You are on page 1of 55

2

เชื้อเพลิ งซากดึกดาบรรพ์และผลิ ตภัณฑ์ 2/2554

2. เชื้อเพลิงซากดึกดาบรรพ์และผลิตภัณฑ์

พลังงานเป็ นปจั จัยพืน้ ฐานทีส่ าคัญในการดารงชีวติ ในปจั จุบนั ในสมัยโบราณแหล่งพลังงาน


หลักจากธรรมชาติได้มาจากแสงอาทิตย์ ลม หรือ น้ า ปจั จุบนั นี้เทคโนโลยีทางด้านอุตสาหกรรม
การขนส่ง สื่อสารและด้านอื่น ๆ มีความเจริญเติบโตขึน้ มาก ทาให้ประชากรทัง้ โลกมีความต้องการ
ใช้พลังงานจากเชื้อ เพลิง ประเภทต่าง ๆ เพิม่ มากขึ้นไปด้วยและมีแนวโน้ มที่เพิม่ ขึ้นต่ อไปอีกใน
อนาคต เชือ้ เพลิงทีน่ ามาใช้มากที่สุด 3 ประเภทแรก ได้แก่ น้ ามัน แก๊สธรรมชาติและถ่านหิน ทัง้ 3
ชนิ ด นี้ จ ดั อยู่ใ นกลุ่ ม ของเชื้อ เพลิง ที่เ รีย กว่ า เชื้อ เพลิง ซากดึก ด าบรรพ์ ดัง นัน้ ซากดึก ด าบรรพ์
หมายถึงเชือ้ เพลิงทีเ่ ปลีย่ นแปลงสภาพมาจากสิง่ มีชวี ติ ในยุคต่าง ๆ โดยกระบวนการทางธรณีวทิ ยา
และธรณีเคมี เช่นน้ามัน แก๊สธรรมชาติ ถ่านหิน และหินน้ามัน

รูปที่ 2.1 เชือ้ เพลิงซากดึกดาบรรพ์ (Fossil Fuels) เป็นแหล่งพลังงานสาคัญของโลก


(ทีม่ า: http://teenet.chiangmai.ac.th/sci/fossil01.php)
ในบทนี้จะได้ศกึ ษาเชือ้ เพลิงซากดึกดาบรรพ์ ซึง่ ได้แก่ ถ่านหิน หินน้ ามัน ปิโตรเลียม พอลิ
เมอร์ และภาวะมลพิษทีเ่ กิดจากการผลิตและการใช่ผลิตภัณฑ์จากซากดึกดาบรรพ์

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 1


2
เชื้อเพลิ งซากดึกดาบรรพ์และผลิ ตภัณฑ์ 2/2554

2.1 ถ่านหิ น
ถ่านหิ น คือ หินตะกอนชนิดหนึ่งและเป็ นแร่เชื้อ เพลิงสามารถติดไฟได้ มีสนี ้ าตาลอ่ อ น
จนถึงสีดา มีทงั ้ ชนิดผิวมันและผิวด้าน น้ าหนักเบา ถ่านหินประกอบด้วยธาตุทส่ี าคัญ 4 อย่างได้แก่
คาร์บอน ไฮโดรเจน ไนโตรเจน และออกซิเจน นอกจากนัน้ มีธาตุหรือสารอื่น เช่น กามะถัน เจือปน
เล็กน้อย ถ่านหินทีม่ จี านวนคาร์บอนสูงและมีธาตุอ่นื ๆ ต่ า เมื่อนามาเผาจะให้ความร้อนมาก ถือว่า
เป็นถ่านหินคุณภาพดี

รูปที่ 2 ถ่านหิน
(ทีม่ า:http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%84%E0%B8%9F%E0%B8%A5%E0%B9%8C:Co
al.jpg)

2.1.1 การเกิ ดถ่านหิ น


2.1.1.1 กระบวนการเกิ ดถ่านหิ น
การทีซ่ ากพืชซึง่ สะสมตัวในแหล่งต่างๆ ตัง้ แต่เริม่ ต้นจนกระทังเป็
่ นพีต (peat) และ
กลายไปเป็ นถ่านหินในทีส่ ุด จะมีกระบวนการทางชีวเคมีและความร้อนเข้ามาเกีย่ วข้องดังนี้คอื
1) กระบวนการทางชีวเคมี (biochemical reaction) หรือเรียกว่ากระบวนการ
การก่อตัวใหม่ เป็ นกระบวนการทีเ่ กิดจากการเปลีย่ นแปลงทางชีวเคมี โดยจุลนิ ทรีย์ จะทาการย่อย
สลายซากพืช ทาให้กลายเป็ นสารเนื้อเดียวกัน โดยอยู่ในรูปของสารทีม่ อี งค์ประกอบของคาร์บอน
และไฮโดรเจนเป็นส่วนใหญ่ ในทีส่ ุดซากพืชทีต่ กตะกอนสะสมกันอยูน่ นั ้ จะกลายเป็ นพีต ซึง่ สิง่ สาคัญ
ที่สุดในกระบวนการนี้คอื สภาพแวดล้อมของแอ่งที่สะสมตะกอน ถ้าซากพืชจมอยู่ใต้น้ าลึกเกินไป
จุลนิ ทรียจ์ ะไม่สามารถทาการย่อยสลายได้ หรือถ้าตื้นเกินไปออกซิเจนในอากาศจะทาให้ซากพืช
เกิดการเน่าเปื่อยได้
สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 2
2
เชื้อเพลิ งซากดึกดาบรรพ์และผลิ ตภัณฑ์ 2/2554

2) กระบวนการเปลี่ยนแปลงอันเนื่ องมาจากความร้อน (thermal alteration)


หรือการแปรสภาพ (metamorphism) เป็นกระบวนการทีเ่ กิดขึน้ ต่อเนื่องจากกระบวนการทางชีวเคมี
ซึง่ ในกระบวนการนี้พตี ที่เกิดขึน้ จะแปรสภาพไปเป็ นถ่านหิน โดยเมื่อชัน้ พีตถูกปิ ดทับด้วยตะกอน
มากขึน้ เรื่อยๆ จะทาให้ชนั ้ พีตจมลึกลงไปเรื่อยๆ ในระดับความลึกทีเ่ หมาะสมความร้อนจากภายใน
โลกที่เพิม่ ขึ้นตามระดับความลึกจะเป็ นตัวหยุดกระบวนการก่อตัวใหม่ และจะเกิดกระบวนการ
เปลี่ย นแปลงอัน เนื่อ งมาจากความร้อ นขึ้นแทน ทาให้พีต มีการแปรสภาพไปเป็ นถ่ านหิน เรีย ก
กระบวนการนี้ว่าการแปรสภาพเป็ นถ่านหิน (coalification)

2.1.1.2 ตัวอย่างขัน้ ตอนการกาเนิ ดถ่านหิ น โดยมีลาดับขัน้ ตอนดังนี้


ลาดับแรก ถ่านหินจะเกิดบริเวณทีเ่ ป็ นหนอง บึง แอ่งน้ า หรือทีช่ น้ื แฉะ ริมแม่น้ า
ริมทะเล ที่มรี ะดับต่ ากว่าบริเวณรอบข้างซึ่งเกิดจากการยุบตัวลง หรือบริเวณรอบข้างมีการยกตัว
สูงขึน้ เนื่องจากการปรับตัวของผิวโลก
ลาดับที่สอง บริเวณนี้มสี ภาพแวดล้อมทีอ่ านวยให้มพี ชื เกิดขึน้ และอาศัยอยู่อย่าง
หนาแน่น มีวงจรชีวติ หลายครัง้ มีทงั ้ เกิดขึน้ และล้มตายลง ติดต่อกันเป็ นช่วงๆ ทาให้มซี ากพืชต่างๆ
สะสมทับถมกันเป็นจานวนมาก
ลาดับที่สาม เมื่อบริเวณนี้มกี ารผุพงั เนื่องมาจากการเปลีย่ นแปลงของผิวโลก ทา
ให้มตี ะกอนดินมาทับถมซากพืชและซากสิง่ มีชวี ติ อื่น รวมทัง้ มีการเปลี่ยนแปลงสภาพสิง่ แวดล้อม
เช่น ภาวะแห้งแล้ง น้ าท่วม การผุพงั ทาลาย การเคลื่อนไหวของผิวโลก การแตกแยกของแผ่นดิน
เป็นต้น ทาให้ซากต่างๆ ทีส่ ะสมอยูไ่ ด้รบั แรงกดดันและได้รบั ความร้อนจากภายในโลก ส่งผลให้เกิ ด
การเปลีย่ นแปลงทางเคมีและฟิสกิ ส์ ในบริเวณดังกล่าวซากเหล่านี้จงึ แปลสภาพไปเป็นพีต
ลาดับที่สี่ อิทธิพลจากทัง้ แรงกดดันและความร้อนภายในโลกเป็ นเวลานานๆ ทาให้
ถ่านพีตถูกอัดตัวกลายเป็นถ่านหิน ซึง่ มีคุณลักษณะแตกต่างกันในแต่ละแห่ง ทัง้ นี้ขน้ึ อยู่กบั ลักษณะ
และชนิดของพืชพันธุไ์ ม้
ลาดับที่ ห้า เมื่อเวลาผ่านไปนานๆ อาจมีดนิ และหินมาทับถมแหล่งซากเหล่านัน้
และปกคลุมชัน้ ถ่านหินเอาไว้จนอยูใ่ นสภาพปจั จุบนั

รูปที่ 2.3 ขัน้ ตอนการกาเนิดถ่านหินของแหล่งทีม่ กี ารสะสมตัวอยูก่ บั ที่


(ทีม่ า: การไฟฟ้าฝา่ ยผลิตแห่งประเทศไทย, 2547)

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 3


2
เชื้อเพลิ งซากดึกดาบรรพ์และผลิ ตภัณฑ์ 2/2554

2.1.2 ถ่านหิ นสามารถแยกประเภทตามลาดับชัน้ ได้เป็ น 5 ประเภท คือ


1) พีต (Peat) เป็ นขัน้ แรกในกระบวนการเกิดถ่านหิน ประกอบด้วยซากพืชซึง่ บางส่วนได้
สลายตัวไปแล้ว แต่ซากพืชบางส่วนยังสลายตัวไม่หมด ยังมองเห็นเป็ นลาต้น กิง่ หรือใบ มีสนี ้ าตาล
ถึงสีดา มีปริมาณคาร์บอนต่ า ประมาณร้อยละ 50-60 โดยมวล มีปริมาณออกซิเจนและความชืน้ สูง
แต่สามารถใช้เป็นเชือ้ เพลิงได้
2) ลิ กไนต์ (Lignite) เป็ นถ่านหินทีม่ สี นี ้ าตาลผิวด้าน มีซากพืชหลงเหลืออยู่เล็กน้อย มี
คาร์บอนร้อยละ 60-75 มีออกซิเจนค่อนข้างสูง มีความชืน้ สูงถึงร้อยละ 30-70 เมื่อติดไฟมีควันและ
เถ้าถ่านมาก มีความชืน้ มาก เป็ นถ่านหินทีใ่ ช้เป็ นเชือ้ เพลิงสาหรับผลิตกระแสไฟฟ้า บ่มใบยาสูบ
3) ซับบิ ทูมินัส (Sub bituminous) เป็ นถ่านหินทีใ่ ช้เวลาในการเกิดนานกว่าลิกไนต์ มีส ี
น้าตาลถึงสีดา ผิวมีทงั ้ ด้านและเป็ นมัน มีทงั ้ เนื้ออ่อนและเนื้อแข็ง มีความชืน้ ประมาณร้อยละ 25-30
มีค าร์บอนสูงกว่ าลิก ไนต์ เป็ นเชื้อ เพลิงที่ม ีคุ ณ ภาพเหมาะสมในการผลิต กระแสไฟฟ้ า และงาน
อุตสาหกรรม
4) บิ ทูมินัส (Bituminous) เป็ นถ่านหินทีใ่ ช้เวลาในการเกิดนานกว่าซับบิทูมนิ ัส เนื้อแน่ น
แข็ง มีสนี ้ าตาลถึงสีดาสนิท ประกอบด้วยชัน้ ถ่านหินสีดามันวาว ใช้เป็ นเชื้อเพลิงเพื่อการถลุงโลหะ
และเป็นวัตถุดบิ เพื่อเปลีย่ นเป็นเชือ้ เพลิงอื่นๆ
5) แอนทราไซต์ (Anthracite) เป็นถ่านหินทีใ่ ช้เวลาในการเกิดนานกว่าบิทูมนิ ัส มีลกั ษณะ
ดาเป็ น เงา มันวาวมาก มีร อยแตกเว้า แบบก้นหอย มีป ริม าณคาร์บอนประมาณร้อ ยละ 90 -98
ความชืน้ ต่ าประมาณร้อยละ 2-5 มีค่าความร้อนสูงแต่ตดิ ไฟยาก เมื่อติดไฟให้เปลวไฟสีน้ าเงิน ไม่ม ี
ควัน ใช้เป็นเชือ้ เพลิงในอุตสาหกรรมต่างๆ

รูปที่ 4.4 ตัวอย่างถ่านหินชนิดต่าง ๆ

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 4


2
เชื้อเพลิ งซากดึกดาบรรพ์และผลิ ตภัณฑ์ 2/2554

ปริมาณร้อยละของธาตุองค์ประกอบในถ่านหินชนิดต่างๆ เมื่อเปรียบเทียบกับไม้แสดงในตารางที่
2.1

ตารางที่ 2.1 ปริมาณร้อยละของธาตุองค์ประกอบและความชืน้ ของถ่านหินชนิดต่าง ๆ เทียบกับไม้


ชนิดของ ปริมาณขององค์ประกอบ (ร้อยละโดยมวล)
สาร C H O N S ความชืน้
ไม้ 50 6 43 1 - *
พีต 50-60 5-6 35-40 2 1 75-80
ลิกไนต์ 60-70 5-6 20-30 1 1 50-70
ซับบิทมู นิ สั 75-80 5-6 15-20 1 1 25-30
บิทมู นิ สั 80-90 4-6 10-15 1 5 5-10
แ อ น ท ร า 90-98 2-3 2-3 1 1 2-5
ไซต์
*ขึน้ อยูก่ บั ชนิดของพันธุไ์ ม้

