You are on page 1of 12

เอกสารประกอบคลิปสอน

แก๊สและสมบัติของแก๊ส

เคมี ม.5 *
c#a

ดูคลิปได้ที่ YouTube: ติวเคมี by KruAey


1

แก๊สและสมบัติของแก๊ส ☒

ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาตร ความดัน อุณหภูมิ และจำนวนโมล

พารามิเตอร์ที่ใช้ในการคำนวณ
พารามิเตอร์ สัญลักษณ์ หน่วย สูตร
ปริมาตร V dm3 , L 1 dm3 = 1 L = 1,000 cm3 = 1,000 ml
ความดัน P atm , mmHg 1 atm = 760 mmHg = 101.3 KPa
อุณหภูมิ T ๐C , K K = ๐C + 273

ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาตรและความดันของแก๊ส
กฎของบอย์ (Boyle’s Law) กล่าวว่า “เมื่ออุณหภูมิและมวลคงที่ ปริมาตรของแก๊สจะแปรผกผันกับ
ความดัน” โดยความดันและปริมาตรจะเป็นหน่วยใดก็ได้

𝟏 P = ความดัน (atm,mmHg)
V𝜶 P1V1 = P2V2
𝑷 V = ปริมาตร (dm3,L,cm3,ml)
ตัวอย่างก๊าซออกซิเจน มีปริมาตร 946 mL ที่ความดัน 726 mmHg ถ้าอัดลดปริมาตรลงเหลือ 154 mL ที่
อุณหภูมิคงที่ จงหาความดันของแก๊สในหน่วย mmHg?
2

ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาตรและอุณหภูมิของแก๊ส
กฎของชาร์ล(Charles’s Law) กล่าวว่า “เมื่อความดันและมวลคงที่ ปริมาตรของแก๊สจะแปรผันตรงกับ
อุณหภูมิ” โดยปริมาตรจะเป็นหน่วยใดก็ได้ แต่อุณหภูมิจะต้องเป็นหน่วยเควิน(K) เท่านั้น
𝑉1 𝑉2
V𝜶 T =
𝑇1 𝑇2

V = ปริมาตร (dm3,L,cm3,ml)
T = อุณหภูมิ (K)

แก๊สตัวอย่างคาร์บอนมอนอกไซด์ CO มีปริมาตร 3.20 L ที่อุณหภูมิ 125 oC จงหาอุณหภูมขิ องแก๊สที่มีปริมาตร


1.54 L ถ้ารักษาให้ความดันคงที่?

ความสัมพันธ์ระหว่างอุณหภูมิและความดันของแก๊ส
กฎของเกย์-ลูสแซก (Gay-Lussac’s Law) กล่าวว่า “เมื่อปริมาตรและมวลคงที่ ความดันแปรผันตรงกับ
อุณหภูมิ” โดยความดันจะเป็นหน่วยใดก็ได้ แต่อุณหภูมิจะต้องเป็นหน่วยเควิน(K) เท่านั้น
P𝜶 T 𝑃1
=
𝑃2
𝑇1 𝑇2

P = ความดัน (atm,mmHg)
T = อุณหภูมิ (K)
3

กระป๋องชนิดหนึ่ง อุณหภูมิ 25 oC มีความดัน 1.02 atm ถูกโยนใส่ในกองไฟที่มีอุณหภูมิ 528 oC ความดันใน


กระป๋องจะเปลี่ยนไปเป็นเท่าไร
𝑃1 𝑃2
= จากโจทย์
𝑇1 𝑇2
P1 = 1.02 atm P2 = ?
P2 =
𝑃1 𝑇2 T1 = 25 oC + 273 T2 = 528 oC + 273
𝑇1 = 298 K = 801 K

