งเครื่องยนตนี้โดยทั่วไปมักใชเปนเครื่องยนต

าว
โดยสารหรือขนสง คาอัตราการเลี่ยง (bypass ratio) ที่เหมาะสมจะเปลี่ยนแปลงไปตามอุณหภูมิกาซจากกังหันกาซ ที่เลือกใช เมื่อพิจารณาความสัมพันธระหวาง อุณหภูมิกาซจาก
กังหันกาซ กับอัตราการเลี่ยง (bypass ratio) นี้ ขอใดถูกตอง


คําตอบ 1 : อุณหภูมิกาซจากกังหันกาซ เพิ่มขึ้นตามอัตราการเลี่ยง (bypass ratio)


คําตอบ 2 : อุณหภูมิกาซจากกังหันกาซ ลดลงตามอัตราการเลี่ยง (bypass ratio)
คําตอบ 3 : อุณหภูมิกาซจากกังหันกาซ เปนอิสระจากอัตราการเลี่ยง (bypass ratio) เมื่ออัตราการเลี่ยง (bypass ratio) มีคาต่ํามาก
คําตอบ 4 : อุณหภูมิกาซจากกังหันกาซ สูงสุดเมื่ออัตราการเลี่ยง (bypass ratio) มีคาต่ําสุด

ขอที่ : 261
102 of 156
คําตอบ 1 :

่ า ย
คําตอบ 2 :

หน
จ ำ
า้ ม
คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :
ิธ์ ห
ส ิท
ขอที่ : 262

ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
าว
คําตอบ 1 :


คําตอบ 2 :ภ
คําตอบ 3 :

103 of 156
คําตอบ 4 :
ขอที่ : 263
เครื่องยนตสําหรับเครื่องบินขับไลในปจจุบัน มักจะพบชนิดเครื่องยนตแบบใด

่ า ย
คําตอบ 1 : Mixed-flow turbofan


คําตอบ 2 : Separated-flow turbofan


คําตอบ 3 : Turboprop


คําตอบ 4 : Turbojet

มจ
า้
ขอที่ : 264

ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
คําตอบ 1 :

อ ส
กร ข

ิ ว
าว
คําตอบ 2 :


คําตอบ 3 : ภ
คําตอบ 4 :
104 of 156
ขอที่ : 265
ขอใดคือนิยามของ Propeller Efficiency ของเครื่องยนต Turboprop
คําตอบ 1 : อัตราสวนระหวางแรงขับที่เกิดจาก Engine Core กับแรงขับที่เกิดขาก Propeller
คําตอบ 2 : อัตราสวนระหวางพลังงานที่เกิดจาก Engine Core กับพลังงานที่เกิดจาก Propeller
คําตอบ 3 : อัตราสวนระหวางกําลังที่ใชขับอากาศยานกับกําลังที่เกิดจาก Propeller


คําตอบ 4 : อัตรสวนระหวางพลังงานที่เกิดขึ้นจาก Engine Core กับแรงขับที่เกิดจาก Propeller

น่ า

ขอที่ : 266


ขอใดคือวัตถุประสงคหลักในการหาคา Optimum Turbine Temperature Ratio ของเครื่องยนตกังหันใบพัด(Turboprop)

มจ
า้
คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :
ิธ์ ห
ส ิท
คําตอบ 3 :

ง ว น
คําตอบ 4 :

อ ส
กร ข

ขอที่ : 267

าว ศ

ส ภ
คําตอบ 1 : 0.621
คําตอบ 2 : 0.553
คําตอบ 3 : 0.447
คําตอบ 4 : 0.379 105 of 156
ขอที่ : 268

่ า ย

คําตอบ 1 : 0.667


คําตอบ 2 : 1.5
คําตอบ 3 : 166.677

จ ำ

คําตอบ 4 : 0.006

า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 269
เครื่องยนต turboprop บินดวยความเร็วคง Ma = 3.43 โดยมีอัตราการไหลอากาศผานมีคา 2517 kg/s ถาคาความเร็วเสียงในอากาศขณะนั้นเทากับ 343 m/s จงประมาณหา Thrust

ิท
ของเครื่องยนต


คําตอบ 1 : 2.96 MN

ว น
คําตอบ 2 : 1.96 MN


คําตอบ 3 : 9.69 kN


คําตอบ 4 : 1.69 kN

ขอ
กร
ขอที่ : 270


ผลตางของ enthalpy ของอากาศเมื่อไหลผาน power turbine ของเครื่องยนต turboprop มีคา 174 kJ/kg โดยประสิทธิภาพของกังหันมีคา 89% ถาอัตราการไหลของอากาศมีคา



100 kg/s กําลังที่กังหันใหกับเพลามีคาเทาใด

าว
คําตอบ 1 : 40.5 MW


คําตอบ 2 : 30.5 MW


คําตอบ 3 : 20.5 MW
คําตอบ 4 : 15.5 MW

ขอที่ : 271
เครื่องบินมีเครื่องยนตแบบกังหันใบพัด (Turboprop) บินที่ความเร็ว M = 0.7 ขณะที่ความเร็วเสียงและความดันบรรยากาศเปน 297.3 m/s และ 19.4 kPa ตามลําดับ ถากําลังของ
กังหัน (power turbine) เทากับ 15.5 MW ประสิทธิภาพของใบพัด (propeller) และเกียร (gear) มีคา 0.79 และ 0.97 ตามลําดับ จงหาแรงขับ (Thrust) ของเครื่องยนต
คําตอบ 1 : 37 kN 106 of 156

คําตอบ 2 : 57 kN
คําตอบ 3 : 77 kN
คําตอบ 4 : 107 kN

ขอที่ : 272
เปนที่ทราบกันวาการเพิ่มขนาดของ propeller เปนวิธีการหนึ่งในการเพิ่มประสิทธิภาพใหกับเครื่องยนตturboprop แตถาขนาดของpropeller ใหญมากเกินไปจะทําใหประสิทธิภาพ
ลดลงไดเชนกัน ขอใดคือเหตุผลที่ทําใหประสิทธิภาพลดลง

่ า ย
คําตอบ 1 : น้ําหนักของ propeller เพิ่มขึ้นเปนทวีคูณ


คําตอบ 2 : ความออนไหว (flexibility) ของใบ propeller


คําตอบ 3 : ขอจํากัดของกําลังการขับของเครื่องยนต


คําตอบ 4 : ความเร็วอากาศที่สวนปลายของ propeller สูงเกินไป

มจ
า้
ขอที่ : 273

ิธ์ ห
ขอดีของเครื่องยนตกังหันใบพัด (turboprop) เมื่อเทียบกับเครื่องยนตกังหันพัดลม (turbofan) คืออะไร
คําตอบ 1 : มีคาอัตราการเลี่ยง (bypass ratio) ที่สูง

ิท
คําตอบ 2 : มีระบบที่ไมซับซอน


คําตอบ 3 : สามารถใชงานไดกับเชื้อเพลิงทุกชนิด


คําตอบ 4 : การบํารุงรักษากระทําไดงาย

ง ว

ขอที่ : 274

ขอ
เครื่องยนตชนิดกังหันใบพัด (Turboprop) ควรจะมีชุดกังหัน (Turbine) อยางนอยกี่ชุด

กร
คําตอบ 1 : 1 ชุด


คําตอบ 2 : 2 ชุด



คําตอบ 3 : 3 ชุด

าว
คําตอบ 4 : 4 ชุด

ขอที่ : 275

ส ภ
จงบอกลักษณะเดนของเครื่องยนตชนิดกังหันใบพัด (Turboprop)
คําตอบ 1 : ใชสําหรับเครื่องบินในยานความเร็วเหนือเสียง
คําตอบ 2 : มีแรงขับที่สูง
คําตอบ 3 : มีคาความสิ้นเปลืองเชื้อเพลิงจําเพาะ (Specific fuel consumption) ต่ํา ที่การบินความเร็วต่ํา
คําตอบ 4 : เครื่องยนตมีขนาดเบา
107 of 156
ขอที่ : 276
สําหรับบริเวณปลายใบพัด propeller โดยทั่วไปถูกจํากัด Mach number ที่ระดับใด
คําตอบ 1 : M<0.7
คําตอบ 2 : 0.5
คําตอบ 3 : M>1.1
คําตอบ 4 : 1.0

่ า ย

ขอที่ : 277

จ ำ ห
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

ว กร
าว ศ


คําตอบ 3 :


คําตอบ 4 :

ขอที่ : 278
108 of 156
เครื่องยนตชนิดใดที่ไมจําเปนตองอาศัยแนวความคิดการขับดันดวยไอพน
คําตอบ 1 : Turbojet
คําตอบ 2 : Turbofan
คําตอบ 3 : Turboshaft
คําตอบ 4 : Scramjet

ขอที่ : 279

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น

คําตอบ 1 :

ขอ
กร
คําตอบ 2 :


ิ ว
าว
คําตอบ 3 :


คําตอบ 4 :ภ
ขอที่ : 280
109 of 156
่ า ย
หน
จ ำ

คําตอบ 1 :

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

ส ิท
ง ว น

คําตอบ 4 :

ขอ
ขอที่ : 281

ว กร


เครื่องยนต Turboprop มีลักษณะเดนกวา Turbofan อยางไร

าว
คําตอบ 1 : มีเสียงรบกวนต่ํา


คําตอบ 2 : High bypass ratio


คําตอบ 3 : อาศัยแรงขับจากไอพนเปนหลัก
คําตอบ 4 : High compression ratio

ขอที่ : 282
ขอดีของเครื่องยนต turbopropeller เมื่อเทียบกับ propeller แบบใชเครื่องยนตกระบอกสูบคือ
คําตอบ 1 : turbopropeller มีชิ้นสวนเคลื่อนที่นอยกวา และซับซอนนอยกวา 110 of 156
คําตอบ 2 : turbopropeller ราคาถูกกวา
คําตอบ 3 : turbopropeller มีการติดตั้ง carburator
คําตอบ 4 : turbopropeller นิยมในการติดตั้งเครื่องบินขนาดเล็ก เชนขนาด 4 ที่นั่ง

ขอที่ : 283
หากวาเครื่องยนต Turboprop มีคา Propeller Efficiency 100% จะมีผลอยางไร
คําตอบ 1 : แรงขับ (Thrust) ของ Engine นี้ทั้งหมดมาจาก Engine Core ทั้งหมด
คําตอบ 2 : กําลังที่ขับอากาศยานทั้งหมดมาจากกําลัง propeller

่ า ย

คําตอบ 3 : ความเร็วที่ทางออก Nozzle มีคาเทากับ 0


คําตอบ 4 : ความเร็วที่ทางออก Nozzle มีคาเทากับความเร็วเสียง ณ ความสูงนั้นๆ

จ ำ

ขอที่ : 284

า้
กําลังขับของเครื่องยนต Turboshaft เกิดจาก 2 สวนดังนี้

ิธ์ ห
คําตอบ 1 : Shaft Power และ Thrust
คําตอบ 2 : Shaft Power และ Thrust x Velocity