2.1.3 ปัจจัยที่มีผลต่อสมบัติของถ่านหิ น
การที่สมบัติทางกายภาพและเคมีของถ่ านหินตามแหล่ งต่ างๆ แตกต่ างกัน เป็ นผลจาก
ปจั จัยหลายอย่างเช่น ชนิดของพืช การเน่ าเปื่ อยทีเ่ กิดขึน้ ก่อนการถูกฝงั กลบ ปริมาณสารอินทรียท์ ่ี
ปนเปื้อนในขัน้ ตอนการเกิด และอุณหภูมแิ ละความดันขณะทีม่ กี ารเปลีย่ นแปลง

2.1.4 การใช้ประโยชน์ ถ่านหิ น


ถ่านหินถูกนามาใช้ประโยชน์อย่างแพร่หลาย เนื่องจากมีแหล่งสารองกระจายอยู่ทวโลกและ ั่
ปริมาณค่ อนข้างมาก การขุดถ่ านหินขึ้นมาใช้ประโยชน์ ไม่ ยุ่งยากซับซ้อน ถ่านหินราคาถูกกว่า
น้ า มัน ถ่ า นหิน ส่ ว นใหญ่ จ ึง ถู ก น ามาเป็ น เชื้อ เพลิง ในอุ ต สาหกรรมต่ า ง ๆ ที่ใ ช้ห ม้อ น้ า ร้อ นใน
กระบวนการผลิต เช่น การผลิตไฟฟ้า การถลุงโลหะ การผลิตปูนซีเมนต์ การบ่มใบยาสูบ และการ
ผลิต อาหาร เป็ น ต้ น นอกจากนัน้ ยัง มีก ารใช้ป ระโยชน์ ใ นด้า นอื่ น เช่ น การท าถ่ า นสัง เคราะห์
(Activated Carbon) เพื่อดูดซับกลิน่ การทาคาร์บอนไฟเบอร์ (Carbon Fiber) ซึง่ เป็ นวัสดุทม่ี คี วาม
แข็งแกร่ง แต่มนี ้ าหนักเบา และการแปรสภาพถ่านหินเป็ นเชือ้ เพลิงเหลว (Coal liquefaction) หรือ
เป็ นแปรสภาพก๊าซ (Coal Gasification) ซึ่งเป็ นการใช้ถ่านหินแบบเชื้อเพลิงสะอาดเพื่อช่วยลด
มลภาวะจากการใช้ถ่านหินเป็ นเชื้อเพลิงได้อกี ทางหนึ่ง ภายใต้กระบวนการแปรสภาพถ่านหิน จะ
สามารถแยกเอาก๊าซทีม่ ฤี ทธิ ์เป็ นกรดหรือเป็ นพิษ และสารพลอยได้ต่าง ๆ ทีม่ อี ยู่ในถ่านหินนาไปใช้
สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 5
2
เชื้อเพลิ งซากดึกดาบรรพ์และผลิ ตภัณฑ์ 2/2554

ประโยชน์ อ่ ืน ได้อีก เช่ น ก ามะถัน ใช้ ท ากรดก ามะถัน และแร่ ย ิป ซัม แอมโมเนี ย ใช้ ท าปุ๋ ยเพื่อ
เกษตรกรรม เถ้าถ่านหินใช้ทาวัสดุก่อสร้าง เป็นต้น

2.1.5 แหล่งถ่านหิ นในประเทศไทย


ประเทศไทยมีแหล่งถ่านหินกระจายอยู่ทวทุ ั ่ กภาค มีปริมาณสารองทัง้ สิน้ ประมาณ 2,197
ล้านตัน แหล่งสาคัญอยู่ในภาคเหนือประมาณ 1,803 ล้านตัน หรือร้อยละ 82 ของปริมาณสารองทัว่
ประเทศ ส่วนอีก 394 ล้านตัน หรือ ร้อยละ 18 อยู่ภาคใต้ ถ่านหินส่วนใหญ่มคี ุณภาพต่ าอยู่ในขัน้
ลิกไนต์และซับบิทูมนิ ัส มีค่าความร้อนระหว่าง 2,800 - 5,200 กิโลแคลอรี่ต่อกิโลกรัม หรือ ถ่าน
ลิกไนต์ 2 - 3.7 ตัน ให้ค่าความร้อ นเท่ากับน้ ามันเตา 1 ตัน ลิกไนต์เป็ นถ่ านหินที่พบมากที่สุดใน
ประเทศไทยทีแ่ ม่เมาะ จังหวัดลาปาง และ จังหวัดกระบี่ จัดว่าเป็ นลิกไนต์ทค่ี ุณภาพแย่ทส่ี ุด พบว่า
ส่ ว นใหญ่ มเี ถ้า ปนอยู่มากแต่ มกี ามะถันเพียงเล็กน้ อ ย คาร์บอนคงที่อ ยู่ระหว่างร้อ ยละ 41 - 74
ปริมาณความชืน้ อยู่ระหว่างร้อยละ 7 - 30 และเถ้าอยู่ระหว่างร้อยละ 2 - 45 โดยน้ าหนัก ในช่วงที่
ราคาน้ ามันยังไม่แพงประเทศไทยไม่นิยมใช้ลกิ ไนต์มากนักแต่ภายหลังที่เกิดวิกฤติน้ ามัน จึงได้ม ี
การนาลิกไนต์มาใช้แทนน้ ามันเชื้อเพลิงมากขึน้ ทัง้ ในด้านการผลิตกระแสไฟฟ้าและอุตสาหกรรม
แหล่งถ่านหินที่มกี ารสารวจพบบางแหล่งได้ทาเหมืองผลิตถ่านหินขึน้ มาใช้ประโยชน์แล้ว แต่บาง
แหล่งยังรอการพัฒนาขึน้ มาใช้ประโยชน์ต่อไป

2.2 หิ นน้ามัน
หินน้ ามัน คือ หินตะกอนชนิดหนึ่งทีป่ ระกอบด้วยอินทรียวัตถุในรูปของสารทีเ่ รียกว่า เคอ
โรเจน (Kerogen) แทรกอยู่ระหว่างชัน้ หินตะกอน หินน้ ามันโดยทัวไปมี ่ ความถ่วงเฉพาะ 1.6-2.5
หินน้ ามันคุณภาพดีมสี นี ้ าตาลไหม้จนถึงดา มีลกั ษณะแข็งและเหนี ยว เมื่อนาหินน้ ามันมาสกัดด้วย
ความร้อนทีเ่ พียงพอ เคอโรเจนจะสลายตัวให้น้ ามันหิน ซึง่ มีลกั ษณะคล้ายน้ ามันดิบ ถ้ามีปริมารเคอ
โรเจนมากก็จะได้น้ามันหินมาก การเผาไหม้น้ามันหินจะมีเถ้ามากกว่าร้อยละ 33 โดยมวล ในขณะที่
ถ่านหินมีเถ้าน้อยกว่าร้อยละ 33
กรรมวิธขี องการสกัดหรือผลิตน้ามันจากหินน้ ามัน เริม่ ต้นด้วยการเปิดผิวดิน เพื่อขุดตักเอา
หินน้ ามันออกมาบดให้ได้ขนาด แล้วป้อนไปยังโรงงาน ผ่านกรรมวิธตี ่าง ๆ เพื่อเปลีย่ นรูปของสาร
เคอโรเจนให้กลายเป็ นไอของไฮโดร์คาร์บอน ไอของไฮโดรคาร์บอนนี้ก็จะถูกแยกออกไป ทาให้
กลายเป็ นของเหลว และนาเอาของเหลวที่ได้นาไปทาการกลัน่ ณ โรงกลันต่ ่ อไป จากกรรมวิธ ี
ดังกล่าว จะเห็นได้ว่า อุตสาหกรรมการสกัดน้ ามันจากหินน้ ามัน จะก่อให้เกิดปญั หาสภาพมลภาวะ
ตามมา โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในส่วนของฝุ่นละอองทีป่ ลิวขึน้ ไปสู่บรรยากาศ และการทิง้ กากหินน้ ามัน
ทีผ่ ่านกรรมวิธแี ล้ว

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 6


2
เชื้อเพลิ งซากดึกดาบรรพ์และผลิ ตภัณฑ์ 2/2554

2.2.1 การเกิ ดหิ นน้ามัน


หินน้ ามันแต่ละแหล่งในโลกพบว่ามีช่วงอายุตงั ้ แต่ 3-600 ล้านปี เกิดจากการสะสมและทับ
ถมของซากพืชซากสาหร่าย และสัตว์พวกแมลง ปลา และสัตว์เล็กๆ อื่นๆ ภายใต้แหล่งน้ าและภาวะ
ทีเ่ หมาะสม ซึง่ มีปริมาณออกซิเจนจากัด มีอุณหภูมสิ ูงและถูกกดทับจากการทรุดตัวของเปลือกโลก
เป็ น เวลาล้า นปี ท าให้ส ารอิน ทรีย์ใ นซากพืช และสัต ว์ เ หล่ า นั น้ เกิด การเปลี่ย นแปลงเกิด เป็ น
สารประกอบเคอโรเจน ผสมคลุกเคล้ากับตะกอนดินทรายทีถ่ ูกอัดแน่นกลายเป็นหินน้ ามัน
หินที่เป็ นแหล่งกาเนิดหินน้ ามันจะคล้ายกับหินที่เป็ นแหล่งกาเนิดปิ โตรเลียม แต่หนิ น้ ามัน
อาจมีปริมารเคอโรเจนมากถึงร้อยละ 40 ในขณะทีป่ ิโตรเลียมมีปริมาณร้อยละ 1

หิ นน้ามันมีส่วนประกอบที่สาคัญ 2 ประการ คือ


1) สารประกอบอนิ นทรีย์ ได้แก่ แร่ธาตุต่าง ๆ ทีผ่ ุพงั มาจากชัน้ หินโดยกระบวนการทาง
กายภาพและเคมี ประกอบด้วย แร่ท่สี าคัญ 2 กลุ่มใหญ่ ๆ คือกลุ่ มแร่ซลิ ิเ กต ได้แก่ ควอตซ์
เฟลสปาร์ เคลย์ และแร่คาร์บอเนตได้แก่ แคลไซต์ โดโลไมต์ นอกจากนี้ยงั มีแร่ซลั ไฟด์อ่นื ๆ และ
ฟอสเฟต ปริมาณแร่ธาตุในหินน้ ามันแต่ละแหล่งจะแตกต่างกันตามสภาพการกาเนิด การสะสมตัว
ของหินน้ามันและสภาพแวดล้อม
2) สารประกอบอิ นทรีย์ ประกอบด้วยบิทูเมนและเคอโรเจน บิทูเมนละลายได้ในเบนซีน
เฮกเซน และตัวทาละลายอินทรีย์ชนิด อื่น ๆ จึงแยกออกจากหินน้ ามันได้ง่าย ส่วนเคอโรเจนไม่
ละลายในตัวทาละลาย หินน้ามันทีม่ สี ารอินทรียป์ ริมาณสูงจัดเป็ นหินน้ ามันคุณภาพดี เมื่อนามาสกัด
ควรให้น้ ามันอย่างน้อยร้อยละ 50 ของปริมาณสารอินทรียท์ ่มี อี ยู่ แต่โดยทัวไปอาจได้
่ น้ ามันเพียง
ร้อยละ 30 หรือน้อยกว่า แต่ถา้ มีสารอนินทรียป์ ะปนอยู่มากจะเป็ นหินน้ามันทีม่ คี ุณภาพต่า
ประเทศไทยมีการสารวจพบแหล่งหินน้ ามันตัง้ แต่ ปี พ.ศ. 2478 ที่อาเภอแม่สอด จังหวัด
ตาก พบว่าชัน้ ของหินน้ ามันค่ อนข้างบาง มีปริมาณเคอโรเจนโดยเฉลี่ยต่ ากว่าร้อยละ 10 และมี
ปริมาณสารองประมาณ 18.7 ล้านเมตริกตัน แต่กย็ งั ไม่มกี ารลงทุนทาเหมือง เนื่องจากปญั หาเรื่อง
ความคุม้ ทุนทางเศรษฐกิจ อย่างไรก็ตามด้วยปริมาณดังกล่าวทาให้แหล่งหินน้ ามันนี้กลายเป็ นแหล่ง
พลังงานสารองขนาดใหญ่ของประเทศได้ในอนาคต

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 7


2
เชื้อเพลิ งซากดึกดาบรรพ์และผลิ ตภัณฑ์ 2/2554

รูปที่ 2.5 ชัน้ ของหินน้ามันทีป่ รากฏในพืน้ ที่ อาเภอแม่สอด จังหวัดตาก

2.2.2 การใช้ประโยชน์ จากหิ นน้ามัน


หินน้ามันนามาใช้เป็ นแหล่งพลังงานได้เช่นเดียวกับถ่านหิน ตัง้ แต่ช่วงศตวรรษที่ 19 ต่อมา
มีผู้ศกึ ษาหาวิธสี กัดน้ ามันจากหินน้ ามันจนสามารถผลิตน้ ามันหินใช้ในอุตสาหกรรมต่างๆ ได้ หิน
น้ ามัน 1000 กิโลกรัมเมื่อนามาผ่านกระบวนการสกัดสามารถผลิตเป็ นน้ ามันหินได้ประมาณ 100
ลิตร ผลิตภัณฑ์ทไ่ี ด้ประกอบด้วยน้ามันก๊าด น้ ามันตะเกียง พาราฟิน น้ ามันเชือ้ เพลิง น้ ามันหล่อลื่น
ไข แนฟทา และผลิตภัณฑ์ท่เี ป็ นผลพลอยได้อ่นื ๆ เช่น แอมโมเนียมซัลเฟต แต่การทาเหมืองเพื่อ
ผลิต หิน น้ า มัน มีค่ า ใช้จ่า ยในการผลิต สูง กว่ า การใช้เ ชื้อ เพลิง จากปิ โ ตรเลีย มโดยตรง ประเทศ
เอสโตเนียนาหินน้ ามันมาใช้ ตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2463 ปจั จุบนั เป็ นประเทศทีใ่ ช้หนิ น้ ามันมากที่สุด โดย
ส่วนใหญ่ใช้เป็ นเชือ้ เพลิงในโรงงานผลิตกระแสไฟฟ้า นอกจากการทาเหมืองเพื่อผลิตหินน้ ามันเป็ น
หลักแล้วยังมีผลพลอยได้จากแร่ธาตุส่วนน้อยที่เกิดร่วมกับหินน้ ามันและสารประกอบทีเ่ กิดขึน้ จาก
กระบวนการสกัดน้ ามันคือ ยูเรเนียม วาเนดียม สังกะสี โซเดียมคาร์บอเนต แอมโมเนียมซัลเฟต
และกามะถัน น้ามันและผลพลอยได้เหล่านี้สามารถนาไปใช้ผลิตผลิตภัณฑ์ต่างๆ หลายชนิด เช่น ใย
คาร์บอน คาร์บอนดูดซับ คาร์บอนแบล็ก อิฐ และปุ๋ย