(1.02 atm)(801 K)
แทนค่า P2 =
298 K

P2 = 2.74 atm

ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาตรกับจำนวนโมลของแก๊ส
กฎของอาโวกาโดร กล่าวว่า "ภายใต้สภาวะที่อุณหภูมิและความดันคงที่ ก๊าซที่มีปริมาตรเท่ากันจะมีจำนวนโมเลกุล
เท่ากัน" หรืออาจกล่าวได้ว่า "ที่อุณหภูมิและความดันคงที่ ปริมาตรของก๊าซใด ๆ จะแปรผันโดยตรงกับจำนวนโม
ลของก๊าซนั้น ๆ " V𝜶 n
𝑉1 𝑉2
=
𝑛1 𝑛2

เรือเหาะจะลอยขึ้นสู่อากาศเมื่อมีแก๊สฮีเลียมบรรจุอยู่ครบ5500ลิตร ถ้ามีแก๊สฮีเลียม110โมล มีปริมาตร 2620 ลิตร


จะต้องเติมแก๊สฮีเลียมลงกี่โมลเพื่อให้เรือเหาะลอยได้ ถ้าอุณหภูมิและความดันคงที่
4

ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาตร ความดัน และอุณหภูมิของแก๊ส


กฎรวมแก๊ส เป็นการรวมกฎของบอยล์ ชาร์ล และเกย์-ลูสแซก (3 ความสัมพันธ์)
𝑃1 𝑉1 𝑃2 𝑉2 𝑃1 𝑉1 𝑃2 𝑉2
กรณีมวลคงที่ = กรณีมวลไม่คงที่ =
𝑇1 𝑇2 𝑛1 𝑇1 𝑛2 𝑇2

n = มวลแก๊ส (g,kg)

ลูกโป่งบรรจุแก๊ส He จำนวน 30 ลิตร ที่ความดัน 1.5 atm ณ อุณหภูมิ 40 oC ปริมาตรที่ลูกโป่งจะเป็นเท่าใดที่


สภาวะ STP
𝑃1 𝑉1 𝑃2 𝑉2 จากโจทย์
=
𝑇1 𝑇2 P1 = 1.5 atm P2 = 1 atm
𝑃1 𝑉1 𝑇2 V1 = 30 L V2 = ?
V2 = T1 = 40 oC + 273 T2 = 273 K
𝑇1 𝑃2
= 313 K
(1.5 atm)(30 L)(273 K)
แทนค่า V2 =
(313 K)(1 atm)

V2 = 39.25 L

กฎแก๊สอุดมคติ และความดันย่อย

กฎของแก๊สอุดมคติ
“ปริมาตรของแก๊สแปรผันกับจำนวนโมล อุณหภูมิ(K) แต่แปรผกผันกับความดัน”
เมื่อความดันและอุณหภูมิเปลี่ยนแปลงสมบัติของแก๊สก็จะเปลี่ยนไป โดยอธิบายได้ตามสูตรต่อไปนี้

PV = nRT P = ความดัน (atm)


V = ปริมาตร (dm3,L)
n = โมลของแก๊ส
T = อุณหภูมิ (K)
R = ค่าคงที่ของแก๊ส 0.0821 atm.dm3/K.mol
5

แก๊สชนิดหนึ่งบรรจุในภาชนะ 0.25 L ที่ความดัน 1.5 atm ณ อุณหภูมิ 27 oC แก๊สชนิดนี้มีกี่โมล

PV = nRT จากโจทย์
P = 1.5 atm
𝑃𝑉
n = V = 0.25 L
𝑅𝑇
T = 27oC + 273 = 300 K
แทนค่า n=
(1.5 atm)(0.25 L) n =?
(0.0821 atm.L/K.mol )(300 K) R = 0.0821 atm.L/K.mol
n = 0.015 mol

ความดันย่อยของแก๊ส
“ถ้าแก๊สตั้งแต่ 2 ชนิดหรือมากกว่าสองชนิดที่ไม่ทาปฏิกิริยาเคมีกัน บรรจุในภาชนะเดียวกัน ความดัน
ของแก๊สแต่ละชนิดในแก๊สผสม เรียกว่า ความดันย่อย ( partial pressure ) * ความดันรวมของแก๊สผสมจะ
เท่ากับผลบวกของความดันย่อยของแก๊สแต่ละชนิด”