ิท
คําตอบ 3 : Shaft Power / Velocity และ Thrust


คําตอบ 4 : Shaft Power / Velocity และ Thrust x Velocity

ขอที่ : 285

ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 : 2436.40 kW
คําตอบ 2 : 5,060.16 kW
คําตอบ 3 : 1,827.28 W
คําตอบ 4 : 5,060.16 W

ขอที่ : 286
111 of 156
ชิ้นสวนใดคือแหลงตนกําลังของใบพัด propeller
คําตอบ 1 : Free Turbine
คําตอบ 2 : High Pressure Turbine
คําตอบ 3 : High Pressure Compressor
คําตอบ 4 : Nozzle

ขอที่ : 287

่ า ย
หน
จ ำ
คําตอบ 1 : 879.1667 kN

า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 2 : 229.8167 kN
คําตอบ 3 : 879.1667 N

ิท
คําตอบ 4 : 229.8167 N

นส

ขอที่ : 288


ขอใดกลาวไมถูกตองเกี่ยวกับ Turboprop


คําตอบ 1 : มีการสูญเสียคา Propeller Efficiency ที่ปลายกลีบใบพัด เมื่อความเร็วปลายปก มีคามากกวาหรือเทากับ 0.7
คําตอบ 2 :

ขอ
มี Gearbox เพื่อใชลดความเร็วปลายกลีบใบพัด

กร
คําตอบ 3 : เสียงดังที่เกิดขึ้น สวนใหญเกิดจาก ความเร็วสูงที่ปลายกลีบใบพัด


คําตอบ 4 : แนวความคิดที่ใชใบพัดกลีบใหญ เพื่อใชลดการสูญเสีย Propeller Efficiency และลด Noise

ขอที่ : 289

าว ศ


จงหาคากําลังขับดันทั้งหมดที่เกิดจากเครื่องยนต Turboprop ขณะทราบผลตางของ Specific Enthalpy ที่ low pressure turbine มีคาเทากับ 4500 kJ/kg มีมวลแกสรอนไหล


ผาน 4.5 kg/s และขณะที่ความเร็วลมบริเวณทอเขาเครื่องยนต (Vo) 200 m/s และมีอัตราการไหลของแกสรอนทอทายเครื่องยนต (V9) 310 m/s

คําตอบ 1 : 10,174.5 kW
คําตอบ 2 : 20,250 kW
คําตอบ 3 : 119,250 kW
คําตอบ 4 : 238,500 kW

112 of 156
ขอที่ : 290
กําลังขับเคลื่อนของอากาศยานที่ใชเครื่องยนต Turboprop เกิดจาก
คําตอบ 1 : แรงจาก Engine Core
คําตอบ 2 : แรงจาก Engine Core คูณกับความเร็วของอากาศยาน
คําตอบ 3 : กําลังที่เกิดจากใบพัด (Propeller)
คําตอบ 4 : แรงจาก Engine Core คูณกับความเร็วของอากาศยาน และกําลังที่เกิดจากใบพัด (Propeller)

่ า ย
ขอที่ : 291


หนาที่ของ free-power turbine ในเครื่องยนต Turboshaft คืออะไร


คําตอบ 1 : เพิ่ม thermal efficiency

จ ำ
คําตอบ 2 : เพิ่ม propulsive efficiency


คําตอบ 3 : เปลี่ยน thrust เปนแรงบิดของ shaft

า้
คําตอบ 4 : สรางงานในการขับ compressor

ขอที่ : 292
ิธ์ ห
ิท
Helicopters โดยทั่วไปใชเครื่องยนต ขอใดตอไปนี้


คําตอบ 1 : Turbojet

ว น
คําตอบ 2 : Turbofan


คําตอบ 3 : Turboshaft


คําตอบ 4 : Turboprop

ขอ
กร
ขอที่ : 293


ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 : ตัวเผาไหม (Combuster) 113 of 156

คําตอบ 2 : เครื่องอัดอากาศ (Compressor)


คําตอบ 3 : กังหัน (Turbine)
คําตอบ 4 : ทอทางออก (Nozzle)

ขอที่ : 294

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : ทอทางออก (Nozzle)
คําตอบ 2 : ตัวเผาไหม (Combustor)

ิท
คําตอบ 3 : กังหัน (Turbine)


คําตอบ 4 : กระปุกเกียร (Gearbox)

ขอที่ : 295

ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
เพิ่มความเร็วอากาศ
เพิ่มความดันอากาศ
ลดความหนาแนนอากาศ
คําตอบ 4 : ลดอุณหภูมิอากาศ

114 of 156
ขอที่ : 296
่ า ย

คําตอบ 1 : สรางโมเมนตัม (momentum) ใหอากาศ


คําตอบ 2 : เพิ่มความเร็วอากาศ


คําตอบ 3 : ขับเครื่องอัดอากาศ (compressor) และใบพัด (propeller)


คําตอบ 4 : สงผานอากาศใหกับทอทางออก (nozzle)

า้ ม
ิธ์ ห
ขอที่ : 297
เครื่องยนตกังหันใบพัด (turboprop) ทําใหเกิดแรงขับยอนกลับ (thrust reversal) ดวยวิธีใด

ิท
คําตอบ 1 : เปลี่ยนทิศทางการหมุนของเครื่องยนต


คําตอบ 2 : เปลี่ยนมุมพิช (pitch) ของใบพัด (propeller)


คําตอบ 3 : สลับการทํางานระหวางเครื่องอัดอากาศ (compressor) และกังหัน (turbine)

ง ว
คําตอบ 4 : เครื่องยนตกังหันใบพัด (turboprop) ไมสามารถทําใหเกิดแรงขับยอนกลับ (thrust reversal) ได

ขอที่ : 298

อ ส
ขอใดตอไปนี้ถูกตอง

กร ข

คําตอบ 1 : เครื่องยนต turboprop มีคา propulsive efficiency สูงกวาเครื่องยนต turbojet ในทุกยานความเร็วการบิน



คําตอบ 2 : เครื่องยนต turboprop มีคา propulsive efficiency ต่ํากวาเครื่องยนต turbojet ในทุกยานความเร็วการบิน

าว
คําตอบ 3 : เครื่องยนต turboprop มีคา propulsive efficiency สูงกวาเครื่องยนต turbojet ในยานความเร็วการบินต่ํา
คําตอบ 4 : เครื่องยนต turboprop มีคา propulsive efficiency สูงกวาเครื่องยนต turbojet ในยานความเร็วการบินสูง

ขอที่ : 299
ส ภ
ขอใดตอไปนี้คือขอเสียของเครื่องยนตกังหันใบพัด (turboprop)
คําตอบ 1 : คาประสิทธิภาพแรงขับ (propulsive efficiency) นอยมากขณะที่บินที่ความเร็วต่ํา
คําตอบ 2 : คาประสิทธิภาพแรงขับ (propulsive efficiency) มีความไมแนนอน
คําตอบ 3 : คาประสิทธิภาพแรงขับ (propulsive efficiency) นอยกวาเครื่องยนตกังหันพัดลม (turbofan)
คําตอบ 4 : คาประสิทธิภาพแรงขับ (propulsive efficiency) ลดลงอยางรวดเร็วขณะที่บินที่ความเร็วสูง 115 of 156
ขอที่ : 300
สมรรถนะ (Performance) ของเครื่องยนตกังหันใบพัด (turboprop) วัดจากคาอะไรเปนหลัก
คําตอบ 1 : แรงขับ (Thrust)
คําตอบ 2 : กําลังขับเพลา (Shaft horse power)
คําตอบ 3 : ความเร็วการหมุนใบพัด (Propeller rotational speed)
คําตอบ 4 : การถายเทโมเมนตัม (Momentum transfer)

่ า ย

ขอที่ : 301


จงคํานวนหาพื้นที่หนาตัดบริเวณกอนเขา Rotor เครื่องอัดอากาศ ในกรณีที่อากาศไหลเขามีมุมเวคเตอรความเร็วเทียบกับแนวแกน 42.35 องศา ดวยอัตราการไหลมวล 22.68


kg/sec. ความเร็วมัคที่ 0.7 โดยมีความดันสถิตยและอุณหภูมิสถิตยคือ 73,064.42 Pa และ 282.44 Kตามลําดับ กําหนดใหคา Specific heat ratio =1.4 และ Gas Constant (R) =


287 J/kgK

คําตอบ 1 :
0.144 ตารางเมตร

า้ ม
ิธ์ ห
0.103 ตารางเมตร
คําตอบ 2 :

ิท
0.722 ตารางเมตร


คําตอบ 3 :


0.553 ตารางเมตร


คําตอบ 4 :

ส ง

ขอที่ : 302

กร ข
จงประมาณอุณหภูมิรวมขณะออกจากหองเผาไหม ในกรณีที่ชุดอัดอากาศมีประสิทธิภาพ Isentropic เทากับ 0.95 มีอัตราสวนความดันรวมคือ 25 ซึ่งพบวาอากาศมีอุณภูมิรวมกอนเขา
ชุดอัดอากาศที่ 300 K อัตราการไหลมวลอากาศที่ 45 kg/sec. (คาความรอนจําเพาะอากาศ Cp=1.004 kJ/kgK) ขณะที่ประสิทธิภาพการเผาไหมคือ 0.9 และอัตราการใชเชื้อเพลิง


คือ 0.05 kg/sec. (คาความรอนเชื้อเพลิงคือ 47,000 kJ/kg)

คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
823 K
954 K

าว ศ


คําตอบ 3 : 723 K

ขอที่ : 303

คําตอบ 4 : 1110 K

116 of 156
คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :


คําตอบ 3 :

น่ า

คําตอบ 4 :

จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ขอที่ : 304
จุดประสงคหลักของการออกแบบ Supersonic inlet ใหเกิด oblique shock คือขอใด
คําตอบ 1 : ลด total pressure loss

ิท
คําตอบ 2 : เพิ่ม total pressure loss


คําตอบ 3 : ลด total temperature loss

ว น
คําตอบ 4 : เพิ่ม total temperature loss

ส ง

ขอที่ : 305


Major loss ของ Supersonic inlet เปนผลมาจากอะไร

กร
คําตอบ 1 : Shock waves


คําตอบ 2 : Skin friction



คําตอบ 3 : การสูญเสียความรอน

าว
คําตอบ 4 : การขยายตัวของอากาศ

ขอที่ : 306

ส ภ
ขอใดตอไปนี้คือรูปแบบการไหลของอากาศในระหวางการ take off

คําตอบ 1 :
117 of 156
่ า ย
หน

คําตอบ 2 :