2.3 ผลิ ตภัณฑ์ปิโตรเคมี


ปจั จุบนั ปิโตรเคมี เข้ามามีส่วนเกี่ยวข้องในชีวติ ประจาวันของคนทัวโลก
่ อุตสาหกรรมปิโตร
เคมีจงึ เป็นอุตสาหกรรมทีม่ บี ทบาทสาคัญทางเศรษฐกิจและการพัฒนาประเทศสูงขึน้ เรื่อยๆ หากแต่
องค์ความรูท้ างปิโตรเคมีเป็นเรื่องทีซ่ บั ซ้อนและเข้าใจได้ยากแต่ส่วนใหญ่เกี่ยวข้องในชีวติ ประจาวัน
ของพวกเรา เช่น พลาสติกทีอ่ ยูใ่ นรูปผลิตภัณฑ์ต่างๆ ตามลักษณะการใช้งาน เช่น ขวดน้ า ชิน้ ส่วน
รถยนต์ ชิ้นส่วนเครื่องใช้ไฟฟ้า เป็ นอุปกรณ์ทางการแพทย์ เป็ นต้น จากรูปแบบทีห่ ลากหลายของ
ผลิตภัณฑ์เหล่านี้ ขึน้ กับสมบัตทิ แ่ี ตกต่างกันของวัสดุทน่ี ามาผลิตเป็ นพลาสติก เนื่องจากผลิตภัณฑ์

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 8


2
เชื้อเพลิ งซากดึกดาบรรพ์และผลิ ตภัณฑ์ 2/2554

พลาสติกเป็นเพียงส่วนหนึ่งของผลิตภัณฑ์ทท่ี ามาจากวัสดุทเ่ี รียกว่า “พอลิเมอร์” ซึง่ พอลิเมอร์เองก็


เป็นผลิ ตภัณฑ์ทางปิ โตรเคมีชนิดหนึ่งทีผ่ ลิตได้จากอุตสาหกรรมปิ โตรเคมี
อุตสาหกรรมปิโตรเคมีเป็ นอุตสาหกรรมที่เริม่ ต้นจากปิ โตรเลียม และสารเคมีท่ผี ลิตได้จาก
อุตสาหกรรมปิโตรเคมีเรียกว่า “สารปิโตรเคมี” (Petrochemicals) สารปิโตรเคมีผลิตขึน้ โดยใช้สาร
ปิโตรเลียมประกอบด้วย ไฮโดรคาร์บอนที่ได้จากน้ ามันดิบและก๊าซธรรมชาติเป็ นสารตัง้ ต้น นามา
ผ่ า นกระบวนการทางเคมีท่ีซ ับ ซ้อ นจนได้ส ารประกอบที่ม ีส มบัติต ามต้ อ งการ ส่ ว นหนึ่ ง ของ
ผลิตภัณฑ์ทไ่ี ด้ใช้เป็นสารเคมีในอุตสาหกรรมต่างๆ และส่วนหนึ่งนามาผลิตเป็ นพอลิเมอร์สาหรับขึน้
รูปเป็นผลิตภัณฑ์พลาสติก ดังรูป

2.3.1 กาเนิ ดปิ โตรเลียม


ปิ โตรเลียม มาจากรากศัพท์ภาษาละติน 2 คาคือ เพตรา แปลว่า หิน โอเลียม แปลว่า
น้ ามัน รวมความหมายแล้วหมายถึงน้ ามันที่ได้จากหิน ปิ โตรเลียมเป็ นสารผสมของสารประกอบ
ไฮโดรคาร์บอนและสารอินทรียอ์ ่นื ๆ หลายชนิด ปรากฏอยู่ในรูป ก๊าซและของเหลวข้นสีน้าตาล
หรือสี ดา ปิ โตรเลียมเกิดจากการทับถมและสลายตัว ของอินทรียสารจากพืชและสัตว์ใต้ทะเล ที่
ผสมผสานกับตะกอนในชัน้ กรวดทรายและโคลนตมใต้พน้ื ดิน อัดตัวกันภายใต้อุณหภูมแิ ละความดัน
สูงในบริเวณทีม่ อี อกซิเจนจากัด เมื่อเวลาผ่านไปหลายล้านปี จงึ สลายตัวเปลีย่ นสภาพเป็ นน้ ามันดิบ
และก๊ า ซธรรมชาติแ ทรกอยู่ร ะหว่ า งชัน้ หิน ที่ม ีรูพ รุ น ปิ โ ตรเลีย มอยู่ใ นสถานะทัง้ ของแข็ง และ
ของเหลว และก๊าซ เมื่อถูกกดทับมากๆจะไหล แล้วไปสะสมตัวอยู่ในชัน้ หินกักเก็บหรือหินอุ้ม
ปิโตรเลียม ซึง่ ชัน้ หินนี้มไี ด้ 2 ลักษณะ คือ

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 9


2
เชื้อเพลิ งซากดึกดาบรรพ์และผลิ ตภัณฑ์ 2/2554

1) เป็นชัน้ หินทีม่ รี พู รุน เป็นทีก่ กั เก็บของเหลวหรือก๊าซ ซึง่ หากน้ ามันดิบหรือก๊าซธรรมชาติ


เกิดรวมกัน ส่วนทีเ่ ป็นก๊าซซึง่ มีน้าหนักเบาก็จะลอยตัวสะสมอยู่ส่วนบน ส่วนน้ าซึง่ หนักกว่าก๊าซและ
น้ามันดิบ จะแยกตัวอยูส่ ่วนล่างสุด
2) เป็ นชัน้ หินทีม่ คี วามสามารถในการไหลซึมได้ หรือลักษณะคล้ายน้ าที่ซมึ อยู่รพู รุนของ
ฟองน้า เช่น ชัน้ หินทรายและชัน้ หินปูน
ปิโตรเลียมในหินอุ้มนี้ หากไม่มสี งิ่ ใดกีดขวาง ก็จะพยายามซึมเล็ดลอดขึน้ สู่พน้ื ผิว และระเหยหายไป
ในทีส่ ุด ดังนัน้ ปิโตรเลียมจึงจะถูกกักเก็บสะสมตัวอยูภ่ ายใต้ผวิ โลก เพื่อรอวันให้เราได้นาขึน้ มาใช้
ประโยชน์ต่อไป

รูปที่ 2.6 ลักษณะของหินทราย หินปูน หินทีม่ รี อยแตกร้าว

2.3.2 การสารวจปิ โตรเลียม โดยขัน้ ตอนของการสารวจนัน้ จะแบ่งออกเป็น


1) การสารวจทางธรณี วิทยา เพื่อสารวจหาว่ามีชนั ้ หินที่เป็ นแหล่งกักเก็บปิ โตรเลียมอยู่
หรือไม่และอยู่ทไ่ี หน รวมทัง้ เก็บตัวอย่างหินเพื่อการวิเคราะห์หาอายุและสารต้นกาเนิดปิโตรเลียม
ผลการศึกษาช่วยให้คาดคะแนนได้ว่าจะมีโอกาสพบโครงสร้างและชนิดของหินทีเ่ อื้ออานวยต่อการ
กักเก็บปิโตรเลียม
2) การสารวจทางธรณี ฟิสิ กส์ เป็ นการวัดคลื่นความไหวสะเทือนผ่านชัน้ หิน (Seismic
Survey) โดยการสร้างคลื่นสะท้อนจากการจุดระเบิดเพื่อให้เกิดคลื่นความสันสะเทื
่ อนวิง่ ไปกระทบ
ชัน้ หินใต้ท้องทะเลและใต้ดนิ แล้วสะท้อนกลับขึน้ มาบนผิวโลกเข้าเครื่องรับสัญญาณ จากนัน้
เครื่องรับสัญญาณจะบันทึกเวลาที่คลื่นความสันสะเทื
่ อนสะท้อนกลับขึน้ มาจากชัน้ หิน ณ ทีร่ ะดับ
ความสึกต่างกัน ซึง่ ระยะเวลาทีค่ ลื่นความสันสะเทื
่ อนเดินทางกระทบชัน้ หินทีเ่ ป็ นตัวสะท้อนคลื่นได้
และข้อ มูล ที่ไ ด้จากการคานวณจะถูกนามาเขียนเป็ นแผนที่แสดงถึงต าแหน่ งและรูปร่างลักษณะ
โครงสร้างของชัน้ หินเบื้องล่างได้ โดยผลธรณีฟิสกิ ส์ดงั กล่าวจะถูกนามาเขียนบนแผนที่แสดง

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 10


2
เชื้อเพลิ งซากดึกดาบรรพ์และผลิ ตภัณฑ์ 2/2554

ตาแหน่ งและรูปร่างลักษณะโครงสร้างใต้ทะเลเพื่อเราจะได้เลือกโครงสร้างที่เหมาะสมที่สุดเพื่อ
กาหนดพืน้ ทีเ่ ป้าหมายสาหรับการเจาะสารวจต่อไป ดังรูปที่ 2.7

รูปที่ 2.7 การสารวจทางธรณีฟิสกิ ส์


3) การวัดค่าแรงโน้ มถ่วงของโลก จะบอกให้ทราบถึงชัน้ หินใต้ผวิ โลกในระดับต่างๆ ซึง่ มี
หลายลักษณะ ดังรูปที่ 2.8

รูปที่ 2.8 ลักษณะต่างๆ ของแหล่งกักเก็บปิโตรเลียม

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 11


2
เชื้อเพลิ งซากดึกดาบรรพ์และผลิ ตภัณฑ์ 2/2554

2.3.3 การขุดเจาะ
จากผลการสารวจจะเป็นข้อมูลเบือ้ งต้นทีช่ ่วยให้สนั นิษฐานว่าจะมีปิโตรเลียมหรือไม่ จากนัน้
จะเป็ นการเจาะสารวจเพื่อนาปิ โตรเลียมมาใช้ ถ้าหลุมใดมีก๊าซธรรมชาติ หรือ ปิ โตรเลียม และมี
ความดันภายในสูง ปิ โตรเลียมจะถูกดันให้ไหลขึน้ มาเอง แต่ถ้าหลุมใดมีความดันภายในต่ าจะต้อง
เพิม่ แรงดันจากภายนอกโดยการอัดก๊าซบางชนิด เช่น ก๊าซธรรมชาติ ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ หรือ
ไอน้าลงไป

รูปที่ 2.9 การขุดเจาะสารวจปิโตรเลียม (กรมเชือ้ เพลิงธรรมชาติ)

note
 ประเทศไทยมีการสารวจพบน้ามันดิบครัง้ แรกในปี พ.ศ. 2464 ทีอ่ าเภอฝาง จังหวัด
เชียงใหม่
 แหล่งน้ ามันดิบในประเทศทีส่ าคัญ ได้แก่ น้ ามันดิบเพชร จากแหล่งสิรกิ ติ ิ ์ จังหวัด
กาแพงเพชร

2.3.4 การผลิ ตปิ โตรเลียม


หลังจากการขุดเจาะแหล่งปิ โตรเลียมก็จะได้ผลิตภัณฑ์ออกทัง้ ในรูปของก๊าซธรรมชาติและ
น้ามันดิบเมือ่ น้ามันหรือก๊าซธรรมชาติเดินทางผ่านทางท่อจากแท่นหลุมขุดเจาะมายังแท่นผลิตกลาง
(Central Processing Platform) ก็จะผ่ านเข้าสู่กระบวนการต่ างๆ เพื่อแยก น้ า ก๊ าซ
คาร์บอนไดออกไซด์ และสารปนเปื้อนอื่นๆ ออกจากน้ามันและก๊าซธรรมชาติ คือ ใช้เทคนิคการกลัน่