Pรวม = P1 + P2 + ……..+ Pn

Pรวม Vรวม = P1V1 + P2V2 + ……..+ PnVn

แก๊ส CO2 2 dm3 ที่ความดัน 0.5 atm และ O2 1 dm3 ที่ความดัน 0.2 atm ความดันรวมมีค่าเท่าไร
จากโจทย์
Pรวม Vรวม = P1V1 + P2V2 P1 = 0.5 atm P2= 0.2 atm Pรวม =?
V1 = 2 dm3 V2= 1 dm3 Vรวม =2+1 dm3

แทนค่า Pรวม (2+1 dm3) = (0.5 atm)(2 dm3) + (0.2 atm )( 1 dm3)
Pรวม = 0.4 atm
6

ทฤษฎีจลน์และการแพร่ของแก๊ส

ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส

1
Ek = mv2 Ek = พลังงานจลน์เฉลี่ย
2 m = มวลของแก๊ส (kg)
v = ความเร็ว (m/s)

การแพร่ของแก๊ส
“ภายใต้อุณหภูมิและความดันเดียวกัน อัตราการ แพร่ผ่านของแก๊สจะเป็นสัดส่วนผกผันกับรากที่สอง
ของมวล โมเลกุลของแก๊ส”
𝟏
r𝜶
√𝑴

เปรียบเทียบการแพร่ผ่านหรือการแพร่ของแก๊ส(r)ชนิดที่ 1 และ 2 ภายใต้สภาวะ เดียวกันจะได้


𝒓𝟏 𝑀2
=√
𝒓𝟐 𝑀1

เนื่องจากมวลโมเลกุล(M) ของแก๊สแปรผันตรงกับความหนาแน่น (d) จะได้

𝟏 𝑀 𝑑 𝒓𝟏 𝑀2 𝑑2
r𝜶 √𝑀2 = √𝑑2 𝒓𝟐
=√
𝑀1
=√
𝑑1
√𝒅 1 1
แบบฝึก

ตัวอย่าง แก๊สชนิดหนึ่งบรรจุอยู่ในกระบอกสูบขนาด 1.5 ลิตร จะต้องเลื่อนก้านกระบอกสูบให้มี ปริมาตรเป็น


เท่าใด จึงจะทำ ให้แก๊สชนิดนี้มีความดันเพิ่มขึ้นเป็น 1.5 เท่า
7

ตัวอย่าง แก๊สชนิดหนึ่งมีปริมาตร 22.4 ลิตร ที่ STP แก๊สนี้จะมีปริมาตรเท่าใดที่ 25 องศาเซลเซียส ถ้า


กำหนดให้ความดันของแก๊สคงที่

ตัวอย่าง ภาชนะปิดปริมาตรคงที่ขนาด 20.00 ลิตร สามารถทนแรงดันได้สูงสุดเท่ากับ 1.52 × 104 มิลลิเมตร


ปรอท ถ้านำ ภาชนะนี้มาบรรจุแก๊สที่มีความดัน 10.00 บรรยากาศ อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส ภาชนะนี้จะทน
อุณหภูมิได้สูงสุดเท่าใดในหน่วยองศาเซลเซียส

ตัวอย่าง บรรจุแก๊สชนิดหนึ่งปริมาตร 10 ลูกบาศก์เซนติเมตร ในกระบอกฉีดยาที่มีความดัน 1 บรรยากาศ ถ้าปิด


ปลายกระบอกฉีดยาไว้แล้วกดก้านหลอดฉีดยาจนปริมาตรของแก๊สเหลือเพียง 5 ลูกบาศก์เซนติเมตร ความดัน
ในกระบอกฉีดยาจะเป็นเท่าใด
8

ตัวอย่าง ที่อุณหภูมิ 35 องศาเซลเชียส แก๊สออกซิเจนจำนวนหนึ่งปริมาตร 250 ลูกบาศก์เซนติเมตร ถ้าอุณหภูมิ