มจ
า้
ิธ์ ห
คําตอบ 3 :

ส ิท
ง ว น
อ ส

คําตอบ 4 : เปนไปไดทุกกรณี

ขอที่ : 307

ว กร


ขอใดสามารถบงบอกถึงสมรรถนะของเครื่องอัดอากาศ (Compressor) หรือประสิทธิภาพไอเซนโทปกของเครื่องอัดอากาศ (Isentropic Efficiency of Compressor)

ภ าว

คําตอบ 1 : อัตราสวนระหวางแรงขับที่เกิดขึ้นจริง กับแรงขับที่เกิดจากเครื่องยนตในอุดมคติ ณ คาอัตราสวนความดันของเครื่องอัดอากาศ (Compressor Pressure Ratio) หนึ่ง
คําตอบ 2 : อัตราสวนระหวางแรงขับที่เกิดจากเครื่องยนตในอุดมคติ กับแรงขับที่เกิดขึ้นจริง ณ คาอัตราสวนความดันของเครื่องอัดอากาศ (Compressor Pressure Ratio) หนึ่ง
คําตอบ 3 : อัตราสวนระหวางงานที่เกิดขึ้นจริง กับงานที่เกิดจากเครื่องยนตในอุดมคติ ณ คาอัตราสวนความดันของเครื่องอัดอากาศ (Compressor Pressure Ratio) หนึ่ง
คําตอบ 4 : อัตราสวนระหวางงานที่เกิดจากเครื่องยนตในอุดมคติ กับงานที่เกิดขึ้นจริง ณ คาอัตราสวนความดันของเครื่องอัดอากาศ (Compressor Pressure Ratio) หนึ่ง

ขอที่ : 308
118 of 156
คําตอบ 1 : 0.75
คําตอบ 2 : 0.5

่ า ย
คําตอบ 3 : 0.25


คําตอบ 4 : 0.85

ขอที่ : 309

จ ำ ห

ชุดอัดอากาศมีจํานวนทั้งสิ้น 10 ขั้น (stages) โดยแตละขั้นมีอัตราสวนการอัดเทากันคือ 1.405 โดยมีอุณหภูมิรวม (total temperature) กอนเขาชุดอัดอากาศเทากับ 300 K ซึ่งทั้ง

า้
หมดมีประสิทธิภาพ compressor isentropic efficiency 0.93 จงคํานวณหาอุณหภูมิรวมขาออกชุดอัดอากาศ

ิธ์ ห
คําตอบ 1 : 830 K
คําตอบ 2 : 664 K

ิท
คําตอบ 3 : 522 K

นส
คําตอบ 4 : 480 K

ง ว

ขอที่ : 310


กังหัน turbine มีประสิทธิภาพ polytropic 0.95 และอัตราสวนความดันรวม (Total pressure ratio) 0.02 จงคํานวนหาประสิทธิภาพ isentropic ของกังหันดังกลาว โดยกําหนดให


อัตราสวนคาความรอนจําเพาะของอากาศคือ 1.4

ว กร
คําตอบ 1 : 0.97



คําตอบ 2 : 0.92

าว
คําตอบ 3 : 0.87
คําตอบ 4 : 0.82

ขอที่ : 311
ส ภ
ขอใดคือนิยามของประสิทธิภาพไอเซนโทปกของเครื่องอัดอากาศ (Compressor Isentropic Efficiency) ที่ถูกตองที่สุด
อัตราสวนระหวางงานที่เกิดจากการอัดอากาศของเครื่องอัดอากาศ (Compressor) ในอุดมคติ กับงานที่เกิดจากการอัดกาศของเครื่องอัดอากาศ (Compressor) ใน
คําตอบ 1 :
สถานะการณจริง
อัตราสวนระหวางงานที่เกิดจากการอัดอากาศของเครื่องอัดอากาศ (Compressor) ในสถานะการณจริง กับงานที่เกิดจากการอัดกาศของเครื่องอัดอากาศ
คําตอบ 2 :
(Compressor) ในอุดมคติ 119 of 156

คําตอบ 3 : อัตราสวนระหวางผลตางของอุณหภูมิที่ทางเขาและทางออกของเครื่องอัดอากาศ (Compressor) ในอุดมคติ กับผลตางของอุณหภูมิที่ทางเขาและทางออกของเครื่อง


อัดอากาศ (Compressor) ในสถานะการณจริง
อัตราสวนระหวางผลตางของอุณหภูมิที่ทางเขาและทางออกของเครื่องอัดอากาศ (Compressor) ในสถานะการณจริง กับผลตางของอุณหภูมิที่ทางเขาและทางออก
คําตอบ 4 :
ของเครื่องอัดอากาศ (Compressor) ในอุดมคติ

ขอที่ : 312
ขอใดกลาวไดถูกตองที่สุดเกี่ยวกับโรเตอร (Rotor) กับสเตเตอร (Stator)

่ า ย
คําตอบ 1 : โรเตอร (Rotor) มีหนาที่ในการอัดอากาศเพียงอยางเดียว สวน สเตเตอร (Stator) มีหนาที่ในการเบี่ยงเบนทิศทางของกระแสอากาศเพียงอยางเดียว


คําตอบ 2 : สเตเตอร (Stator) มีหนาที่ในการอัดอากาศเพียงอยางเดียว สวน โรเตอร (Rotor) มีหนาที่ในการเบี่ยงเบนทิศทางของกระแสอากาศเพียงอยางเดียว


คําตอบ 3 : โรเตอร (Rotor) เคลื่อนที่ได สวนสเตเอร (Stator) ไมสามารถเคลื่อนที่ได


คําตอบ 4 : สเตเอร (Stator) เคลื่อนที่ได สวนโรเตอร (Rotor) ไมสามารถเคลื่อนที่ได

มจ
า้
ขอที่ : 313

ิธ์ ห
จงคํานวณหาคาประสิทธิภาพไอเซนโทปกของกังหัน (Turbine Isentropic Efficiency) ของเครื่องยนตหนึ่งที่มีคาตางๆ ดังนี้ อุณหภูมิรวมที่ทางออกของหองเผาไหม
(Combustion) มีคาเทากับ 1600 K อุณหภูมิที่ทางออกของกังหันจริง (Actual Turbine) มีคาเทากับ 950 K และอุณหภูมิรวมที่กังหันอุดมคติ (Ideal Turbine) มีคาเทากับ 800 K

ิท
คําตอบ 1 : 1.23


คําตอบ 2 : 0.95


คําตอบ 3 : 0.8125

ง ว
คําตอบ 4 : 0.725

ขอที่ : 314

อ ส
กร ข

ิ ว
คําตอบ 1 :


0.94
าว

คําตอบ 2 : 0.818
คําตอบ 3 : 0.755
คําตอบ 4 : 0.63

ขอที่ : 315
120 of 156
คําตอบ 1 : 0.75
คําตอบ 2 : 0.84

่ า ย
คําตอบ 3 : 0.78


คําตอบ 4 : 0.72

ขอที่ : 316

จ ำ ห
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท

คําตอบ 1 : 0.998


คําตอบ 2 : 0.90
คําตอบ 3 : 0.754 N

ส ง

คําตอบ 4 : 0.1808

ขอที่ : 317

กร ข

จงหาคาประสิทธิภาพหองเผาไหมเมื่อพิจารณาเชิงอุดมคติของเครื่องยนตที่มีคาตอไปนี้ คาอัตราการไหลมวลอากาศเทากับ 45 kg/sec. อัตราการไหลมวลเชื้อเพลิงเทากับ 0.05

าว ศ

kg/sec. และมีคาอัตราสวนของอุณหภูมิรวมของหองเผาไหม 1.0586 ขณะที่อุณหภูมิรวมกอนเขาหองเผาไหมคือ 800 K กําหนดใหเชื้อเพลิงมีคาความรอน 47,000 kJ/kg และ
อากาศมีคาความรอนจําเพาะ Cp 1.004 kJ/kgK


คําตอบ 1 : 0.8


คําตอบ 2 : 0.75
คําตอบ 3 : 0.73
คําตอบ 4 : 0.9

ขอที่ : 318
ชุดอัดอากาศมีทั้งหมด 10 ขั้น (stages) โดยแตละขั้นมีคา total pressrue ratio 1.405 โดยมีประสิทธิภาพรวมคือ Compressor isentropic efficiency 0.93 จงคํ านวณหา
121 of 156
ประสิทธิภาพ polytropic efficiency ของชุดอัดอากาศดังกลาว โดยกําหนดใหอัตราสวนความรอนจําเพาะของอากาศคือ 1.4
คําตอบ 1 : 0.96
คําตอบ 2 : 0.91
คําตอบ 3 : 0.88
คําตอบ 4 : 0.86

ขอที่ : 319

่ า ย
ขอใดคือความแตกตางระหวาง Actual Turbine Leaving Total Temperature กับ Ideal Turbine Leaving Total Temperature


คําตอบ 1 : ไมมีขอแตกตาง


คําตอบ 2 : คาทั้งสองเทากันทุกกรณี

จ ำ
คําตอบ 3 : คา Ideal Turbine Leaving Total Temperature จะมีคาสูงกวาเสมอ


คําตอบ 4 : กระบวนการ Isentropic

า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 320
ขอใดกลาวผิด

ิท
คําตอบ 1 : สําหรับเครื่องอัดอากาศที่มีหลายขั้น (Multistage Compressor) ในทุกๆ ขั้น (Stage) จะมีทั้งโรเตอร (Rotor) และสเตเตอร (Stator)


สําหรับเครื่องอัดอากาศที่มีหลายขั้น (Multistage Compressor) ในทุกๆ ขั้น (Stage) จะตองมีคาประสิทธิภาพไอเซนโทปก (Isentropic Efficiency) เทากันใน


คําตอบ 2 :
ทุกๆ ขั้น (Stage) ก็ได
คําตอบ 3 :

ง ว
คาอัตราสวนความดัน (Pressure Ratio) ของทุกๆ ขั้น (Stage) จะตองมีคาเทากันเสมอ


คําตอบ 4 : ไมมีขอใดกลาวผิด

ขอ
กร
ขอที่ : 321


สําหรับทอทางเขา (air inlet ) ขอความใดไมตรงกับคุณสมบัติทางอุณหพลศาสตรของอุปกรณดังกลาว



คําตอบ 1 : อุณหภูมิเบ็ดเสร็จ (total temperature) ลดลงเรื่อยๆเมื่อเทียบกับปากทางเขา