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 12


2
เชื้อเพลิ งซากดึกดาบรรพ์และผลิ ตภัณฑ์ 2/2554

2.3.5 การกลันน ่ ้ามันดิ บ


น้ ามันดิบ จากแหล่ งต่ างๆ จะมีส มบัติทางกายภาพแตกต่ า งกัน มีส ีน้ า ตาลจนถึงสีด า มี
สถานะเป็ น ของเหลวข้น จนถึง หนื ด คล้า ยยางมะตอย ซึ่ง น้ า มัน ดิบ ประกอบด้ว ยสารประกอบ
ไฮโดรคาร์บอนประเภทแอลเคนและไซโคลแอลเคนเป็นส่วนใหญ่ และยังมีสารประกอบของกามะถัน
ออกซิเ จน ไนโตรเจนรวมทัง้ โลหะอื่น ๆ ปนอยู่ด้ว ย ดัง นัน้ จะต้อ งน ามาผ่ า นกระบวนการแยก
สารประกอบต่างๆ ออกจากกัน โดยใช้กระบวนการกลัน่
การกลันน่ ้ ามันดิบคือการย่อ ยสลายสารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่เป็ นส่ว นประกอบของ
ปิโตรเลียมออกเป็ นกลุ่ม (Groups) หรือออกเป็ นส่วน (Fractions) ต่างๆ โดยกระบวนการกลัน่
(Distillation) ทีย่ ุ่งยากและซับซ้อน น้ ามันดิบในโรงกลันน ่ ้ ามันนัน้ ไม่เพียงแต่จะถูกแยกออกเป็ น
ส่วนต่างๆ เท่านัน้ แต่มลทิน (Impurities) ชนิดต่างๆ เช่น กามะถัน ก็จะถูกกาจัดออกไปอีก โรง
กลันน
่ ้ ามันอาจผลิต น้ า มัน แก๊ ส และเคมีภณ ั ฑ์ท่แี ตกต่ างกันออกมาได้มากมายถึง 80 ชนิ ด
ผลิตภัณฑ์ทส่ี าคัญทีส่ ุดคือ เชือ้ เพลิงชนิดต่างๆ จากน้ ามันส่วนทีเ่ บากว่า (Lighter fractions) เช่น
น้ ามันเบนซิน (Petrol หรือ Gasoline) พาราฟิน (Parafin หรือ Kerosene) เบนซีน (Benzene) แต่
น้ ามันส่วนทีห่ นักกว่า (Heavier fractions) เช่น น้ ามันดีเซล (Diesel) น้ ามันหล่อลื่น (Lubricants)
และน้ ามันเตา (Fuel oils) ก็นับได้ว่ามีความสาคัญเช่นกัน นอกเหนือไปจากนี้ ก็มสี ารเหลือค้าง
(Residues) อีกหลายชนิดเกิดขึน้ เช่น ถ่านโค้ก (Coke) แอสฟลั ต์ (Asphalt) และบิทูเม็น (Bitumen)
หรือน้ ามันดิน (Tar) และขีผ้ ง้ึ (Wax หรือ Vaseline) ก็อาจได้รบั การสกัดออกมา รวมทัง้ ยังมีแก๊ส
ชนิดต่างๆ เกิดขึน้ ด้วย เช่น บิวเทน (Butane) และโพรเพน (Propane)

รูปที่ 2.10 The natural gas industry (ทีม่ า:www.eia.doe.gov)

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 13


2
เชื้อเพลิ งซากดึกดาบรรพ์และผลิ ตภัณฑ์ 2/2554

กระบวนการกลันน ่ ้ามันที่สาคัญในโรงกลัน่ ได้แก่


1) การกลันล ่ าดับส่วน (Fractional distillation)
วิธกี ารนี้คอื การกลันน ่ ้ ามันแบบพืน้ ฐาน ซึง่ สามารถแยกน้ ามันดิบออกเป็ นส่วน (Fractions)
ต่างๆ กระบวนการนี้ใช้หลักการจากลักษณะของส่วนต่างๆ ของน้ ามันดิบที่มคี ่าอุณหภูมจิ ุดเดือด
(Boiling point) ที่แตกต่างกันออกไป และเป็ นผลให้ส่วนต่างๆ ของน้ ามันดิบนัน้ มีจุดควบแน่ น
(Condensation point) ที่แตกต่างกันออกไปด้วย น้ ามันดิบจากถังจะได้รบั การสูบผ่านเข้าไปใน
เตาเผา (Furnace) ทีม่ อี ุณหภูมสิ ูงมากพอทีจ่ ะทาให้ทุกๆ ส่วนของน้ ามันดิบแปรสภาพไปเป็ นไอได้
แล้วไอน้ ามันดังกล่าวก็จะถูกส่งผ่านเข้าไปในหอกลันล ่ าดับ ส่วน (Fractionating tower) ทีม่ รี ปู ร่าง
เป็นทรงกระบอก มีขนาดความสูงประมาณ 30 เมตร และมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 2.5-8.0
เมตร ภายในหอกลันดั ่ งกล่าวมีการแบ่งเป็นห้องต่างๆ หลายห้องตามแนวราบ โดยมีแผ่นกัน้ ห้องทีม่ ี
ลักษณะคล้ายถาดกลม โดยแผ่นกัน้ ห้องทุกแผ่นจะมีการเจาะรูเอาไว้ เพื่อให้ไอน้ ามันทีร่ อ้ นสามารถ
ผ่านทะลุขน้ึ สู่ส่วนบนของหอกลันได้ ่ และมีท่อต่อเพื่อนาน้ ามันทีก่ ลันตั
่ วแล้วออกไปจากหอกลันเมื ่ ่อ
ไอน้ ามันดิบทีร่ อ้ นถูกส่งให้เข้าไปสู่หอกลันทางท่่ อ ไอจะเคลื่อนตัวขึน้ ไปสู่ส่วนบนสุดของหอกลัน่
และขณะทีเ่ คลื่อนตัวขึน้ ไปนัน้ ไอน้ ามันจะเย็นตัวลงและควบแน่ นไปเรื่อยๆ แต่ละส่วนของไอน้ ามัน
จะกลันตั
่ วเป็นของเหลวทีร่ ะดับต่างๆ ในหอกลัน่ ทัง้ นี้ขน้ึ อยู่กบั อุณหภูมขิ องการควบแน่ นทีแ่ ตกต่าง
กันออกไป น้ ามันส่วนทีเ่ บากว่า (Lighter fractions) เช่น น้ ามันเบนซิน (Petrol) และพาราฟิ น
(Parafin) ซึ่งมีค่าอุณหภูมขิ องการควบแน่ นต่ าจะกลายเป็ นของเหลวที่หอ้ งชัน้ บนของหอกลันและ ่
ค้างตัวอยู่บนแผ่นกัน้ ห้องชัน้ บนสุด น้ ามันส่วนกลาง (Medium fractions) เช่น ดีเซล (Diesel)
น้ ามันแก๊ส (Gas oils) และน้ ามันเตา(Fuel oils) บางส่วนจะควบแน่ นและกลันตั ่ วทีร่ ะดับต่างๆ
ตอนกลางของหอกลัน่ ส่วนน้ ามันหนัก (Heavy factions) เช่น น้ ามันเตา และสารตกค้างพวก
แอสฟลั ต์ จะกลันตั ่ วทีส่ ่วนล่างสุดของหอกลัน่ ซึง่ มีอุณหภูมสิ ูงและจะถูกระบายออกไปจากส่วนฐาน
ของหอกลัน่
ข้อเสียของกระบวนการกลันล ่ าดับส่วนคือ จะได้น้ามันเบาประเภทต่างๆ ในสัดส่วนทีน่ ้อย
มากทัง้ ทีน่ ้ ามันเบาเหล่านี้ลว้ นมีคุณค่าทางเศรษฐกิจสูง
2) การกลันแบบเทอร์
่ มอล แครกกิ ง (Thermal cracking)
กระบวนการนี้จะได้น้ ามันทีก่ ลันแล้ ่ ว คือ น้ ามันเบนซิน (Petrol) เพิม่ สูงขึน้ เป็ นร้อยละ 50
ในปจั จุบนั กระบวนการกลันแบบนี ่ ้เกิดขึน้ โดยการเอาน้ ามันดิบมาทาให้เกิดการแตกตัวในถัง ที่
อุณหภูมสิ ูงกว่า 1,000 องศาฟาเรนไฮต์ ทีค่ วามกดดันมากกว่า 1,000 ปอนด์ ต่อตารางนิ้ว สภาวะ
อุณหภูมทิ ส่ี งู และความกดดันทีส่ งู ทาให้สารประกอบไฮโดรคาร์บอนทีม่ โี ครงสร้างโมเลกุลขนาดใหญ่
เกิดการแยกตัวหรือแตกตัวเป็ นน้ ามันส่วนเบา หรือเป็ นสารไฮโดรคาร์บอนทีม่ โี มเลกุลขนาดเล็กลง
รวมทัง้ มีจานวนอะตอมของคาร์บอนน้อยลง และน้ามันส่วนเบาซึง่ มีสภาพเป็ นไอร้อนนี้กจ็ ะถูกปล่อย
ให้เข้าไปในหอกลัน่ เพื่อควบแน่นและกลันตั ่ วเป็นของเหลวต่อไป
สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 14
2
เชื้อเพลิ งซากดึกดาบรรพ์และผลิ ตภัณฑ์ 2/2554

รูปที่ 2.11 กรรมวิธใี นการกลันน


่ ้ามันดิบและผลิตภัณฑ์
3) การกลันแบบคาตาลิ
่ ติก แครกกิ ง (Catalytic cracking)
กระบวนการกลันนี ่ ้ได้รบั การพัฒนาต่อเนื่องจากแบบดัง้ เดิมทีก่ ล่าวมาแล้วทัง้ สองแบบ เพื่อ
เพิม่ ปริมาณน้ามันทีก่ ลันแล้
่ วตลอดจนคุณภาพของน้ ามันทีก่ ลันก็ ่ ได้รบั การปรับปรุงให้ดขี น้ึ โดยการ
เติมตัวเร่งปฏิกริ ยิ า (Catalyst) เข้าไปในน้ ามันส่วนกลาง (Medium fractions) ซึง่ ช่วยทาให้โมเลกุล
น้ ามันแตกตัว หรือแยกตัวดีขน้ึ โดยไม่มผี ลต่อการเปลี่ยนแปลงส่วนประกอบทางเคมีของน้ ามัน
ตัวเร่งปฏิกิรยิ าอยู่ในรูปของผงแพลทินัม (Platinum) หรือดินเหนียว (Clay) ที่มขี นาดอนุ ภาค
ละเอียดมากผงตัวเร่งปฏิกริ ยิ าจะสัมผัสกับไอน้ามันร้อนในเตาปฏิกรณ์ (Reactor) ทาให้ไอน้ ามันเกิด
การแตกตัว หรือแยกตัวเป็ นน้ ามันส่วนทีเ่ บา เช่นน้ ามันเบนซิน (Petrol) แล้วก็ควบแน่ นกลันตั ่ วใน
ทีส่ ุด โดยทิง้ อะตอมของคาร์บอนและมลทินไว้กบั อนุ ภาคของดินเหนียว ตัวเร่งปฏิกริ ยิ าทีม่ คี าร์บอน
เคลือบอยู่ก็จะถูกปล่อยให้ไหลออกจากเตาปฏิกรณ์เข้าสู่รเี จนเนอเรเตอร์ (Regenerator) ซึ่ง
คาร์บอนจะถูกเผาไหม้ไปในกระแสอากาศกระบวนการกลันแบบนี ่ ้ จงึ เป็ นการใช้ปฏิกริ ยิ าทางเคมี
กระทาต่อน้ ามันดิบ ซึง่ ช่วยแยกโมเลกุลของไฮโดรคาร์บอนชนิดต่างๆ ออกจากกัน รวมไปถึงการ
กาจัดมลทินต่างๆ เช่น สารประกอบของกามะถัน สารเมอร์แคบแทนส์ (Mercaptans) ทีม่ กี ลิน่ ฉุ น
อะโรเมติกส์ (Aromatics) และไฮโดรเจนซัลไฟด์ ออกไปอีกด้วย
4) การกลันแบบโพลี
่ เมอไรเซซัน่ (Polymerization)
กระบวนการกลันแบบแครกกิ
่ ง (Cracking) ช่วยปรับปรุงน้ ามันแบนซินให้มปี ริมาณมากขึน้
โดยการแยกน้ ามันส่ว นที่ห นักกว่าออกไปแต่ การกลันแบบโพลี่ เมอไรเซซันเป็ ่ นการเพิ่มปริมาณ
น้ามันเบนซินจากน้ามันส่วนทีเ่ บาทีส่ ุด (Lightest fractions) ซึง่ ก็คอื แก๊ส นัน่ เอง โดยทัวๆ ่ ไปจะถูก
เผาทิง้ ไป แก๊สเหล่านี้ได้รบั การนามารวมกันเป็ นสารประกอบทีม่ โี มเลกุลใหญ่ขน้ึ และทาให้สามารถ
เพิม่ ปริมาณน้ามันเบนซินทีก่ ลันได้
่ รวมไปถึงการเพิม่ ปริมาณออกเทน (Octane content) อีกด้วย

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 15


2
เชื้อเพลิ งซากดึกดาบรรพ์และผลิ ตภัณฑ์ 2/2554

2.3.6 กระบวนการปรับปรุงโครงสร้างของโมเลกุลให้เป็ นเชื้อเพลิ ง สามารถทาได้ดงั นี้


ในปจั จุบนั ความต้องการใช้น้ ามันเบนซิน (C6-C12) และน้ ามันดีเซล (C14-C19) ในปริมาณที่
สูงมากๆ รวมทัง้ ผลิตภัณฑ์ทไ่ี ด้จากการกลันโดยตรงมี
่ คุณภาพไม่เหมาะสมกับความต้องการ ดังนัน้
จะต้องมีการปรับปรุงโครงสร้างของโมเลกุลให้เป็นเชือ้ เพลิงทีม่ คี ุณภาพตามต้องการ ดังนี้
1) กระบวนการแตกสลาย (Cracking process)
เป็ นกระบวนการทาให้สารประกอบไฮโดรคาร์บอนโมเลกุลใหญ่แตกออกเป็ นโมเลกุลเล็กๆ
โดยใช้ความร้อนสูงประมาณ 500oC และใช้ตวั เร่งปฏิกริ ยิ าทีเ่ หมาะสม เช่น

2) กระบวนการรีฟอร์มมิ่ ง (Reforming process)


เป็ นกระบวนการเปลี่ยนสารประกอบไฮโดรคาร์บอนแบบโซ่ตรงเป็ นไอโซเมอร์แบบโซ่กิ่ง
หรือการเปลีย่ นสารประกอบไฮโดรคาร์บอนแบบวงให้เป็ นสารอะโรมาติก โดยใช้ความร้อนสูงและใช้
ตัวเร่งปฏิกริ ยิ าทีเ่ หมาะสม เช่น

3) กระบวนการแอลคิ เลชัน (Alkylation process)


เป็ นกระบวนการรวมโมเลกุลของแอลเคนกับแอลคีนมวลโมเลกุลต่ าโดยมีกรดเป็ นตัวเร่ง
ปฏิกริ ยิ าเกิดเป็นโมเลกุลแอลเคนทีม่ โี ครงสร้างแบบโซ่กงิ่ เช่น