ลดลงเป็น 20 องศาเซลเชียส โดยควบคุมความดันให้คงที่ปริมาตรของแก๊สจะเป็นเท่าใด

ตัวอย่าง แก๊สออกซิเจนปริมาตร 235 ลูกบาศก์เซนติเมตร ที่อุณหภูมิ 15 องศาเซลเชียส และความดัน 1.5


บรรยากาศ แก๊สนี้จะมีปริมาตรเท่าใด STP

ตัวอย่าง แก๊สชนิดหนึ่งมีปริมาตร 150 ลูกบาศก์เซนติเมตร ที่อุณหภูมิ 20 องศาเซลเชียส ความดัน 1,125


มิลลิเมตรปรอท เมื่อบรรจุแก๊สจำนวนนี้ในภาชนะสูญญากาศปริมาตร 250 ลูกบาศก์เซนติเมตร ปิดผาให้สนิท
แล้วนำไปแช่น้ำแข็งจนอุณหภูมิคงที่ ที่ 0 องศาเซลเชียส ความดันของแก๊สจะเป็นเท่าใด
9

ตัวอย่างภาชนะใบหนึ่งมีปริมาตร 2.1 ลิตร บรรจุแก๊ส 4.65 กรัม ที่ความดัน 1 บรรยากาศ อุณหภูมิ 27 องศา
เซลเซียส
จงคำนวณหาความหนาแน่นของแก๊สนี้ในหน่วยกรัมต่อลิตร
แก๊สนี้มีมวลต่อโมลเท่าใด

ตัวอย่างแก๊ส Y มีความหนาแน่น 2.38 กรัมต่อลิตร ที่อุณหภูมิ 27 องศาเซลเซียส ความดัน 740 มิลลิเมตรปรอท


จงหามวลต่อโมลของแก๊สชนิดนี้
10

ตัวอย่าง ถ้าผสมแก๊สไฮโดรเจน (H2 ) 1.00 กรัม แก๊สฮีเลียม (He) 2.60 กรัม และแก๊สอาร์กอน (Ar) 11.19 กรัม
ในภาชนะขนาด 10.0 ลิตร ที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส จงคำ นวณความดันรวม ของแก๊สผสม

ตัวอย่าง เตตระฟลูออโรเอทิลีน (C2 F4 ) แพร่ผ่านแผ่นรูพรุนชนิดหนึ่งด้วยอัตรา 2.3 × 10-6 โมลต่อ ชั่วโมง ส่วน


แก๊สตัวอย่างอีกชนิดหนึ่งประกอบด้วยโบรอน (B) กับไฮโดรเจน (H) มีอัตรา การแพร่ผ่าน 4.37 × 10-6 โมลต่อ
ชั่วโมง ภายใต้ภาวะเดียวกัน จงคำ นวณมวลต่อโมลและ เขียนสูตรโมเลกุลที่เป็นไปได้ของแก๊สตัวอย่าง
10

ตัวอย่าง ถ้าผสมแก๊สไฮโดรเจน (H2 ) 1.00 กรัม แก๊สฮีเลียม (He) 2.60 กรัม และแก๊สอาร์กอน (Ar) 11.19 กรัม
ในภาชนะขนาด 10.0 ลิตร ที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส จงคำ นวณความดันรวม ของแก๊สผสม

ตัวอย่าง เตตระฟลูออโรเอทิลีน (C2 F4 ) แพร่ผ่านแผ่นรูพรุนชนิดหนึ่งด้วยอัตรา 2.3 × 10-6 โมลต่อ ชั่วโมง ส่วน


แก๊สตัวอย่างอีกชนิดหนึ่งประกอบด้วยโบรอน (B) กับไฮโดรเจน (H) มีอัตรา การแพร่ผ่าน 4.37 × 10-6 โมลต่อ
ชั่วโมง ภายใต้ภาวะเดียวกัน จงคำ นวณมวลต่อโมลและ เขียนสูตรโมเลกุลที่เป็นไปได้ของแก๊สตัวอย่าง

You might also like