าว
คําตอบ 2 : ความเร็วของอากาศลดลงเรื่อยๆเมื่อเทียบกับปากทางเขา


คําตอบ 3 : ความดันเบ็ดเสร็จ (total pressure) มีคาคงที่เมื่อเทียบกับปากทางเขา


คําตอบ 4 : ความดันสถิตย (static pressure) เพิ่มขึ้นเรื่อยๆเมื่อเทียบกับปากทางเขา

ขอที่ : 322
เมื่อพิจารณาทอทางเขาอากาศในความเปนจริง (actual air inlet) สมมติฐานใดที่ยังใชได
คําตอบ 1 : ผนังทอทางเขาเปนแบบ adiabatic
คําตอบ 2 : ความดันสัมบูรณ (total pressure) คงที่ทุกจุดตลอดทั้งทอ
คําตอบ 3 : ความเร็วอากาศคงที่ทุกจุดตลอดทั้งทอ 122 of 156

คําตอบ 4 : อุณหภูมิสถิตย (static temperature) คงที่ตลอดทั้งทอ


ขอที่ : 323
จากกฎขอที่หนึ่งของอุณหพลศาสตร จงวิเคราะหความสัมพันธสําหรับทอทางเขาอากาศ (air inlet) ขอใดถูกตอง เมื่อ Q คือปริมาณความรอน W คืองานและ E คือพลังงาน
คําตอบ 1 : E_in = E_out
คําตอบ 2 : Q_in > Q_out
คําตอบ 3 : W_in < W_out


คําตอบ 4 : W_in > W_out

น่ า

ขอที่ : 324


ขอใดเปนตัวบงบอกถึงประสิทธิภาพของเครื่องอัดอากาศ (compressor)
คําตอบ 1 : Polytropic efficiency

มจ
า้
คําตอบ 2 : Isothermal efficiency

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : Isobaric efficiency
คําตอบ 4 : Isochrolic efficiency

ขอที่ : 325

ส ิท
ว น
จงเขียนแผนภาพระหวางอุณหภูมิและเอนโทรป (T-S diagram) ที่แสดงขบวนการทํางานของเครื่องอัดอากาศ ที่สอดคลองกับขบวนการจริงและทางอุดมคติ

ส ง
ขอ
กร
คําตอบ 1 :


ิ ว
ภ าว

คําตอบ 2 :

123 of 156
คําตอบ 3 :

่ า ย
หน
จ ำ
คําตอบ 4 :

า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ว น
ขอที่ : 326

ส ง
ขอ
ว กร
คําตอบ 1 :

าว
438.36 K



คําตอบ 2 : 550.70 K


คําตอบ 3 : 350.12 K
คําตอบ 4 : 290.50 K

ขอที่ : 327
จงเลือกแผนภาพระหวางอุณหภูมิและเอนโทรป(T-S diagram) ที่แสดงขบวนการทํางานของกังหัน(turbine) ที่สอดคลองกับขบวนการจริงและทางอุดมคติ

124 of 156
คําตอบ 1 :

่ า ย
หน
จ ำ

คําตอบ 2 :

า้
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น

คําตอบ 3 :

ขอ
ว กร
าว ศ


คําตอบ 4 :

ขอที่ : 328 125 of 156

เมื่อพิจารณากฎขอที่หนึ่งของอุณหพลศาสตร ณ บริเวณหองเผาไหม อะเดียบาติก โดยใหเชื้อเพลิงภายในหองเผาไหมเปนรูปของพลังงานภายในรูปแบบหนึ่ง จงวิเคราะหวาขอใดถูก


คําตอบ 1 : E_in = E_out
คําตอบ 2 : Q_in < Q_out
คําตอบ 3 : W_in < W_out
คําตอบ 4 : Q_in > Q_out

ขอที่ : 329

่ า ย
ประสิทธิภาพของการเผาไหม (combustion efficiency) ถูกกําหนดจาก


คําตอบ 1 : ผลตางของอัตราเอนโทรป (Entropy) กอนและหลังจากหองเผาไหมหารดวยอัตราพลังงานเชื้อเพลิงเขาหองเผาไหม


คําตอบ 2 : อัตราเอนโทรป (Entropy) หลังออกหองเผาไหมหารดวยอัตราเอนโทรป (Entropy) กอนเขาหองเผาไหม

จ ำ
คําตอบ 3 : อัตราเอนโทรป (Entropy) กอนเขาหองเผาไหมหารดวยอัตราเอนโทรป (Entropy) หลังเขาหองเผาไหม


คําตอบ 4 : อัตราเอนโทรป (Entropy) หลังออกหองเผาไหมหารดวยอัตราพลังงานเชื้อเพลิงเขาหองเผาไหม

า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 330
สาเหตุของงานที่ไดจากกังหันตนกําลัง (turbine)ใหงานนอยกวาในกรณีอุดมคตินั้นมาจากอะไร

คําตอบ 1 :

ส ิท
ง ว น

คําตอบ 2 :

ขอ
กร
คําตอบ 3 :


ิ ว
าว
คําตอบ 4 :

ขอที่ : 331
ส ภ
Pa>P1 126 of 156
คําตอบ 1 :
P1>Pa
คําตอบ 2 :

Pa>P01
คําตอบ 3 :

P1>P01
คําตอบ 4 :

ขอที่ : 332

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
P01>P1
คําตอบ 1 :

P01=P1
คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :
Pa>P01

ส ิท
คําตอบ 4 :
Pa=P1

ง ว น
อ ส

ขอที่ : 333

วกร
าว ศ


คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :
127 of 156
คําตอบ 4 :

ขอที่ : 334
การออกแบบ divergent inlet แบบ Pitot สําหรับ jet engine บินเหนือเสียง ตําแหนงของ Normal shock wave อยูที่ใดเมื่อบินที่ความเร็ว designed Mach number
คําตอบ 1 : เกิดขึ้นตรงปากทางเขาพอดี

่ า ย
คําตอบ 2 : เกิดขึ้นดานตนน้ํากอนปากทางเขา


คําตอบ 3 : เกิดขึ้นเลยเขาไปในทอ


คําตอบ 4 : ไมเกิด shock wave

จ ำ

ขอที่ : 335

า้
ิธ์ ห
ส ิท

คําตอบ 1 :

ง ว

คําตอบ 2 :

ขอ
กร
คําตอบ 3 :


ิ ว
าว
คําตอบ 4 :

ขอที่ : 336
ส ภ
คําตอบ 1 :

128 of 156
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

่ า ย

ขอที่ : 337


หนาที่ และสภาวะการทํางาน ของ flame holder คือ
คําตอบ 1 : ทําใหเปลวไฟมีเสถียรภาพเมื่อความเร็วกาซมากกวาความเร็วเปลว

จ ำ

คําตอบ 2 : ทําใหเปลวไฟมีเสถียรภาพเมื่อความเร็วเปลวมากกวาความเร็วกาซ

า้
คําตอบ 3 : ทําหนาที่จุดเปลวขณะที่เครื่องบินที่ความเร็วต่ํา

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : ทําหนาที่จุดเปลวขณะที่เครื่องบินที่ความเร็วสูง

ิท
ขอที่ : 338

นส
ง ว
อ ส
กร ข
คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :


ิ ว
ภ าว

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

129 of 156
ขอที่ : 339
คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

่ า ย
หน
คําตอบ 3 :

จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 4 :

ส ิท
ขอที่ : 340

ง ว น
อ ส
กร ข
คําตอบ 1 :


ิ ว
คําตอบ 2 :

ภ าว

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 : 130 of 156


ขอที่ : 341


คําตอบ 1 : 727.2972 N

่ า
คําตอบ 2 : 1,454.71 N


คําตอบ 3 : 34.6332 N

ำ ห
คําตอบ 4 : 15,273.2412 N

มจ
า้
ขอที่ : 342

ิธ์ ห
ขอใดไมใชสมมุติฐาน และ/หรือ นิยามของทฤษฎีโมเมนตัม (Momentum Theory หรือ Actuator Disk Theory )
คําตอบ 1 : เปนการไหลแบบไรการอัดตัว ( Incompressible )
คําตอบ 2 : เปนการไหลแบบตอเนื่องตลอดตั้งแตกอนถึงใบพัด ไปจนถึงเลยใบพัดไปแลว ( Continuity )

ิท
คําตอบ 3 : เปนการไหลแบบสม่ําเสมอ ( Uniformity )

นส
คําตอบ 4 : เปนการไหลแบบไอเซนโทปก ( Isentropic )

ง ว

ขอที่ : 343


ขอดีของใบพัดแบบที่มีมุมพิชที่เปลี่ยนแปลงได (Variable-pitch propeller) คือ

กร ข
คําตอบ 1 : สามารถปรับทิศทางของแรงขับดันได
คําตอบ 2 : สามารถปรับประสิทธิภาพแรงขับไดที่ทุกความเร็วการบิน


คําตอบ 3 : โครงสรางมีความแข็งแรง

าว ศ

คําตอบ 4 : ไมมีปญหาเรื่องการสั่นสะเทือนในการหมุน


ขอที่ : 344


วิธีการเปลี่ยนความเร็วของเครื่องบินที่ขับเคลื่อนดวยเครื่องยนตใบพัดลูกสูบที่มีความเร็วในการหมุนใบพัดคงที่ (Constant speed) คือ
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
ไมสามารถเปลี่ยนความเร็วได
เพิ่มหรือลดแรงตาน (Drag) ใหกับปก
คําตอบ 3 : เปลี่ยนอัตราสวนผสมของอากาศ-เชื้อเพลิง
คําตอบ 4 : ปรับคามุมพิช (Pitch) ของใบพัด (Propeller)

131 of 156
ขอที่ : 345
จงหาขนาดกําลังขับที่เพลา (Shaft Power) ของเครื่องยนตใบพัด (Propeller) ที่สามารถสรางแรงขับขนาด 2 kN ที่ความเร็ว 80 m/sกําหนดให คาประสิทธิภาพแรงขับ
(Propulsive Efficiency) เทากับ 0.85
คําตอบ 1 : 136 W
คําตอบ 2 : 188 W
คําตอบ 3 : 136 kW
คําตอบ 4 : 188 kW

่ า ย

ขอที่ : 346


ขอใดกลาวไดถูกตองเกี่ยวกับใบพัดที่มีมุมพิชคงที่ (fixed-pitch propeller)


คําตอบ 1 : มุมระหวางเสนคอรด (Chord Line) ของกลีบใบพัด (Blade) กับระนาบการหมุน (Propeller Plane) มีคาไมคงที่

มจ
คําตอบ 2 : สามารถควบคุมใหความเร็วของใบพัด (Propeller) ใหคงที่ได (Constant Speed Propeller)

า้
คําตอบ 3 : มุมระหวางเสนคอรด (Chord Line) ของกลีบใบพัด (Blade) กับระนาบการหมุน (Propeller Plane) มีคาคงที่