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 16


2
เชื้อเพลิ งซากดึกดาบรรพ์และผลิ ตภัณฑ์ 2/2554

4) กระบวนการโอลิ โกเมอไรเซชัน (Oligomerization process)


เป็ นกระบวนการรวมสารประกอบแอลคีนโมเลกุลเล็กๆ เข้าด้วยกันโดยใช้ความร้อนหรือ
ตัวเร่งปฏิกิรยิ า เกิดเป็ นสารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่มจี านวนคาร์บอนอะตอมเพิม่ ขึ้น และยังมี
พันธะคู่เหลืออยูใ่ นผลิตภัณฑ์ เช่น

2.3.7 การกาหนดคุณภาพของน้ามันเบนซิ นและน้ามันดีเซล


2.3.7.1 เลขออกเทน
เป็นเลขทีก่ าหนดขึน้ เพื่อบอกคุณสมบัตกิ ารเผาไหม้ของน้ ามันเบนซิน เมื่อเทียบกับ
การเผาไหม้ของไอโซออกเทน และ เฮปเทน
กาหนดว่า
น้ามันเบนซินทีม่ สี มบัตกิ ารเผาไหม้เช่นเดียวกับไอโซออกเทน มีเ ลขออกเทน เท่ า กับ 100
น้ามันเบนซินทีม่ สี มบัตกิ ารเผาไหม้เช่นเดียวกับเฮปเทน มีเลขออกเทน เท่ากับ 0

ไอโซออกเทน (เลขออกเทน 100) เฮปเทนโซ่ตรง (เลขออกเทน 0)

น้ ามันเบนซินที่มเี ลขออกเทน 95 มีสมบัตกิ ารเผาไหม้เช่นเดียวกับเชื้อเพลิงที่ได้จากการ


ผสมไอโซออกเทนร้อยละ 95 กับเฮปเทนร้อยละ 5 โดยมวล
น้ามันเบนซินทีก่ ลันได้
่ และปรับปรุงคุณภาพแล้ว ส่วนใหญ่มเี ลขออกเทนต่ ากว่า 75 ดังนัน้ มี
การเพิม่ เลขออกเทนโดยเติมสารเคมีบางชนิด
ในอดีต เติมเตตระเมทิล เลด หรือ เตตระเอทิล เลดลงในน้ ามันเบนซินที่กลันได้ ่ แต่ เ มื่อ
นาไปใช้งานในเครื่องยนต์ จะทาให้มสี ารตะกัวปล่่ อยออกมาพร้อมกับไอเสียเครื่องยนต์ซ่งึ เป็ นพิษ

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 17


2
เชื้อเพลิ งซากดึกดาบรรพ์และผลิ ตภัณฑ์ 2/2554

ร้ายแรงต่อมนุ ษย์และสิง่ แวดล้อม ดังนัน้ ประเทศไทยได้ประกาศยกเลิกใช้เตตระเมทิลเลด และ เต


ตระเอทิลเลด ในปี พ.ศ. 2539 เป็นต้นไป
ในปจั จุบนั เติมเมทิลเทอร์เชียรีบวิ ทิวอีเทอร์ (MTBE) เอทานอลหรือ เมทานอล และเรียก
น้ามันเบนซินชนิดนี้ว่าน้ ามันไร้สารตะกัวหรื
่ อยูแอลจี (ULG)

การเลือกใช้ น้ามันเบนซิ นควรคานึ งถึงความเหมาะสมกับเครื่องยนต์ เช่น รถยนต์รุ่น


เก่าควรใช้น้ ามันทีม่ เี ลขออกเทนไม่ต่ ากว่า 91 ส่วนรถยนต์รนุ่ ใหม่และรถยนต์ทผ่ี ลิตจากกลุ่ม
ประเทศยุโรปควรใช้น้ ามันทีม่ เี ลขออกเทนไม่ต่ากว่า 95 เป็นต้น
น้ามันเบนซินเป็ นสารระเหยง่ายและไวไฟ จึงไม่ควรเก็บหรือใช้งานใกล้กบั แหล่งความร้อน
ไอระเหยทาให้ผสู้ ดู ดมมึนงง ปวดศีรษะและอาจหมดสติได้ ถ้าสัมผัสกับผิวหนังจะทาให้ผวิ หนังแห้ง
ได้

2.3.7.2 เลขซีเทน
เป็ นเลขที่กาหนดขึน้ เพื่อบอกคุณสมบัตกิ ารเผาไหม้ของน้ ามันดีเซล เมื่อเทียบกับ
การเผาไหม้ของซีเทน และ แอลฟาเมทิลแนฟทาลีน
กาหนดว่า
น้ามันดีเซลทีม่ สี มบัตกิ ารเผาไหม้เช่นเดียวกับซีเทนมีเลขซีเทน เท่ากับ 100
น้ามันดีเซลทีม่ สี มบัตกิ ารเผาไหม้เช่นเดียวกับแอลฟาเมทิลแนฟทาลีนมีเลขซีเทน เท่ากับ 0

ซีเทน (เลขซีเทน 100) แอลฟาเมทิลแนฟทาลีน (เลขซีเทน 0)

น้ ามันดีเซลทีม่ เี ลขซีเทน 80 มีสมบัตกิ ารเผาไหม้เช่นเดียวกับเชือ้ เพลิงทีไ่ ด้จากการผสมซี


เทนร้อยละ 80 กับแอลฟาเมทิลแนฟทาลีน ร้อยละ 20 โดยมวล

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 18


2
เชื้อเพลิ งซากดึกดาบรรพ์และผลิ ตภัณฑ์ 2/2554

น้ามันดีเซลเป็นผลิตภัณฑ์น้ ามันทีไ่ ด้จากการกลันล ่ าดับส่วนน้ามันดิบ แบ่งเป็ น 2 ชนิด คือ


ดีเซลหมุนเร็ว หรือโซล่าเหมาะสาหรับเครือ่ งยนต์รอบสูงกว่า 1000 รอบ/นาที และดีเซลหมุนช้า
หรือขีโ้ ล้ เหมาะสาหรับเครือ่ งยนต์ทใ่ี ช้ขบั เคลื่อนเรือเดินทะเล และการผลิตกระแสไฟฟ้า เป็นต้น

2.3.8 ผลิ ตภัณฑ์ที่ได้จากกระบวนการกลันน ่ ้ามันดิ บ


2.3.8.1 ก๊าซปิโตรเลียมเหลว (Liquefied Petroleum Gas ; LPG) ก๊าซปิโตรเลียม
เหลว หรือก๊าซหุงต้ม หรือแอลพีจ ี เป็ นผลิตภัณฑ์ทไ่ี ด้จากส่วนบนสุดของหอกลันในกระบวนการ ่
กลันน่ ้ามัน หรือผลิตภัณฑ์ทไ่ี ด้จากการแยกก๊าซธรรมชาติ ก๊าซปิโตรเลียมเหลวมีจุดเดือดต่ ามาก จะ
มีสภาพเป็ นก๊าซที่อุณหภูมแิ ละความดันบรรยากาศ ดังนัน้ ในการเก็บรักษาก๊าซปิ โตรเลียมเหลว
จะต้องเพิม่ ความดันหรือลดอุณหภูม ิ เพื่อให้ก๊าซปิโตรเลียมเหลวเปลีย่ นสภาพจากก๊าซเป็ นของเหลว
เพื่อความสะดวกและประหยัดในการเก็บรักษา ก๊าซปิโตรเลียมเหลวใช้เป็ นเชือ้ เพลิงได้ดี และเวลา
ลุกไหม้ให้ความร้อนสูง และมีเปลวสะอาดซึง่ โดยปกติจะไม่มสี แี ละกลิน่ แต่ผผู้ ลิตได้ใส่กลิน่ เพื่อให้
สังเกตได้งา่ ยในกรณีทเ่ี กิดมีก๊าซรัวอั
่ นอาจก่อให้เกิดอันตรายได้
2.3.8.2 น้ ามันเบนซิน (Gasolin) น้ ามันเชือ้ เพลิงสาหรับเครื่องยนต์เบนซิน หรือ
เรียกว่าน้ ามันเบนซิน ได้จากการปรับแต่งคุณภาพของผลิตภัณฑ์ทไ่ี ด้จากการกลันน ่ ้ ามันโดยตรง
และจากการแยกก๊าซธรรมชาติเหลว น้ ามันเบนซินจะผสมสารเคมีเพิม่ คุณภาพ เพื่อให้เหมาะกับ
การใช้งานต่างๆ เช่น เติมสาร MTBE เพื่อเพิม่ ค่าออกเทน เติมสารเคมีสาหรับป้องกันสนิมและการ
กัดกร่อนในถังน้ามันและท่อน้ามัน เป็นต้น
2.3.8.3 น้ ามันเชือ้ เพลิงเครื่องบินใบพัด (Aviation Gasoline) ใช้สาหรับเครื่องบิน
ใบพัด มีคุณสมบัตคิ ล้ายกับน้ ามันเบนซินในรถยนต์ แต่ปรุงแต่งคุณภาพให้มคี ่าออกเทนสูงขึน้ ให้
เหมาะสมกับเครือ่ งยนต์ของเครือ่ งบินซึง่ ต้องใช้กาลังขับดันมาก
2.3.8.4 น้ ามันเชือ้ เพลิงเครื่องบินไอพ่น (Jet Fuel) ใช้เป็ นเชือ้ เพลิงไอพ่นของสาย
การบินพาณิชย์เ ป็ นส่ ว นใหญ่ มีช่ว งจุด เดือ ดเช่ นเดียวกับน้ ามันก๊ าดแต่ ต้อ งสะอาดบริสุ ทธิม์ ี
คุณสมบัตบิ างอย่างดีกว่าน้ามันก๊าด
2.3.8.5 น้ามันก๊าด (Kerosene) ประเทศไทยรูจ้ กั ใช้น้ ามันก๊าดตัง้ แต่สมัยรัชกาลที่ 5
แต่เดิมใช้เพื่อจุดตะเกียงแต่ปจั จุบนั ใช้ประโยชน์หลายประการ เช่น เป็นส่วนผสมสาหรับยาฆ่า
แมลง สีทาน้ ามันชักเงา ฯลฯ
2.3.8.6 น้ามันดีเซล (Diesel Fuel) เครื่องยนต์ดเี ซล เป็ นเครื่องยนต์ทม่ี พี น้ื ฐานการ
ทางานแตกต่างจากเครือ่ งยนต์เบนซิน คือ การจุดระเบิดของเครื่องยนต์ดเี ซลใช้ความร้อนซึง่ เกิดขึน้
จากการอัดอากาศอย่างสูงในลูกสูบ มิใช่เป็ นการจุดระเบิดของหัวเทียนเช่นในเครื่องยนต์ทใ่ี ช้น้ ามัน

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 19


2
เชื้อเพลิ งซากดึกดาบรรพ์และผลิ ตภัณฑ์ 2/2554

เบนซิน ปจั จุบนั เราใช้ประโยชน์ ได้หลากหลายมักเป็ นเครื่องมือและอุปกรณ์ท่มี คี วามสาคัญทาง


เศรษฐกิจ เช่น รถบรรทุก รถโดยสาร รถแทรกเตอร์ เป็นต้น
2.3.8.7 น้ ามันเตา (Fuel Oil) น้ ามันเตาเป็ นเชือ้ เพลิงสาหรับเตาต้มหม้อน้ า และ
เตาเผาหรือเตาหลอมทีใ่ ช้ในโรงงานอุตสาหกรรม เครื่องกาเนิดไฟฟ้าขนาดใหญ่ เครื่องยนต์เรือเดิน
สมุทรและอื่นๆ
2.3.8.8 ยางมะตอย (Asphalt) ยางมะตอยเป็ นผลิตภัณฑ์ส่วนทีห่ นักทีส่ ุดทีเ่ หลือ
จากการกลันน่ ้ ามันเชือ้ เพลิง และนายางมะตอยทีผ่ ่านกรรมวิธปี รับปรุงคุณภาพจะได้ยางมะตอยทีม่ ี
คุณสมบัตดิ ขี น้ึ คือ มีความเฉื่อยต่อสารเคมีและไอควันแทบทุกชนิด มีความต้านทานสภาพอากาศ
และแรงกระแทกกระเทือน มีความเหนียวและมีความยืดหยุน่ ตัวต่ออุณหภูมริ ะดับต่าง ๆ ดี

2.3.9 แก๊สธรรมชาติ ในประเทศไทย


ประเทศไทยได้มกี ารสารวจพบแหล่ง แก๊สธรรมชาติ 2 แหล่ง คือ ในทะเลบริเวณอ่าวไทย
และบนบก อาเภอน้ าพอง จังหวัดขอนแก่น ซึง่ นาขึน้ มาใช้ตงั ้ แต่ปี พ.ศ. 2524 โดยการนามาใช้เป็ น
เชือ้ เพลิงในการผลิตกระแสไฟฟ้า และในโรงงานอุตสาหกรรม เพื่อทดแทนการใช้ถ่านหินและน้ ามัน
เตาซึง่ มีราคาสูงและต้องนาเข้าจากต่างประเทศ ซึง่ แต่ละปีมมี ลู ค่ามหาศาล และขณะเดียวกันก็ต้อง
เผชิญความผันผวนของราคาน้ามันตลาดโลกซึง่ เสีย่ งต่อความมันคงด้ ่ านพลังงาน

แก๊สธรรมชาติ ที่ขดุ เจาะในทะเลนัน้ จะแบ่งเป็น 2 ฝงคื ั่ อ


1) ฝงอ่ั ่ าวไทย เป็ นแหล่งก๊าซธรรมชาติทใ่ี หญ่ของไทย ซึง่ จะต่อท่อจากทะเลมาขึน้ ฝงที ั่ ่
อาเภอขนอม และทีจ่ งั หวัดระยอง และ ที่อาเภอบางปะกง และยังสามารถเชือมต่อไปยัง วังน้อย ท่า
หลวง แก่งคอย
ั ่ นดามัน ไทยซือ้ ก๊าซจากพม่า ทีแ่ หล่งยาดานา และ เยดากุน โดยขึน้ ฝงที
2) ฝงอั ั ่ บ่ า้ นอีต่อง
จังหวัดกาญจนบุรจี ากนัน้ ต่อไปยัง จังหวัดราชบุรแี ละเชื่อมต่อกับ วังน้อย พระนครใต้ พระนครเหนือ
ท่าหลวง แก่งคอย กล่าวโดยสรุป แหล่งก๊าซธรรมชาติ ทัง้ ฝงทะวั ั ่ นออก คือฝงอ่
ั ่ าวไทย และฝงั ่
ตะวันตก คือทะเลอันดามัน มีท่อทีส่ ามารถทีจ่ ะเชื่อมติดต่อกัน

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 20


2
เชื้อเพลิ งซากดึกดาบรรพ์และผลิ ตภัณฑ์ 2/2554

รูปที่ 2.12 บริเวณทีม่ กี ารขุดเจาะแก๊สธรรมชาติ


(ทีม่ า:http://hpe4.anamai.moph.go.th/hia/province_mix.php)
แหล่งแก๊สธรรมชาติในไทยมี 51 แหล่ง อยู่บนบก 2 และในทะเลอีก 49 ทัง้ นี้ผลิตได้แล้ว 20
แหล่ง จากบนบก 2 และทะเล 18 โดยมีแท่นประกอบการผลิตในอ่าวไทย 225 แท่นและเรือผลิต/กัก
เก็บอีก 8 ลา เมื่อปี 2550 ไทยผลิตแก๊สธรรมชาติได้ 0.917 ล้านล้านลูกบาศก์ฟุต และมีปริมาณ
สารองแก๊สธรรมชาติในประเทศเมื่อสิน้ ปี 2550 (เบือ้ งต้น) คือ ทีส่ ารวจและพิสูจน์แล้วว่ามีจริง 8.75
ล้านล้านลูกบาศก์ฟุต

2.3.10 การแยกก๊าซธรรมชาติ
กระบวนการแยกก๊าซธรรมชาติ มีกระบวนการดังนี้ (รูปที่ 2.13)
1) จะนาก๊าซธรรมชาติทไ่ี ด้มาเข้าหน่วยกาจัดของเหลวออกก่อน ได้แก่ น้า และก๊าซ
ธรรมชาติเหลว ซึง่ ก๊าซธรรมชาติเหลวทีไ่ ด้กส็ ่งกลับไปยังกระบวนการกลันน
่ ้ามันดิบอีกครัง้ หนึ่ง

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 21


2
เชื้อเพลิ งซากดึกดาบรรพ์และผลิ ตภัณฑ์ 2/2554

2) จากนัน้ ก๊าซทีไ่ ด้กส็ ่งผ่านไปตามท่อไปยังหน่วยกาจัดก๊าซทีเ่ ป็ นกรด เช่น H2S, CO2 เป็ น


ต้น การกาจัดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) โดยใช้กระบวนการ Benfield ซึ่งใช้โปตัสเซียม
คาร์บอเนต (K2CO3) เป็ นตัวจับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ การกาจัดก๊าซ H2S (Claus process)
เกิดปฏิกริ ยิ าดังนี้
2H2S + O2 S2 + 2H2O

3) ไอน้ าทีผ่ สมอยู่ในก๊าซจะนามากาจัดโดยใช้กระบวนการดูดซับ โดยใช้ glycol เป็ นตัวดูด


ซับ (glycol dehydration) และ ใช้สารดูดซับทีม่ รี ูพรุนสูง ได้แก่ ถ่านกัมมันต์, ซิลกิ าเจล, อะลูมนิ า
และ ซีโอไลต์ จะทาการแยกก๊าซผสมโดยใช้ลกั ษณะเฉพาะตัวของสารกับสารดูดซับภายใต้ความดัน
ต่างๆ (Pressure swing adsorption)
4) จากนัน้ ก๊าซทีไ่ ด้นาไปกาจัดปรอททีห่ น่ วยกาจัดปรอทโดยใช้ตวั ดูดซับ เพื่อป้องกันการผุ
กร่อนของท่อจากการรวมตัวกับปรอท
5) ก๊าซไนโตรเจนก็จะถูกกาจัดโดยใช้กระบวนการดูดซับโดยใช้ตวั ดูดซับ
6) ก๊าซธรรมชาติทแ่ี ห้งจากหน่ วยนี้จะผ่านเข้าไปใน turbo-expander เพื่อลดอุณหภูมจิ าก
2500 K เป็ น 1700 K และลดความดันลง จาก 43 บาร์ เป็ น 16 บาร์ก่อนแล้วจึงเข้าสู่หอแยกมีเทน
(de-methanizer) มีเทนจะถูกกลันแยกออกไป่ และส่วนทีเ่ หลือคือส่วนผสมของ ก๊าซไฮโดรคาร์บอน
ทีม่ คี าร์บอนตัง้ แต่ 2 อะตอมขึน้ ไป (ethane plus stream) ซึง่ อยู่ในสถานะของเหลวและจะออกทาง
ส่วนล่างของหอ ผลิตภัณฑ์ทเ่ี ป็ นของเหลวหอดังกล่าวจะถูกนาเข้าสู่หอแยกอีเทน (de-ethanizer)
และหอแยกโพรเพน (de-propanizer) เพื่อแยกอีเทนและโพรเพนออกตามลาดับต่อไป ในหอแยกโพ
รเพนนี้ โพรเพนจะถูกแยกออกทางด้านบนของหอ ส่วนแอลพีจ ี ซึง่ เป็ นส่วนผสมของโพรเพนและบิ
วเทนจะถูกแยกออกมาจากส่วนกลางของหอ และส่วนผลิตภัณฑ์ทอ่ี อกจากหอทางด้านล่างคือ ก๊าซ
โซลีนธรรมชาติ (natural gasoline)

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 22


2
เชื้อเพลิ งซากดึกดาบรรพ์และผลิ ตภัณฑ์ 2/2554

รูปที่ 2.13 กระบวนการแยกก๊าซธรรมชาติ


(ทีม่ า: สานักงานนโยบายและแผนพลังงาน และบริษทั ปตท. จากัด (มหาชน)

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 23


2
เชื้อเพลิ งซากดึกดาบรรพ์และผลิ ตภัณฑ์ 2/2554

2.3.11 ผลิ ตภัณฑ์ที่ได้จากกระบวนการแยกก๊าซธรรมชาติ


1) ก๊าซมีเทน (C1) ใช้เ ป็ นเชื้อ เพลิงผลิต กระแสไฟฟ้ าและให้ค วามร้อ นในโรงงาน
อุตสาหกรรม และหากนาไปอัดใส่ถงั เรียกว่า ก๊าซธรรมชาติอดั สามารถใช้เป็ นเชือ้ เพลิงในรถยนต์ท่ี
ใช้ก๊าซธรรมชาติเป็นเชือ้ เพลิง (NGV) ได้ นอกจากนี้ยงั เป็ นวัตถุดบิ ในการผลิตปุ๋ยเคมีได้ดว้ ย
2) ก๊าซอีเทน (C2) เป็นวัตถุดบิ ในอุตสาหกรรมปิโตรเคมีขนั ้ ต้นเพื่อผลิตเอทิลนี ซึง่ เป็ นสาร
ตัง้ ต้นในการผลิตเม็ดพลาสติก เส้นใยพลาสติกโพลีเ อทิลนี (PE) เพื่อใช้ผลิตเส้นใยพลาสติก และ
ผลิตภัณฑ์พลาสติกชนิดต่างๆ
3) ก๊าซโพรเพน (C3) ใช้ผลิตโพรพิลนี ซึง่ เป็นสารตัง้ ต้นในอุตสาหกรรมปิโตรเคมี เพื่อใช้ใน
การผลิตเม็ดพลาสติกโพลีโพรพิลนี (PP) เช่น ยางในห้องเครื่องยนต์ หม้อแบตเตอรี่ กาว สารเพิม่
คุณภาพน้ามันเครือ่ งรวมทัง้ ใช้เป็นเชือ้ เพลิงในโรงงานอุตสาหกรรมได้อกี ด้วย
4) ก๊าซบิ วเทน (C4) ใช้เป็นวัตถุดบิ ในอุตสาหกรรมปิโตรเคมี และสามารถนามาผสมกับโพ
รเพนอัดใส่ถงั เป็นก๊าซปิโตรเลียม (ก๊าซหุงต้ม) เพื่อนามาใช้เป็ นเชือ้ เพลิงในครัวเรือน เป็ นเชือ้ เพลิง
สาหรับยานยนต์ใช้ในการเชื่อมโลหะ และยังนาไปใช้ในโรงงานอุตสาหกรรมบางประเภทได้ดว้ ย
5) ก๊าซปิ โตรเลียมเหลว (Liquefied Petroleum Gas; LPG)
ก๊าซหุงต้ม มีช่อื เป็นทางการว่า ก๊าซปิโตรเลียมเหลว (liquefied petroleum gas: LPG) หรือ
เรียกย่อๆ ว่า แอลพีจ ี เป็ นผลิตภัณฑ์ทไ่ี ด้จากการแยกน้ ามันดิบในโรงกลันน ่ ้ ามันหรือการแยกก๊าซ
ธรรมชาติ ในโรงแยกก๊าซธรรมชาติ ก๊าซปิโตรเลียมเหลวประกอบด้วยส่วนผสมของไฮโดรคาร์บอน
2 ชนิด คือ โพรเพนและบิวเทน ในอัตราส่วนเท่าใดก็ได้ หรืออาจจะเป็ นโพรเพนบริสุทธิ ์ 100% หรือ
บิวเทนบริสุทธิ ์ 100% ก็ได้ สาหรับในประเทศไทยก๊าซหุงต้มส่วนใหญ่ได้จากโรงแยกก๊าซธรรมชาติ
โดยใช้อตั ราส่วนผสมของโพรเพน และบิวเทนประมาณ 70:30 ซึง่ จะให้ค่าความร้อนทีส่ ูง ทาให้ผใู้ ช้
ประหยัดเวลาและค่าเชือ้ เพลิง
ก๊าซปิ โตรเลียมเหลว สามารถใช้เ ป็ นเชื้อ เพลิงในการหุงต้ม ในครัว เรือ น ในโรงงาน
อุตสาหกรรม และในยานพาหนะได้ เช่นเดียวกับก๊าซธรรมชาติทส่ี ามารถใช้เป็ นเชือ้ เพลิงในการผลิต
กระแสไฟฟ้า ในโรงงานอุตสาหกรรม และในยานพาหนะ แต่ในประเทศไทยยังไม่มกี ารนาก๊าซ
ธรรมชาติมาใช้งานในครัวเรือนโดยตรง ด้วยคุณสมบัตใิ นการเป็ นเชือ้ เพลิงติดไฟของก๊าซธรรมชาติ
และก๊าซหุงต้ม เพื่อความปลอดภัย ผูใ้ ช้ต้องใส่ใจในการปฏิบตั ติ ามกฎความปลอดภัยในการใช้งาน
อย่างเคร่งครัด
คุณสมบัตทิ วไปของ
ั่ LPG
 เป็นสารประกอบไฮโดรคาร์บอน ประกอบด้วยก๊าซโพรเทนและบิวเทน เป็นหลัก
 ไม่มกี ลิน่ ไม่มสี ี ปราศจากพิษ (แต่โดยทัวไปจะเติ
่ มสารเคมีเพื่อความปลอดภัย)
 หนักกว่าอากาศ

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 24


2
เชื้อเพลิ งซากดึกดาบรรพ์และผลิ ตภัณฑ์ 2/2554

 ติดไฟได้ในช่วงของการติดไฟที่ 2–15 % ของปริมาณในอากาศ และอุณหภูมทิ ต่ี ดิ ไฟได้


เองคือ 400 oC
6) ก๊าซโซลีนธรรมชาติ (NGL ; Natural Gas Liquid, C5+) แม้ว่าจะมีการแยกคอนเดน
เสทออกเมื่อผลิตขึน้ มาถึงปากบ่อบนแท่นผลิตแล้ว แต่ก็ยงั มีไฮโดรคาร์บอนบางส่วนหลุดไปกับ
ไฮโดรคาร์บอนที่มสี ถานะเป็ นก๊ าซ เมื่อ ผ่ านกระบวนการแยกจากโรงแยกก๊าซธรรมชาติแล้ว
ไฮโดรคาร์บอนเหลวนี้จะถูกแยกออก และถูกเรียกว่า ก๊าซโซลีนธรรมชาติ หรือ NGL (Natural Gas
Liquid) แล้วส่งเข้าไปยังโรงกลันน
่ ้ ามันเป็ นส่วนผสมของผลิตภัณฑ์น้ ามันสาเร็จรูปได้เช่นเดียวกับ
คอนเดนเสท เป็นวัตถุดบิ ในอุตสาหกรรมปิโตรเคมีระยะที่ 2 (ขัน้ ปลาย) และยังเป็ นตัวทาละลาย ซึง่
นาไปใช้ในอุตสาหกรรมบางประเภทได้เช่นกัน
7) ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) เป็นผลพลอยได้จากกระบวนการแยกก๊าซ ซึง่ สามารถ
นาไปใช้ประโยชน์ได้ห ลากหลาย เช่น เป็ นน้ าแข็งแห้งสาหรับใช้ในอุตสาหกรรมถนอมอาหาร เป็ น
วัตถุดบิ สาหรับในการทาฝนเทียม น้ายาถังดับเพลิง สร้างควันหรือหมอกจาลอง ผลิตภัณฑ์เครื่องดื่ม
เป็นต้น