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : ไมมีขอถูก

ิท
ขอที่ : 347


ขอใดกลาวไมถูกตองเกี่ยวกับใบพัดที่สามารถปรับมุมพิชได (variable-pitch propeller)


คําตอบ 1 : ตองมีอุปกรณเสริมติดตั้งเพื่อใชในการหมุนกลีบใบพัดรอบแกนตามแนวยาวของกลีบใบพัด
คําตอบ 2 :

ง ว
ตองมีอุปกรณเสริมติดตั้งเพื่อใชในการหมุนกลีบใบพัดรอบระนาบหมุนใบพัด (Propeller Plane)


คําตอบ 3 : สามารถควบคุมใหความเร็วของใบพัด (Propeller) คงที่ได (Constant Speed Propeller)


คําตอบ 4 : สามารถควบคุมแรงขับที่เกิดจากการหมุนใบพัด (Propeller) ได

กร ข

ขอที่ : 348



ขอใดกลาวไมถูกตองเกี่ยวกับการบิดกลีบใบพัด (Twisted Blade)

าว
คําตอบ 1 : มุมที่โคนกลีบใบพัดมีคามากกวามุมที่ปลายกลีบ


คําตอบ 2 : เพื่อลดความเร็วที่ปลายกลีบใบพัด


คําตอบ 3 : เพื่อทําใหสวยงาม
คําตอบ 4 : เพื่อที่ใหเกิดแรงขับที่สม่ําเสมอตลอดทั้งกลีบใบพัด

ขอที่ : 349
จงคํานวณหาอัตราสวนแอดวานซ (advance ratio) เมื่อเครื่องยนตใบพัดสามารถใหกําลังขับเคลื่อน 3,000 kW และแรงขับ 15 kN โดยมีคาประสิทธิภาพใบพัด (propeller
efficiency) เทากับ 0.85 และมีความยาวของใบพัด 2.5 m ที่อัตราการหมุนใบพัด 200 รอบตอวินาที
132 of 156
คําตอบ 1 : 0.08
คําตอบ 2 : 0.17
คําตอบ 3 : 0.25
คําตอบ 4 : 0.3

ขอที่ : 350

่ า ย
หน
คําตอบ 1 : 0.248

จ ำ
า้ ม
คําตอบ 2 : 0.54

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : 0.127
คําตอบ 4 : 0.0248

ส ิท
ขอที่ : 351


ในการกําหนดขนาดใบพัดสําหรับเครื่องบินเล็กจากผูผลิต เชน ใบพัด 24×12 ขอใดตอไปนี้กลาวไดถูกตอง


คําตอบ 1 : ใบพัดมีขนาดรัศมี 24 นิ้ว และมุมพิช (pitch angle) 12 องศา
คําตอบ 2 :

ส ง
ใบพัดมีขนาดรัศมี 24 นิ้ว และความยาวพิช (pitch length) 12 นิ้ว


คําตอบ 3 : ใบพัดมีขนาดเสนผานศูนยกลาง 12 นิ้ว และความยาวพิช (pitch length) 24 นิ้ว


คําตอบ 4 : ใบพัดมีขนาดเสนผานศูนยกลาง 24 นิ้ว และความยาวพิช (pitch length) 12 นิ้ว

ขอที่ : 352

ว กร
าว ศ

ขอใดคือสาเหตุหลักที่ทําใหใบพัดมีมุมบิดที่บริเวณโคนของใบพัด (root) มากกวาที่บริเวณปลายของใบพัด (tip)
คําตอบ 1 : ตองการใหใบพัดสรางแรงขับไปในทิศทางเดียวกันตลอดทั้งใบ


คําตอบ 2 : ตองการหลีกเลี่ยงการเกิดการ stall ที่บริเวณโคนของใบพัด
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ส เพื่อเพิ่มความแข็งแรงและลดการสั่นสะเทือนของโครงสรางของใบพัด
เพื่อเพิ่มทอรก (torque) ใหกับใบพัด

ขอที่ : 353
ขอใดกลาวไดถูกตองที่สุดเกี่ยวกับใบพัดที่มีมุมพิชคงที่ (constant-pitch propeller)
คําตอบ 1 : ใบพัดมีมุมพิช (pitch angle) เทากันตลอดแนวใบ 133 of 156

คําตอบ 2 : ใบพัดมีความยาวพิชเรขาคณิต (geometric pitch length) คงที่ตลอดแนวใบ


คําตอบ 3 : ใบพัดถูกติดตั้งกับเครื่องยนตไวที่มุมบิดคงที่
คําตอบ 4 : ใบพัดที่มีมุมพิชคงที่ (constant-pitch propeller) มีประสิทธิภาพสูงกวาใบพัดประเภทอื่น

ขอที่ : 354
ขอใดกลาวไดถูกตองเกี่ยวกับผลกระทบโดยทั่วไปของการเพิ่มความยาวพิช (pitch length) ใหกับใบพัด
คําตอบ 1 : ใบพัดจะสรางแรงขับไดนอยลง
คําตอบ 2 : ใบพัดจะมีความเร็วสัมพัทธเพิ่มขึ้น

่ า ย

คําตอบ 3 : ใบพัดจะสามารถสรางแรงขับไดมากขึ้น


คําตอบ 4 : ใบพัดจะมีขนาดเสนผานศูนยกลางมากขึ้น

จ ำ

ขอที่ : 355

า้
ขอใดคือผลกระทบของการที่ระนาบในการหมุนของใบพัดทํามุมกับทิศทางการเคลื่อนที่ของเครื่องบินในขณะที่เครื่องบินทําการบินตรงและบินระดับอยู

ิธ์ ห
คําตอบ 1 : ใบพัดจะสรางแรงตั้งฉาก (normal force) ทําใหเกิดโมเมนปกเงย (pitching moment) กับเครื่องบิน
คําตอบ 2 : ใบพัดจะเพิ่มแรงขับใหกับเครื่องบิน

ิท
คําตอบ 3 : ใบพัดจะสรางแรงดานขาง (side force) ทําใหเกิดโมเมนหมุน (rolling moment) กับเครื่องบิน


คําตอบ 4 : ใบพัดจะสรางแรงดานขาง (side force) ทําใหเกิดโมเมนสาย (yawing moment) กับเครื่องบิน

ขอที่ : 356

ง ว น
อ ส
ขอใดกลาวถูกตองเกี่ยวกับความสัมพันธของประสิทธิภาพแรงขับ (propulsive efficiency) กับอัตราสวนแอดวานซ (advance ratio) ของใบพัด


คําตอบ 1 : ประสิทธิภาพแรงขับ (Propulsive efficiency) มีคาสูงสุดเมื่ออัตราสวนแอดวานซ (advance ratio) เทากับศูนย

กร
คําตอบ 2 : ประสิทธิภาพแรงขับ (Propulsive efficiency) มีคาสูงสุดเมื่ออัตราสวนแอดวานซ (advance ratio) มีคาสูงสุด


คําตอบ 3 : ประสิทธิภาพแรงขับ (Propulsive efficiency) จะเพิ่มมากขึ้นเสมอเมื่ออัตราสวนแอดวานซ (advance ratio) มีคาลดลง



คําตอบ 4 : ประสิทธิภาพแรงขับ (Propulsive efficiency) มีคาเปนศูนยเมื่ออัตราสวนแอดวานซ (advance ratio) เทากับศูนย

ขอที่ : 357

ภ าว

โดยทั่วไปแลว บริษัทจะทําการวัดความยาวพิช (pitch length) ของใบพัดที่ตําแหนงใด
คําตอบ 1 : 1/2 ของรัศมีของใบพัด
คําตอบ 2 : ที่ปลายของใบพัด
คําตอบ 3 : 3/4 ของรัศมีของใบพัด
คําตอบ 4 : ทีโคนของใบพัด

134 of 156
ขอที่ : 358
ขอใดตอไปนี้เปนขอจํากัดหลักในการเลือกขนาดเสนผานศูนยกลางของใบพัด
คําตอบ 1 : มุมพิช (pitch angle)
คําตอบ 2 : ความเร็วสัมพัทธที่ปลายของใบพัด
คําตอบ 3 : ความยาวพิช (pitch length)
คําตอบ 4 : อัตราสวนแอดวานซ (Advance ratio)

่ า ย
ขอที่ : 359


ใบพัดชนิดใดตอไปนี้เหมาะสมที่สุดที่จะนําไปใชกับเครื่องบินที่ตองการสมรรถนะในการบินสูง


คําตอบ 1 : Variable-pitch propeller

จ ำ
คําตอบ 2 : Fixed-pitch propeller


คําตอบ 3 : Constant-pitch propeller

า้
คําตอบ 4 : Constant-speed propeller

ขอที่ : 360
ิธ์ ห
ิท
ขอใดคือนิยามของอิมพัลสจําเพาะ (Specific Impulse)


คําตอบ 1 : คาอัตราสวนของแรงขับ ( Thrust ) ตออัตราการไหลของน้ําหนักเชื้อเพลิง

ว น
คําตอบ 2 : คาอัตราสวนของแรงขับ ( Thrust ) ตออัตราการไหลของมวลอากาศ


คําตอบ 3 : คาอัตราสวนของแรงขับ ( Thrust ) ตออัตราการไหลของน้ําหนักอากาศ


คําตอบ 4 : คาอัตราสวนของแรงขับ ( Thrust ) ตออัตราการไหลของมวลเชื้อเพลิง

ขอ
กร
ขอที่ : 361


จงหาแรงขับของเครื่องยนตจรวด (Rocket) โดยมีเงื่อนไขดังนี้



อัตราการไหลของมวลเชื้อเพลิง (Propellant mass flow rate) 1,000 kg/s

าว
ความเร็วที่ปากทอทางออก (Exhaust velocity at nozzle exit) 3,500 m/s
ความดันที่ปากทอทางออก (Exhaust pressure at nozzle exit) 20kPa


พื้นที่หนาตัดของปากทอทางออก (Nozzle exit area) 4 square metre


ความดันบรรยากาศ (Ambient pressure) 50 kPa

คําตอบ 1 : 3,620 kN
คําตอบ 2 : 3,580 kN
คําตอบ 3 : 3,500 kN
คําตอบ 4 : 3,380 kN 135 of 156
ขอที่ : 362
เครื่องยนตจรวด (Rocket) มีคาอิมพัลสจําเพาะ (Specific Impulse) เทากับ 400 วินาที และอัตราการไหลของมวลชเอเพลิง (propellant mass flow rate) 1,000 กิโลหรัม/วินาที
จงหาคาขนาดแรงขับของเครื่องยนตชนิดนี้ (Thrust)
คําตอบ 1 : 200 กิโลนิวตัน
คําตอบ 2 : 400 กิโลนิวตัน
คําตอบ 3 : 1,962 กิโลนิวตัน