2.3.12 ปิ โตรเคมีภณ ั ฑ์
ปิ โตรเคมีภ ัณ ฑ์ห มายถึงผลิต ภัณฑ์หรือ สารเคมี ซึ่ง ทาจากวัต ถุ ดิบที่ไ ด้จ ากปิ โตรเลีย ม
นอกจากใช้เป็ นเชื้อเพลิงชนิดต่างๆ แล้ว บางชนิดได้นามาใช้เป็ นวัตถุดบิ ในอุตสาหกรรม ปิ โตร
เคมีภณ ั ฑ์ ได้มาจาก อุตสาหกรรมปิโตรเคมี ซึง่ หมายถึงอุตสาหกรรมทีเ่ กี่ยวข้องกับปิโตรเลียม แบ่ง
ออกได้เป็น 2 ขัน้ ตอน ดังนี้
1) อุตสาหกรรมขัน้ ต้น เป็ นการผลิตสารโมเลกุลเล็กๆ ที่เรียกว่า มอนอเมอร์ โดยใช้
สารประกอบไฮโดรคาร์บอนบางชนิดที่ได้จากการกลันน ่ ้ ามันดิบ หรือ การแยกก๊าซธรรมชาติเป็ น
วัตถุดบิ เช่น การใช้มอนอเมอร์อเี ทน และมอนอเมอร์โพรเพนเป็ นวัตถุดบิ ในการผลิต พอลิเอทิลนี
และ พอลิโพรพิลนี ตามลาดับ ในอุตสาหกรรมขัน้ ต่อเนื่องต่อไป
2) อุตสาหกรรมขัน้ ต่อเนื่ อง เป็นการผลิตสารโมเลกุลใหญ่ทเ่ี รียกว่า พอลิเมอร์ โดยใช้สาร
มอนอเมอร์จากอุตสาหกรรมขัน้ ต้น เป็นวัตถุดบิ ผลิตภัณฑ์ทไ่ี ด้ของ อุตสาหกรรมขัน้ นี้ คือ พลาสติก
ชนิดต่างๆ ยางสังเคราะห์ชนิดต่างๆ วัตถุดบิ ทีใ่ ช้ผลิตเส้นใยสังเคราะห์ วัตถุดบิ สี สารซักล้าง และ
ตัวทาละลายชนิดต่างๆ ผลิตภัณฑ์ทไ่ี ด้จากอุตสาหกรรมขัน้ ต่อเนื่อง จะถูกนาไปใช้เป็ นสารตัง้ ต้นใน
อุ ต สาหกรรมต่ า งๆ ต่ อ ไป เช่ น อุ ต สาหกรรมการผลิต เครื่อ งนุ่ ง ห่ ม ยางรถยนต์ ท่ อ พลาสติก
ถุงพลาสติก ฟิลม์ สี ผงซักฟอก ปุ๋ย เป็ นต้น

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 25


2
เชื้อเพลิ งซากดึกดาบรรพ์และผลิ ตภัณฑ์ 2/2554

รูปที่ 2.14 ขัน้ ตอนในอุตสาหกรรมปิโตรเคมีและการใช้ประโยชน์ (สสวท, 2548)

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 26


2
เชื้อเพลิ งซากดึกดาบรรพ์และผลิ ตภัณฑ์ 2/2554

2.4 พอลิ เมอร์ (Polymer)


ถ้าเรามองไปรอบๆ ตัวจะพบว่าสิง่ ของต่างๆ ประดิษฐ์หรือทาขึน้ ด้วยพอลิเมอร์ไม่ว่าจะเป็ น
ถุงพลาสติก ไม้บรรทัด ยางรถยนต์ กระเบือ้ งยางเป็นต้น คาว่าพอลิเมอร์มาจากภาษากรีกสองคาคือ
poly แปลว่าหลายๆ หรือ มาก และ mer แปลว่าหน่ วยหรือส่วน ดังนัน้ พอลิเมอร์แปลว่าสารที่ม ี
โมเลกุลยาวมาก และโมเลกุลเหล่านี้ประกอบด้วยหน่ วยที่ซ้าๆ กันเป็ นจานวนมาก ตัวอย่างพอลิ
เมอร์ได้แก่ พอลิเอทีลนี พอลิสไตรีน เป็ นต้น และพอลิเมอร์เกิดจากหน่ วยซ้าๆ เรียกว่ามอนอเมอร์
เกิดปฏิกริ ยิ าพอลิเมอไรเซชัน เป็นพอลิเมอร์เกิดขึน้

2.4.1 การจาแนกประเภทของพอลิ เมอร์


ในช่วงแรกพอลิเมอร์ท่เี กิดขึ้นในธรรมชาติหรือจากการสังเคราะห์โดยมนุ ษย์นัน้ จาแนก
ออกเป็ นประเภทใหญ่ๆ สองประเภทคือพอลิเมอร์อนินทรียแ์ ละพอลิเมอร์อนิ ทรีย์ และในปี 1929
Carothers W.H. นักเคมีชาวอเมริกนั ได้สงั เคราะห์ไนลอนขึน้ เป็ นคนแรกได้เสนอว่า พอลิเมอร์
สัง เคราะห์นัน้ แบ่ ง ได้เ ป็ น สองประเภท ตามสภาวะของการเตรีย มพอลิเ มอร์แ ละเปรีย บเทีย บ
โครงสร้างของพอลิเมอร์ทไ่ี ด้กบั สารตัง้ ต้น ดังนี้
1) พอลิ เมอร์แบบควบแน่ น (Condensation polymer) เป็ นพอลิเมอร์ทเ่ี กิดจากปฏิกริ ยิ า
การสังเคราะห์พอลิเมอร์แบบควบแน่ น (Condensation polymerization) ซึง่ พอลิเมอร์ชนิดยชนิดนี้
เกิดจากมอนอเมอร์ท่มี หี มู่ฟงั ก์ชนั มากกว่า 1 หมู่ทาปฏิกิรยิ ากันเกิดเป็ นพอลิเมอร์ และได้สาร
โมเลกุลขนาดเล็ก เช่น น้า แก๊สไฮโดรเจนคลอไรด์ แอมโมเนีย หรือ เมทานอล เป็ นต้น ตัวอย่างเช่น
เอทิลนี ไกลคอล เกิดปฏิกริ ยิ ากับ ไดเมทิลเทเลฟทาเลต เกิดเป็น พอลิเอสเตอร์

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 27


2
เชื้อเพลิ งซากดึกดาบรรพ์และผลิ ตภัณฑ์ 2/2554

2) พอลิ เมอร์แบบเติ ม (Addition polymer) เป็ นพอลิเมอร์ทเ่ี กิดจากปฏิกริ ยิ ารวมตัว การ


เกิดพอลิเมอร์ชนิดนี้เกิดจากมอนอเมอร์ท่ไี ม่อิ่มตัวเกิดปฏิกริ ยิ าพอลิเมอไรเซชันแล้วไม่มโี มเลกุล
เล็กๆ ขาดหายไป ตัวอย่างเช่นพอลิเอทิลนี (polyethalene)

หากจาแนกพอลิเมอร์จากหน่ วยซ้าๆ กันในโซ่พอลิเมอร์อาจจาแนกพอลิเมอร์ออกเป็ น 2


ประเภทคือ โฮโมพอลิเมอร์ (homopolymer) และโคพอลิเมอร์ (copolymer) ดังนี้
ก) โฮโมพอลิ เมอร์ ได้แก่ พอลิเมอร์ซ่งึ ในโซ่พอลิเมอร์มหี น่ วยซ้าๆ กันเพียงชนิดเดียว
เท่านัน้ เช่น พอลิเอทิลนี มีหน่วยซ้าๆ กันคือเอทีลนี

หรือพอลิสไตรีนมีสไตรีนเป็นหน่วยทีซ่ ้าๆ กัน

จะเห็นได้ว่าพอลิเมอร์แบบเติมทีไ่ ด้จากมอนอเมอร์เพียงชนิดเดียวล้วนแต่เป็นโฮโมพอลิเมอร์ทงั ้ สิน้

ข) โคพอลิ เมอร์ ได้แก่ พอลิเ มอร์ซ่งึ ในสายโซ่พอลิเ มอร์มหี น่ ว ยซ้าๆ กัน 2 ชนิดหรือ
มากกว่า 2 ชนิด เช่น พอลิเมอร์ของสไตรีนและไวนิลคลอไรด์มที งั ้ สไตรีนและไวนิลคลอไรด์ในโซ่
ของพอลิเมอร์ดงั นี้

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 28


2
เชื้อเพลิ งซากดึกดาบรรพ์และผลิ ตภัณฑ์ 2/2554

เส้น หมายถึงปลายโครงสร้างมีหน่ วยของมอนอเมอร์ต่อไปเรื่อยๆ โคพอลิเมอร์


อาจมีหน่วยซ้าๆ กันสองชนิดอาจแบ่งตามลักษณะการจัดหน่วยซ้าๆ กันในโมเลกุลได้ออกเป็ น
i) โคพอลิเมอร์แบบซุ่ม (Random copolymer) โคพอลิเมอร์ประเภทนี้มหี น่ วยซ้าๆ กันทัง้
สองชนิดในโซ่พอลิเอมร์อยู่หรือจัดกันอย่างไม่เป็ นระเบียบ ถ้าให้ A และ B เป็ นมอนอเมอร์สามารถ
เขียนโครงสร้างได้ดงั นี้

จะเห็นได้ว่ามอนอเมอร์ A และ B สลับกันอย่างไม่เป็นระเบียบ


ii) โคพอลิเมอร์แบบสลับ (alternating copolymer) โคพอลิเมอร์แบบนี้จะมีมอนอเมอร์ทม่ี ี
หน่วยซ้ากัน 2 ชนิดคือ A และ B สลับกันไปเรือ่ ยๆ ในสายโซ่พอลิเมอร์ดงั นี้

iii) บล็อกโคพอลิเมอร์ (block copolymer) โคพอลิเมอร์ประเภทนี้ม ี A หลายๆ หน่ วยอยู่


เรียงกันเป็นแถวตามด้วย B หลายๆ หน่วยเรียงกันเป็นแถวดังนี้

iv) กร๊าฟต์โคพอลิเมอร์ (Graft copolymer) โคพอลิเมอร์ชนิดนี้มมี อนอเมอร์ A เรียงกันเป็ น


แถวยาวและในระหว่างแถวมีมอนอเมอร์อกี ชนิดหนึ่งคือ B แตกกิง่ ออกมาดังนี้

พอลิเมอร์นอกจากจะจาแนกตามกลไกของการเกิดและตามชนิดของหน่ วยทีซ่ ้าๆ กันในพอ


ลิเมอร์ดงั กล่าวมาแล้ว ยังจาแนกได้อกี วิธหี นึ่งโดยยึดเอาการเปลี่ยนแปลงของพอลิเมอร์เมื่อพอลิ
เมอร์ได้รบั ความร้อน ซึง่ จาแนกพอลิเมอร์เป็น 2 ประเภทดังนี้

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 29


2
เชื้อเพลิ งซากดึกดาบรรพ์และผลิ ตภัณฑ์ 2/2554

ก) เทอร์โมพลาสติ ก (Thermoplastic polymer) พอลิเมอร์ประเภทนี้สามารถหลอมตัว


เมื่อให้ความร้อน แล้วแข็งตัวเมื่อทาให้ เย็นลง การหลอมและการเย็นตัวกระทาได้หลายๆ ครัง้ โดย
โครงสร้างของพอลิเมอร์ไม่มกี ารเปลี่ยนแปลง ซึ่งโครงสร้างดังกล่าวของพอลิเมอร์ชนิดนี้ไม่เป็ น
ร่างแห กล่าวคือไม่มกี ารเชื่อมโยงกันระหว่างโมเลกุลของพอลิเมอร์ ซึง่ พอลิเมอร์ดงั กล่าวจะกล่าวถึง
ในหัวข้อถัดไป
ข) เทอร์โมเซต (Thermoset) พอลิเมอร์ประเภทนี้จะหลอมตัวได้ครัง้ แรกเท่านัน้ หากนามา
หลอมใหม่จะเกิดเสียสภาพขึน้ ซึง่ พอลิเมอร์ชนิดนี้จะเป็นโครงสร้างแบบเชื่อมโยงหรือแบบร่างแห

2.4.2 โครงสร้างของพอลิ เมอร์


พอลิเมอร์โดยทัวไปมี
่ โครงสร้างได้หลายแบบดังนี้
1) พอลิ เมอร์แบบเส้น (linear polymer) พอลิเมอร์ชนิดนี้เกิดจากมอนอเมอร์ทส่ี ร้างพันธะ
โคเวเลนซ์เป็นโซ่ยาว ตัวอย่างพอลิเมอร์ชนิดนี้ได้แก่ พอลิเอทิลนี พอลิโพรพิลนี พอลิไวนิลคลอไรด์
พอลิสไตรีน พอลิอคริโลไนไตรล์ ไนลอน 6, 6 และพอลิเอทิลนี เทเรฟทาเลต พอลิเมอร์ชนิดนี้เป็นโซ่
ตรงทาให้สายโซ่แต่ละเส้นเรียงชิดติดกันแน่ น จึงทาให้พอลิเมอร์ ขุ่น และเหนียว แต่ พอลิสไตรีน
พอลิไวนิลคลอไรด์ มีสายโซ่กงิ่ ยืดออกมาทาให้เกิดการผลักของสายจึงมีความใสกว่า พอลิเอทิลนี

รูปที่ 2.15 ลักษณะของพอลิเมอร์แบบเส้น


(ทีม่ า: http://neon.mems.cmu.edu/cramb/27-100/lab/S00_lab2/Image2.gif)
2) พอลิ เมอร์แบบกิ่ ง (branched polymer) เป็ นพอลิเมอร์สายโซ่ทม่ี กี งิ่ ซึง่ โซ่อาจสัน้ หรือ
ยาวก็ได้ ทาให้สายโซ่พอลิเมอร์ไม่สามารถเรียงตัวชิดติดกันได้ พอลิเมอร์ชนิดนี้จงึ ยืดหยุ่น มีความ
หนาแน่นต่า มีจดุ หลอมเหลวต่ากว่าพอลิเมอร์แบบเส้น

รูปที่ 16 ลักษณะของพอลิเมอร์แบบกิง่
(ทีม่ า: http://neon.mems.cmu.edu/cramb/27-100/lab/S00_lab2/Image2.gif)