คําตอบ 4 : 3,924 กิโลนิวตัน

น่ า

ขอที่ : 363


ขอดอยที่เดนชัดที่สุดของ Solid Rocket คืออะไร

มจ
คําตอบ 1 : เสียงดัง

า้
คําตอบ 2 : ราคาแพง

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : หยุดการทํางานไมได
คําตอบ 4 : ใชไดเฉพาะระดับความสูงมากๆ

ขอที่ : 364

ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
าว
คําตอบ 1 : Liquid Rocket


คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ภ Solid Rocket
Hybrid Rocket
Nuclear Rocket

ขอที่ : 365
ขอใดคือหลักการพื้นฐานที่แตกตางระหวางเครื่องยนตจรวด (Rocket) กับเครื่องยนตชนิดอื่นๆ
คําตอบ 1 : เครื่องยนตจรวด (Rocket) มีแหลงจายออกซิเจน 136 of 156

คําตอบ 2 : เครื่องยนตจรวด (Rocket) ไมมีหองเผาไหม


คําตอบ 3 : เครื่องยนตจรวด (Rocket) ไมมีอุปกรณจุดระเบิด
คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูก

ขอที่ : 366
จงหาคาความเร็วของจรวด (Rocket) เมื่อใชเชื้อเพลิงไปครึ่งถัง โดยจรวดลํานี้มีน้ําหนักโครงสรางเทากับ 400 กิโลกรัม และสามารถเก็บเชื้อเพลิงไดสูงสุด 4,600 กิโลกรัม โดย
หากวาคาอิมพัลสจําเพาะ (Specific Impulse) มีคาเทากับ 300 วินาที

่ า ย
คําตอบ 1 : 1.5 กิโลเมตร/วินาที


คําตอบ 2 : 1.8 กิโลเมตร/วินาที


คําตอบ 3 : 7.4 กิโลเมตร/วินาที


คําตอบ 4 : 3.5 กิโลเมตร/วินาที

มจ
า้
ขอที่ : 367

ิธ์ ห
เหตุผลหลักที่ทําใหเครื่องยนตจรวด (Rocket) สามารถใชงานในอวกาศไดคือขอใด
คําตอบ 1 : มีคาแรงขับ (thrust) สูง

ิท
คําตอบ 2 : รูปรางมีแรงตานทางอากาศพลศาสตร (Aerodynamic drag) ต่ํา


คําตอบ 3 : ระบบเชื้อเพลิงมีออกซิเจนเปนสวนประกอบ


คําตอบ 4 : ควบคุมการทํางานไดงาย

ง ว

ขอที่ : 368

ขอ
เครื่องยนตจรวด (Rocket) มีคาอัตราการไหลของมวลเชื้อเพลิง (propellant mass flow rate) 1200 kg/sec และมีความเร็วที่ปากทอทางออก (exhaust velocity at nozzle exit)

กร
3,500 m/sec จงหาคาขนาดแรงขับของจรวดที่ระดับ design altitude (exhaust pressure at nozzle exit = ambient pressure)
คําตอบ 1 : 3,500 N
คําตอบ 2 : 3,500 kN


ิ ว
าว
คําตอบ 3 : 4,200 N
คําตอบ 4 : 4,200 kN

ขอที่ : 369
ส ภ
จงหาอัตราการไหลของมวลเชื้อเพลิง (propellant mass flow rate) ที่ทําใหจรวด (Rocket) มีแรงขับที่ระดับ design altitude (exhaust pressure at nozzle exit = ambient
pressure) เทากับ 6,000 kN ถาจรวดนั้นมีความเร็วที่ปากทอทางออก (exhaust velocity at nozzle exit) เทากับ 4,000 m/sec
คําตอบ 1 : 0.67 g/sec
คําตอบ 2 : 1,500 kg/sec
137 of 156
คําตอบ 3 :
24,000,000 kg/sec
24,000,000,000 kg/sec
คําตอบ 4 :

่ า ย
ขอที่ : 370


ขอใดตอไปนี้ถูกตองสําหรับเครื่องยนตจรวด (Rocket) ที่มีคาอิมพัลสจําเพาะ (Specific Impulse) เทากับ 600 sec


คําตอบ 1 : สรางแรงขับดันตอเนื่องได 600 sec โดยไมหยุด

จ ำ
คําตอบ 2 : ใชเวลาอยางนอย 600 sec ในการเริ่มตนทํางานแตละครั้ง


คําตอบ 3 : หากมีอัตราการไหลเชื้อเลิง (Propellant flow rate) 1 N/sec จะใหแรงขับ (thrust) ขนาด 600 N

า้
คําตอบ 4 : หากมีอัตราการไหลเชื้อเพลิง (Propellant flow rate) 600 N/sec จะใหแรงขับ (Thrust) ขนาด 1 N

ขอที่ : 371
ิธ์ ห
ิท
เครื่องยนตจรวด (Rocket) ชนิดใดที่ไมตองใชออกซิไดเซอร (Oxidizer)


คําตอบ 1 : Liquid Rocket

ว น
คําตอบ 2 : Solid Rocket


คําตอบ 3 : Hybrid Rocket


คําตอบ 4 : Electrical Rocket

ขอ
กร
ขอที่ : 372


ขอดีของ Solid Rocket คืออะไร



คําตอบ 1 : เก็บรักษางาย

าว
คําตอบ 2 : ควบคุมทิศทางแรงได


คําตอบ 3 : ไมสรางมลพิษ


คําตอบ 4 : ใชไดทุกระดับความสูง

ขอที่ : 373
ขอไดเปรียบของ Liquid Rocket ที่เหนือกวา Solid Rocket คืออะไร
คําตอบ 1 : เก็บรักษางาย
คําตอบ 2 : ระบบไมซับซอน
138 of 156
คําตอบ 3 : ควบคุมแรงขับได
คําตอบ 4 : ใชไดทุกระดับความสูง

ขอที่ : 374
ขอเสียของ Liquid Rocket เมื่อเทียบกับ Solid Rocket คืออะไร
คําตอบ 1 : เสียงดัง
คําตอบ 2 : ใชงานที่ระดับความสูงมากไมได
คําตอบ 3 : แรงขับดันต่ํา

่ า ย

คําตอบ 4 : ระบบซับซอนมาก

ขอที่ : 375

จ ำ ห
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
คําตอบ 1 : Liquid Rocket

ง ว น
คําตอบ 2 : Solid Rocket

อ ส

คําตอบ 3 : Hybrid Rocket

กร
คําตอบ 4 : Nuclear Rocket


ิ ว
าว
ขอที่ : 376
จงหาแรงขับสูงสุดที่จรวด (Rocket) จะสามารถมีไดในอวกาศเมื่อมีคาอัตราการไหลของมวลของเชื้อเพลิง (Propellant mass flow rate) เทากับ 1,000 kg/sec และมีความเร็ว


(Exhaust velocity at nozzle exit) และความดัน (Exhaust pressure at nozzle exit) ที่ปากทอทางออกเทากับ 3,500 m/sec และ 20kPa ตามลําดับ ทั้งนี้ปากทอทางออกมีพื้นที่


หนาตัด (Nozzle exit area) เทากับ 4 square metre

คําตอบ 1 : 3,620 kN
คําตอบ 2 : 3,580 kN
คําตอบ 3 : 3,500 kN
คําตอบ 4 : 3,380 kN
139 of 156
ขอที่ : 377
จงหาคาอิมพัลสจําเพาะ (specific impulse) ของเครื่องยนตจรวด (rocket) ที่สามารถสรางแรงขับ (thrust) ไดเทากับ 4,000 kN โดยใชอัตราการไหลของมวลเชื้อเพลิง
(propellant mass flow rate) 1,500 kg/sec
คําตอบ 1 : 2,666.67 sec
คําตอบ 2 : 271.8 sec
คําตอบ 3 : 2.67 sec


คําตอบ 4 : 0.27 sec

น่ า

ขอที่ : 378


เครื่องยนตจรวด (Rocket) มีคาอิมพัลสจําเพาะ (specific impulse) เทากับ 500 sec ถาตองการสรางแรงขับ (thrust) ขนาด 2,500 kN อยางตอเนื่องเปนเวลา 5 วินาที จะตองใช


เชื้อเพลิง (propellant) ปริมาณเทาใด

า้ ม
คําตอบ 1 : 509.68 kg

ิธ์ ห
คําตอบ 2 : 1,500 kg
คําตอบ 3 : 2,548.42 kg
คําตอบ 4 : 25,000 kg

ส ิท

ขอที่ : 379


จรวด (Rocket) ลําหนึ่งมีคาอิมพัลสจําเพาะ (specific impulse) เทากับ 800 sec จงหาวาจรวดสามารถสรางแรงขับ (thrust) ขนาด 4,000 kN อยางตอเนื่องเปนเวลานานเทาไร


โดยใชเชื้อเพลิง (propellant) จํานวน 4000 kg
คําตอบ 1 : 0.8 วินาที

อ ส

คําตอบ 2 : 3.2 วินาที

กร
คําตอบ 3 : 5.6 วินาที


คําตอบ 4 : 7.8 วินาที

ขอที่ : 380

าว ศ


ขอใดใหความหมายของเครื่องยนตเจ็ทไดดีที่สุด


คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :
เครื่องยนตเบนซิน
เครื่องยนตที่ดีเซล
คําตอบ 3 : เครื่องยนตที่ใชลูกสุบ
คําตอบ 4 : เครื่องยนตที่ขับเคลื่อนดวยการพนกระแสอากาศความเร็วสูง 140 of 156
ขอที่ : 381
ขอใดเปนกลุมของเครื่องยนตประเภทใชอากาศจากภายนอกในการเผาไหม (Air-breathing Engine)
คําตอบ 1 : Turbojet, Turbofan and Rocket engines
คําตอบ 2 : Piston, Turbofan and Rocket engines


คําตอบ 3 : Turbojet, Ramjet and Piston engines
คําตอบ 4 : Turboshaft, Rocket engines and Satellite thrusters

น่ า
ขอที่ : 382

จ ำ ห
เครื่องบินโดยสาร Boeing 747 ใชเครื่องยนตชนิดใด

า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : เครื่องยนต Turbofan
คําตอบ 2 : เครื่องยนตจรวด
คําตอบ 3 : เครื่องยนตลูกสูบ
ส ิท
คําตอบ 4 : เครื่องยนต Turbojet

ง ว น
ขอที่ : 383

อ ส
Spool หมายถึง

กร ข

คําตอบ 1 : Power transmission shaft
คําตอบ 2 :

าว
Compressor



คําตอบ 3 : Turbine


คําตอบ 4 : Burner

ขอที่ : 384
เครื่องยนตเจ็ทที่ใชในเครื่องบินโดยสารปจจุบันสวนใหญจํานวนเพลาขับกี่เพลา
141 of 156
คําตอบ 1 : 1 และ 4 เพลา
คําตอบ 2 : 2 และ 3 เพลา
คําตอบ 3 : 1 และ 2 เพลา
คําตอบ 4 : 3 และ 4 เพลา


ขอที่ : 385
Uninstalled Thrust หมายถึง

น่ า

แรงเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงความดัน


คําตอบ 1 :


แรงตานที่เกิดขึ้นกับเครื่องยนต


คําตอบ 2 :

า้
คําตอบ 3 : แรงยกในขณะเครื่องบินกําลังบินขึ้น

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : แรงขับที่คํานวณจากเครื่องยนตเทานั้น โดยไมคิดแรงตานที่เกิดขึ้นภายนอก

ขอที่ : 386

ส ิท
แรงขับของเครื่องยนตเจ็ทประกอบไปดวยอะไรบาง

ง ว น

คําตอบ 1 : แรงตานและน้ําหนักของเครื่องยนต
คําตอบ 2 : การเปลี่ยนแปลงพลังงานจลนของแก็ซ

ขอ
กร
คําตอบ 3 : แรงที่เกิดจากความแตกตางของความดันที่ทางออกของเครื่องยนต
คําตอบ 4 :


ิ ว
การเปลี่ยนแปลงโมเมนตัมจากการไหลของแกซรวมกับแรงที่เกิดจากความแตกตางของความดันที่ทางออกของเครื่องยนต

ภ าว

ขอที่ : 387

ขอใดคือสมการแรงขับ (T) สําหรับเครื่องยนตจรวด กําหนดให

mp คือ อัตราการไหลของแก็ซขับดัน (Propellant flow rate)


142 of 156

Ve คือ ความเร็วของแก็ซที่ไหลออกจากเครื่องยนต
Pe คือ ความดันสถิตยของแก็ซที่ไหลออกจากเครื่องยนต

P0 คือ ความดันบรรยากาศ

Ae คือ พื้นที่หนาตัดที่ทางออกของทอไอเสีย


T = mp*Ve - (Pe-P0)*Ae

่ า
คําตอบ 1 :

หน

คําตอบ 2 : T = mp*Ve + (Pe-P0)*Ae
คําตอบ 3 : T = mp*Ve + (Pe+P0)*Ae
มจ
า้
ิธ์ ห
คําตอบ 4 : T = mp*Ae + (Pe-P0)*Ve

ิท
ขอที่ : 388
เครื่องยนตเจ็ทที่มีประสิทธิภาพดี ควรมี

นส
คําตอบ 1 :

ง ว
Thrust specific fuel consumption สูง, Fuel air ratio สูง, Specific Thrust ต่ํา
คําตอบ 2 :

อ ส
Thrust specific fuel consumption ต่ํา, Fuel air ratio สูง, Specific Thrust ต่ํา
คําตอบ 3 :

กร ข
Thrust specific fuel consumption ต่ํา, Fuel air ratio ต่ํา, Specific Thrust สูง


คําตอบ 4 : Thrust specific fuel consumption สูง, Fuel air ratio สูง, Specific Thrust ต่ํา

ขอที่ : 389

าว ศ

ส ภ
ขอใดคือสมการแรงขับ (T) สําหรับเครื่องยนต Turbojet กําหนดให

ma คือ อัตราการไหลของอากาศที่ไหลเขาเครื่องยนต

mf คือ อัตราการไหลของเชื้อเพลิง
143 of 156

V0 คือ ความเร็วของอากาศที่ไหลเขาเครื่องยนต
Ve คือ ความเร็วของแก็ซที่ไหลออกจากเครื่องยนต

Pe คือ ความดันสถิตยของแก็ซที่ไหลออกจากเครื่องยนต

P0 คือ ความดันบรรยากาศ

Ae คือ พื้นที่หนาตัดที่ทางออกของทอไอเสีย
่ า ย
คําตอบ 1 : T = (ma+mf)* Ae - ma*V0 + (Pe-P0)* Ve
หน
คําตอบ 2 : T = (ma+mf)*Ve - ma*V0 + (Pe-P0)*Ae
จ ำ
คําตอบ 3 : T = (ma+mf)*Ve - ma*Ae + (Pe-P0)*V0
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 4 : T = (ma+mf)*V0 - ma*Ve

ขอที่ : 390

ส ิท

Engine design point หมายถึง
เครื่องยนตไมไดทํางาน
ง ว

คําตอบ 1 :


คําตอบ 2 : ชวงที่เครื่องยนตทํางานที่ความสูงและความเร็วเดินทางของเครื่องบิน
คําตอบ 3 :

กร ข
ชวงเวลาขณะทําการติดเครื่องยนต


ชวงที่ทําการเรงความเร็วรอบของเครื่องยนต



คําตอบ 4 :

ขอที่ : 391

ภ าว

ขอใดไมไดหมายถึง Engine steady state operation
คําตอบ 1 : การลดความเร็วของเครื่องยนต
คําตอบ 2 : เครื่องยนตทํางานที่ความเร็วรอบคงที่
คําตอบ 3 : เครื่องยนตทํางานที่ความเร็วรอบคงที่
144 of 156
คําตอบ 4 : ความเร็วรอบของชุดอัดอากาศเทากับความเร็วรอบของชุดกังหัน
ขอที่ : 392
ขอใดไมใชคุณสมบัติของเครื่องยนต Ramjet
คําตอบ 1 : ตองใชชุดอัดอากาศ (Compressor) 2 ชุด
คําตอบ 2 : ไมสามารถเริ่มทํางานไดดวยตัวเอง
คําตอบ 3 : ไมมีชุดอัดอากาศ (Compressor)
่ า ย
คําตอบ 4 : ไมมีชุดกังหัน (Turbine)

หน
จ ำ

ขอที่ : 393

า้
ิธ์ ห
Scramjet ยอมาจาก
คําตอบ 1 : Subsonic combustion ramjet

ิท
Supersonic compressor ramjet


คําตอบ 2 :


Specific combustion ramjet


คําตอบ 3 :


Supersonic combustion ramjet


คําตอบ 4 :

ขอ
กร
ขอที่ : 394
การไหลในทอทางเขาอากาศ (Air Intake) ของเครื่องยนตเจ็ทในอุดมคติเปนการไหลแบบใด


ิ ว
Isobaric flow

าว
คําตอบ 1 :

Reversible and adiabatic flow


คําตอบ 2 :


คําตอบ 3 : Isothermal flow
คําตอบ 4 : Irreversible and isentropic flow

ขอที่ : 395
จงคํานวณความดันรวม (Total pressure) ของอากาศ (γ=1.4) ที่ทางออกชุดอัดอากาศ ที่มีอุณหภูมิรวม (Total temperature) ขาเขาเทากับ 18 C และ ขาออกเทากับ 35145Cofและความดั
156
นรวม
ขาเขา 2 บาร และมีขบวนการอัดเปน Polytropic โดยมีประสิทธิภาพ Polytropic เทากับ 0.95
คําตอบ 1 : 241.556 kPa
คําตอบ 2 : 380.254 kPa
คําตอบ 3 : 150.871kPa
คําตอบ 4 : 450.744 kPa

่ า ย

ขอที่ : 396


จงคํานวณกําลังเพื่อใชในการอัดอากาศ กําหนดให

จ ำ

อัตราการไหลของอากาศ = 45 kg/s

า้
ิธ์ ห
คาความจุความรอนของอากาศที่ความดันคงที = 1004.5 J/(kg*K)

ิท
อุณหภูมิรวม (Total temperature) ที่ทางเขาชุดอัดอากาศ = 25 C

นส

อุณหภูมิรวม ที่ทางออกชุดอัดอากาศ = 40 C
คําตอบ 1 : 784.145 kW
ส ง
678.038 kW
ขอ
กร
คําตอบ 2 :

512.67 kW


คําตอบ 3 :



723.802 kW

าว
คําตอบ 4 :

ขอที่ : 397

ส ภ
จงคํานวณอัตราการไหลของเชื้อเพลิงที่ตองการในการเผาไหม กําหนดให

อัตราการไหลของอากาศ = 36 kg/s
146 of 156

คาความจุความรอนของอากาศที่ความดันคงที่ = 1004.5 J/(kg*K)


อุณหภูมิรวม (Total temperature) ที่ทางเขาหองเผาไหม = 650C

อุณหภูมิรวม ที่ทางออกหองเผาไหม = 1200C

Lower heating value ของเชื้อเพลิง = 42800 kJ/kg


คําตอบ 1 : 0.235 kg/s
คําตอบ 2 : 0.465 kg/s
น่ า
คําตอบ 3 : 0.687 kg/s

จ ำ ห

คําตอบ 4 : 0.748 kg/s

า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 398
จงคํานวณความเร็วของแก็สที่ไหลออกจากทอทายที่มี

ส ิท

อุณหภูมิสถิตย (Static temperature) = 450 C

ง ว

อุณหภูมิรวม (Total temperature) = 900 C

ขอ
กร
คาความจุความรอนของอากาศที่ความดันคงที่ = 1003.2 J/(kg*K)


คําตอบ 1 : 1275.2 m/s
คําตอบ 2 :

าว
1008.7 m/s



คําตอบ 3 : 950.2 m/s
คําตอบ 4 :
ส 870.4 m/s

ขอที่ : 399

จงคํานวณคาความดันสถิตย (Static pressure) ของแก็สที่ไหลออกจากทอทายที่มี


147 of 156

ความดันรวม (Total pressure) = 4 bars


Mach number =0.85

คาอัตราสวนความจุความรอน (γ) = 1.33


คําตอบ 1 : 254.055 kPa


คําตอบ 2 : 387.045 kPa
คําตอบ 3 : 475.12 kPa
น่ า
คําตอบ 4 : 502.87 kPa

จ ำ ห
ขอที่ : 400

า้ ม
ิธ์ ห
จงคํานวณพื้นที่หนาตัดของทอทางออกของเครื่องยนตจรวดที่มี

ิท
แรงขับ = 1300 kN

นส

อัตราการไหลของแก็สขับดัน = 85 kg/s

ส ง

ความเร็วของแก็สที่ทางออก = 1120 m/s

กร ข
ความดันสถิตย (Static pressure) ของแก็สที่ทางออก = 7 bars


ิ ว
าว
ความดันบรรยากาศ = 0.8 bars


คําตอบ 1 : 3.45 m2


คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :
2.76 m2
2.16 m2
คําตอบ 4 : 1.94 m2
148 of 156
ขอที่ : 401
จงคํานวณอุณหภูมิรวม (Total temperature) ของแกซที่ออกจากหองเผาไหม กําหนดให

อัตราการไหลของอากาศ = 80 kg/s

อัตราการไหลของเชื้อเพลิง = 0.56 kg/s

่ า ย

คาความจุความรอนของอากาศที่ความดันคงที่ = 1001.2 J/(kg*K)

อุณหภูมิรวม ที่ทางเขาหองเผาไหม = 700 C


จ ำ ห
า้ ม
ิธ์ ห
Lower heating value ของเชื้อเพลิง = 43300 kJ/kg
คําตอบ 1 : 890.41 C

ิท
1002.74 C


คําตอบ 2 :


1375.64 C


คําตอบ 3 :


1485.54 C


คําตอบ 4 :

ขอ
กร
ขอที่ : 402
จงคํานวณอุณหภูมิรวม (Total temperature) ของแกซที่ออกจากชุดกังหัน กําหนดให


ิ ว
าว
กําลังที่ชุดกังหันผลิตได = 20 MW

ส ภ
อัตราการไหลของอากาศ = 90 kg/s

อัตราการไหลของเชื้อเพลิง = 0.63 kg/s

คาความจุความรอนของอากาศที่ความดันคงที่ = 1030.5 J/(kg*K)


149 of 156
อุณหภูมิรวมที่ทางเขาชุดกังหัน = 1200 C
คําตอบ 1 : 985.85 C
คําตอบ 2 : 1024.58 C
คําตอบ 3 : 1136.26 C
คําตอบ 4 : 1274.93 C

่ า ย

ขอที่ : 403


จงคํานวณความเร็วของแกซที่ออกจากทอไอเสียของเครื่องยนตเจ็ท กําหนดให

จ ำ

ความดันรวม (Total pressure) ของแก็ซที่ทางออก = 15 bar

า้
ิธ์ ห
ความดันสถิตย (Static pressure) ของแก็ซที่ทางออก = 10 bar

ิท
อุณหภูมิสถิตย (Static temperature) ของแก็ซที่ทางออก = 350 C

นส

คาคงที่ของแก็ซ = 285 J/(kg*K)

ส ง

คาอัตราสวนความจุความรอนของแก็ซ = 1.3
คําตอบ 1 : 388.51 m/s

กร ข

คําตอบ 2 : 410.78 m/s
คําตอบ 3 :

าว
465.12 m/s



คําตอบ 4 : 507.85 m/s

ขอที่ : 404 ส
จงคํานวณความเร็วของแก็ซที่ไหลออกจากทอทางออกหลัก (Core exhaust) ของ Twin-spool mix-exhaust turbofan engine กําหนดให
150 of 156

Uninstalled thrust = 10 kN
Primary air flow rate = 30 kg/s

Secondary air flow rate = 15 kg/s

Fuel flow rate = 0.45 kg/s

Entering air velocity = 150 m/s


่ า ย
หน

Bypass exit air velocity = 250 m/s

มจ
า้
Exit gas static pressures = Ambient static pressure (For both primary and secondary exhaust)

ิธ์ ห
คําตอบ 1 : 215.78 m/s
คําตอบ 2 : 270.04 m/s
คําตอบ 3 : 334.21 m/s
ส ิท
คําตอบ 4 : 426.93 m/s

ง ว น
ขอที่ : 405

อ ส
กร ข
ทอทางเขาอากาศ (Air Intake) ตามรูป จะเกิดอะไรขึ้น ถาอากาศที่ไหลเขามีความเร็วเหนือเสียง


ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 : เกิดการไหลยอนกลับ
คําตอบ 2 : เกิดการจุดระเบิด
คําตอบ 3 : เกิด Normal shockwave ที่บริเวณทางเขา หรือภายใน
คําตอบ 4 : ความดันสถิตย (Static pressure) ลดลง

ขอที่ : 406 151 of 156

เพราะเหตุใดเครื่องบินความเร็วเหนือจึงใชทอทางเขาอากาศ (Air Intake) ตามรูป


คําตอบ 1 : เพื่อความสวยงาม

่ า ย
คําตอบ 2 : เพิ่อเพิ่มความดันรวม (Total pressure)


คําตอบ 3 : เพื่อใหเกิด Oblique shock waves เพื่อลดความเร็วของอากาศ


คําตอบ 4 : เพิ่อลดอุณหภูมิรวม (Total temperature)

จ ำ

ขอที่ : 407

า้
ขอแตกตางระหวาง Normal shockwave และ Oblique shockwave คือ

ิธ์ ห
คําตอบ 1 : อากาศที่ไหลผาน Normal shockwave ไปแลวจะมีความเร็วต่ํากวาเสียง แตอากาศที่ไหลผาน Oblique shockwave ไปแลวยังคงมีความเร็วเหนือเสียง
อากาศที่ไหลผาน Normal shockwave จะมีความดันสถิตย (Static pressure) ลดลง แตสําหรับ Oblique shockwave จะมีความดันสถิตย (Static pressure) เพิ่ม
คําตอบ 2 :

ิท
ขึ้น


คําตอบ 3 : อากาศที่ไหลผาน Normal shockwave จะมีความดันรวม (Total pressure) ลดลง แตสําหรับ Oblique shockwave จะมีความดันรวม (Total pressure) เพิ่มขึ้น


คําตอบ 4 : อากาศที่ไหลผาน Normal shockwave ไปแลวจะมี Mach number เพิ่มขึ้น แตอากาศที่ไหลผาน Oblique shockwave ไปแลวจะมี Mach number ลดลง

ง ว

ขอที่ : 408


เพราะเหตุใดเครื่องบินความเร็วเหนือเสียงจึงควรใหมี Oblique shockwaves และตามดวย Normal shockwave เกิดขึ้นที่ทางเขาอากาศ (Air Inlet) แทนที่จะใหเกิด Normal

กร ข
shockwave แคชนิดเดียว
คําตอบ 1 : เพื่อเพิ่มความดันรวม (Total pressure) ของอากาศ โดย Oblique shockwaves และ ลดความเร็วของอากาศดวย Normal shockwave


คําตอบ 2 : เพื่อเพิ่มอุณหภูมิรวม (Total Temperature) ของอากาศโดย Oblique shockwaves และ เพิ่มความเร็วของอากาศดวย Normal shockwave
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :

าว ศ

เพื่อลดความเร็วของอากาศอยางชาๆ และสูญเสียความดันรวม (Total pressure) นอยที่สุด
เพื่อเพิ่มความหนาแนนของอากาศ โดย Oblique shockwaves และ เพิ่มความเร็วของอากาศ ดวย Normal shockwave

ขอที่ : 409
ส ภ
การไหลขาม Normal หรือ Oblique shockwaves เปนการไหลชนิดใด
คําตอบ 1 : Adiabatic flow
คําตอบ 2 : Isobaric flow
คําตอบ 3 : Reversible flow
152 of 156
คําตอบ 4 : ไมมีขอถูก
ขอที่ : 410
แรงขับที่ไมไดติดตั้ง (Uninstalled thrust) ของ Twin-spool mix-exhaust turbofan engine หาไดจากสูตรในขอใด

กําหนดให

mp = Primary mass flow rate

ms = Secondary mass flow rate

่ า ย
α = Bypass ratio
หน
จ ำ

f = Fuel air ratio

า้
ิธ์ ห
ve = Exit gas velocity

v0 = Entering air velocity

Ae = Nozzle exit area

ส ิท
Pe = Exit gas static pressure

ง ว น
อ ส
P0 = Ambient static pressure


คําตอบ 1 : F=mp*(1+α+f)*ve-mp*(1+α)*v0+(Pe-P0)*Ae

กร
F=mp*(1+α+f)*ve-mp*(1+f)*v0-(Pe-P0)*Ae


คําตอบ 2 :



F=mp*(1+α+f)*ve-ms*(1+α)*v0+(Pe-P0)*Ae

าว
คําตอบ 3 :

F=ms*(1+α+f)*ve-ms*(1+α)*v0-(Pe-P0)*Ae


คําตอบ 4 :

ขอที่ : 411 ส
จงคํานวณแรงขับที่ไมไดติดตั้ง (Uninstalled thrust) ของ Twin-spool separate-exhaust turbofan engine กําหนดให Primary air flow rate = 25 kg/s

Secondary air flow rate = 75 kg/s 153 of 156

Fuel flow rate = 0.65 kg/s


Primary exit gas velocity = 440 m/s

Secondary exit gas velocity = 330 m/s

Entering air velocity = 280 m/s

Exit gas static pressure = Ambient static pressure (For both primary and secondary flow)
คําตอบ 1 : 7.485 kN

่ า ย

คําตอบ 2 : 8.036 kN


คําตอบ 3 : 9.584 kN
คําตอบ 4 : 10.314 kN

จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ขอที่ : 412
ประสิทธิภาพการขับดัน (ηp) ของ Turbojet engine หาไดจากสูตรในขอใด กําหนดให

ิท
F = Uninstalled thrust

ma = Air flow rate

นส
ง ว

mf = Fuel flow rate

ve = Exit gas velocity

ขอ
กร
v0 = Entering air velocity


ิ ว
าว
คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

ส ภ
คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

154 of 156
ขอที่ : 413
จงคํานวณประสิทธิภาพทางความรอนของ Turbojet engine กําหนดให

Air flow rate = 180 kg/s

Fuel air rate = 0.41kg/s


Exit gas velocity = 370 m/s

Entering air velocity = 210 m/s

น่ า
Lower heating value = 43000 kJ/kg

จ ำ ห

คําตอบ 1 : 75.45%

า้
คําตอบ 2 : 63.12%

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : 47.53%
คําตอบ 4 : 39.74%

ขอที่ : 414

ส ิท
ว น
คาแรงขับจําเพาะ (Specific thrust, s) ของเครื่องยนต Single-spool Turbojet คํานวณไดจากสูตรในขอใด

กําหนดให

ส ง
f = Fuel air ratio

ขอ
กร
ve = Exhaust gas velocity


ิ ว
าว
v0 = Entering air velocity


Pe = Exhaust gas pressure


P0 = Ambient pressure

Ae = Nozzle exit area

ma = Air flow rate

คําตอบ 1 : 155 of 156


คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

่ า ย
ขอที่ : 415

หน

จงคํานวณความเร็วของแก็ซที่ไหลออกจากทอทางออก ของ Twin-spool mix-exhaust turbofan engine กําหนดให

มจ
า้
Uninstalled thrust = 10 kN

Primary air flow rate = 30 kg/s


ิธ์ ห
Secondary air flow rate = 15 kg/s
ส ิท
Fuel flow rate = 0.45 kg/s
ง ว น
อ ส

Entering air velocity = 150 m/s

ว กร
Exit gas static pressure = Ambient static pressure
คําตอบ 1 :

าว
215.78 m/s



คําตอบ 2 : 270.04 m/s
คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :ส 334.21 m/s


368.54 m/s

156 of 156

You might also like