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 30


2
เชื้อเพลิ งซากดึกดาบรรพ์และผลิ ตภัณฑ์ 2/2554

3) พอลิ เมอร์แบบร่างแห (network polymer หรือ crossing polymer) เป็ นพอลิเมอร์ท่ี


เกิดจากการเชื่อมโยงระหว่างโซ่พอลิเมอร์ทม่ี โี ครงสร้างแบบเส้นหรือแบบกิง่ ต่อเนื่องกันเป็ นร่างแห
พอลิเมอร์ชนิดนี้หากมีการเชื่อมโยงไม่มากจะมีสมบัตยิ ดื หยุน่ อ่อนต้ว แต่เมื่อมีจานวนพันธะมาก พอ
ลิเมอร์จะแข็งไม่ยดื หยุ่น พอลิเมอร์ชนิดนี้จะมีจุดหลอมเหลวที่สูงเนื่องจากต้องใช้พลังงานในการ
สลายพันธะระหว่างสายโซ่ เมือ่ ขึน้ รูปแล้วไม่สามารถหลอมแล้วขึน้ รูปใหม่ได้

รูปที่ 2.17 ลักษณะของพอลิเมอร์แบบร่างแห


(ทีม่ า: http://neon.mems.cmu.edu/cramb/27-100/lab/S00_lab2/Image2.gif)

พอลิเ มอร์ช นิ ด เดีย วกัน แต่ ม ีโ ครงสร้า งต่ า งกัน จะมีส มบัติต่ า งกัน ซึ่ง หากเราพิจ ารณา
โครงสร้างของของพอลิเมอร์ทม่ี กี ารจัดเรียงตัวในสามมิติ เราสามารถแบ่งออกได้เป็นสามแบบดังนี้
1) แบบไอโซแทกติ ก (isotactic) พอลิเมอร์แบบนี้มหี มู่ R จัดอยู่ขา้ งเดียวกันของระนาบ
ดังนี้

2) แบบซิ นดิ โอแทกติ ก (syndiotactic) พอลิเมอร์แบบนี้มหี มู่ R อยูต่ ่างข้างกันของระนาบ


สลับกันไปตลอดทัง้ โมเลกุลของพอลิเมอร์นนั ้

3) อะแทกติ ก (atactic) พอลิเมอร์แบบอะแทกติกมีหมู่ R จัดสลับกันอย่างไม่เป็นระเบียบ

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 31


2
เชื้อเพลิ งซากดึกดาบรรพ์และผลิ ตภัณฑ์ 2/2554

โดยทัวไปพอลิ
่ เมอร์แบบไอโซแทกติกและซินดิโอแทกติกมีจุดหลอมเหลวสูงกว่า เหนียว
และแข็งแรงกว่าพอลิเมอร์แบบอะแทกติก

2.4.3 พอลิ เมอไรเซชัน (polymerization)


พอลิเมอไรเซชัน คือปฏิกริ ยิ าการเตรียมพอลิเมอร์จากมอนอเมอร์ ซึ่งเป็ นปฏิกริ ยิ าหลักมี
สองประเภทคือ พอลิเมอไรเซชันแบบควบแน่ น (condensation polymerization) และพอลิเมอไรเซ
ชันแบบเติม (addition polymerization)
1) พอลิ เมอไรเซชันแบบเติ ม กลไกทีเ่ กิดปฏิกริ ยิ าอาจเป็ นแบบฟรีเรดิเคิล (free radical)
หรือแบบไอออนิก ก็ได้ โดยปฏิกริ ยิ าจะเกิดแบบลูกโซ่ต่อเนื่องไป ประกอบด้วย 3 ขัน้ ตอนคือ อินนิชิ
เอชัน (initiation) เป็ นขัน้ เริม่ ปฏิกริ ยิ า โปรปาเกชัน (propagation) ซึง่ เป็ นขัน้ ตอนในการเกิดพอลิ
เมอร์ และ เทอร์มเิ นชัน (termination) เป็นขัน้ หยุดปฏิกริ ยิ า
Initiation: สารที่ใช้ในการเริม่ ปฏิกริ ยิ าเรียกว่าอินนิชเิ อเตอร์ (initiator) โดยทัวไปจะใช้
่ สารจาพวก
เปอร์ออกไซด์ เมือ่ ถูกความร้อนหรือแสงจะแตกตัวเป็นเรดิคลั

hหรือ

Propagation: ขัน้ ตอนนี้เกิดพอลิเมอร์อย่างรวดเร็วได้โมเลกุลทีม่ หี น่วยซ้าๆ กัน

Termination: เป็นขัน้ ตอนทีส่ น้ิ สุดการเกิดพอลิเมอร์โดยเกิดโมเลกุลทีเ่ ป็นฟรีเรดิคลั ทาปฏิกริ ยิ ากัน


2) พอลิเมอไรเซชันแบบควบแน่ น การเกิดปฏิรยิ านี้โดยทัวไปใช้ ่ มอนอเมอร์สองชนิดทีม่ หี มู่
ฟงั ก์ชนั ทีส่ ามารถเกิดปฏิกริ ยิ ากันได้ ดังนัน้ กลไกการเกิดปฏิกริ ยิ าจึงไม่แตกต่างไปจากปฏิกริ ยิ าใน
เคมีอนิ ทรีย์

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 32


2
เชื้อเพลิ งซากดึกดาบรรพ์และผลิ ตภัณฑ์ 2/2554

2.4.4 การเรียกชื่อพอลิ เมอร์


พอลิเมอร์โดยทัวไปที
่ ส่ งั เคราะห์ได้นิยมเรียกตามชื่อมอนอเมอร์ทน่ี ามาสังเคราะห์ โดยเติม
คาว่าพอลิ- (poly-) ไว้ขา้ งหน้ า เช่น เอทีลนี เมื่อเกิดพอลิเมอร์จะเรียกว่าพอลิเอทีลนี สไตรีน
เรียกว่าพอลิสไตรีน เป็ นต้น โดยชื่อของพอลิเมอร์ท่มี าจากมอนอเมอร์ท่มี ชี ่อื เพียงคาเดียวให้เขียน
โดยไม่ต้องเว้นวรรค แต่เมื่อพอลิเมอร์ท่มี าจากชื่อมอนอเมอร์เป็ นสองคาหรือมากกว่าสองคาให้ใส่
วงเล็บหลังคาว่า poly- เช่น poly(vinyl chloride) หรือ poly(ethylene oxide) เป็นต้น

2.4.5 พอลิ เมอร์ที่ได้จากปฏิ กิริยาพอลิ เมอไรเซชันแบบควบแน่ น


1) พอลิ เอทิ ลีนเทเรฟทาเลต (poly(ethalene terephthalate); PET) หรือเรียกพอลิ
เมอร์ชนิดนี้ว่า PET เป็ นพอลิเมอร์ทเ่ี กิดจากมอนอเมอร์สองชนิดได้แก่ ไดเมทิลเทเรฟทาเลตกับเอ
ทิลนี ไกลคอล

ปฏิกริ ยิ าที่เกิดขึน้ ของพอลิเมอร์มหี มู่เอสเตอร์เกิดขึน้ บางครัง้ เราจะพบว่าเราเรี ยกพอลิเม


อร์กลุ่มนี้ว่าพอลิเอสเทอร์

รูปที่ 2.18 ตัวอย่างของผลิตภัณฑ์พอลิเอสเทอร์


(ทีม่ า: http://www.vcharkarn.com/uploads/115/115268.jpg)

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 33


2
เชื้อเพลิ งซากดึกดาบรรพ์และผลิ ตภัณฑ์ 2/2554

สมบัติและการใช้ ประโยชน์ : พอลิเมอร์ประเภทนี้เป็ นพอลิเมอร์ทม่ี สี ี เนื่องจากเป็ นพอลิ


เมอร์เชิงเส้นตรงทีม่ กี ารจัดเรียงตัวของหมู่ต่างๆ ค่อนข้างมีระเบียบ และมีแรงดึงดูดระหว่างโมเลกุล
สูง พอลิเมอร์จงึ มีความเป็นผลึกสูง เหนียว ทนต่อความชืน้ และทนต่อการขัดถู พอลิเมอร์ชนิดนี้มกั
นาไปทาเป็นเส้นใย เอ็น แห อวน ทาแผ่นฟิลม์ เทปวีดโี อ และส่วนใหญ่นาไปทาเป็ นขวดน้ าอัดลอม
และน้ าดื่มเนื่องจากเป็ นพอลิเมอร์ท่ไี ม่สามารถดูดน้ าได้ เนื่องจากความใสจึงนาพอลิเมอร์ชนิดนี้ไป
ทาหินอ่อนเทียมและแก้วเทียม
2) พอลิ เอไมด์ (polyamide; PA) โดยทัวไปจะรู ่ จ้ กั พอลิเมอร์ชนิดนี้ในชื่อไนลอน (nylon)
ไนลอนทีส่ าคัญทีน่ ามาผลิตเป็ นสินค้าคือ ไนลอน 6, 6 ซึง่ สังเคราะห์ได้จาก เฮกซะเมทิลนี ไดเอมีน
กับกรดอะดิปิก ดังสมการ

และเส้นใยอีกชนิดนี้ทม่ี บี ทบาทในอุตสาหกรรมคือเส้นใยไยลอน 6 ซึง่ สามารถสังเคราะห์ได้


จากแคโปรแลกแทม (caprolactam) ซึง่ เป็นมอนอเมอร์ทเ่ี ป็นวงดังสมการ

ในการเรียกชื่อพอลิเมอร์ชนิดนี้หากเกิดจากมอนอเมอร์ชนิดเดียว เช่น ไนลอน 6 ไนลอน


10 เป็ นต้น หมายถึงหน่ วยซ้าๆ กันของพอลิเอไมด์ประกอบด้วยโซ่คาร์บอนที่มจี านวนคาร์บอน 6
และ 10 ตามลาดับ ในกรณีทม่ี เี ลข 2 ตัว เช่น ไนลอน 6, 6 เลขตัวแรกหมายถึงหน่ วยซ้าๆ กัน มา
จากไดเอมีน ส่วนเลขตัวหลังมาจากมาจากจานวนคาร์บอนของมอนอเมอร์กรดไดเบซิกเอซีดที่ม ี
จานวนคาร์บอน 6 ในทานองเดียวกันไนลอน 6, 10 หมายถึงพอลิเมอร์ทเ่ี ตรียมได้จากพอลิเอไมด์ท่ี

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 34


2
เชื้อเพลิ งซากดึกดาบรรพ์และผลิ ตภัณฑ์ 2/2554

เตรียมมาจากไดอะมีนทีม่ จี านวนคาร์บอน 6 และไดเบซิกเอซิดทีม่ จี านวนคาร์บอนเท่ากับ 10 เป็ น


ต้น ดังสมการ

สมบัติและการใช้ประโยชน์ : โดยทัวไปไนลอนจะมี
่ สมบัตคิ ล้ายคลึงกัน คือต่างสามารถทน
ต่อแรงกระแทกสูง มีความเหนียว ยืดหยุน่ ทนต่อการสึกกร่อน ทาความสะอาดง่ายและแห้งเร็ว และ
ไม่นาไฟฟ้า การนาไปใช้มกั ทาเป็ นเส้นใยเพื่อทาเครื่องนุ่ งห่ม ชุดชัน้ ใน ถุงน่ อง เครื่องกีฬา เช่น ตา
ข่ายไม้แบดมินตันและไม้เทนนิส เนื่องจากพอลิเมอร์มคี วามเหนียวและทนต่อการสึกกร่อนจึงมัก
นาไปทาเป็ นชิน้ ส่วนเครื่องจักรกล เช่น เกียร์ เฟือง และมีสมบัตอิ กี ประการคือไม่นาไฟฟ้าจึงนาไป
ทาปลอกหุม้ สายไฟฟ้า เป็ นต้น

รูปที่ 19 ตัวอย่างของผลิตภัณฑ์จาพวกเกียร์ ตาข่ายไม้เทนนิส


(ทีม่ า: www.threadart.com/shop/category.asp?catid=63,
http://www.gearseds.com/images/upload/nylon_gear_set.jpg)

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 35


2
เชื้อเพลิ งซากดึกดาบรรพ์และผลิ ตภัณฑ์ 2/2554

3) พอลิ ค าร์บ อเนต (polycarbonate; PC) คือ พอลิเ มอร์ท่ีม ีห มู่ค าร์น อเนต

( ) เป็นส่วนหนึ่งของหน่วยซ้าๆ กันในสายโซ่ พอลิเมอร์ทส่ี าคัญทีส่ ุดในเชิงการค้ามี


เพียงพอลิเมอร์ชนิดเดียวคือ poly[2,2-bis(4’-phynylene)propane carbonate] ซึ่งเตรียมได้จาก
มอนอเมอร์สองชนิดได้แก่ บิสฟีนอลเอ (bisphenol A) กับ ฟอสจีน (phosgene) ดังสมการเคมี

สมบัติและการนาไปใช้ ประโยชน์ : พอลิเมอร์ชนิดนี้มสี มบัตแิ ข็งและโปร่งแสง โดยทัวไป ่


พอลิเมอร์น้มี สี มบัตเิ ชิงกลทีด่ มี าก ดูดความชื้นต่า ทนความร้อนได้ดี ต้านต่อปฏิกริ ยิ าออกซิเดชันได้
ดีมาก จึงเหมาะนาไปใช้สาหรับผลิตวัตถุเพื่อใช้งาน ณ อุณหภูมสิ ูง พอลิเอเมอร์ชนิดนี้ตดิ ไฟแล้วดับ
เองได้
เนื่องจากพอลิเมอร์น้ีมรี าคาค่อนข้างแพง ดังนัน้ การใช้งานจึงมีขอ้ จากัดเฉพาะงานทีต่ ้องใช้
สมบัตเิ ฉพาะของพอลิเมอร์น้ี เพื่อคุม้ ค่ากับราคาของพอลิเมอร์ เช่น ใช้ในอุตสาหกรรมอิเล็ กโทรนิก
เช่น เครือ่ งโทรศัพท์ ทาชิน้ ส่วนแบตเตอรี กล่องบรรจุเครือ่ งมือ ขวดบรรจุน้ าดื่ม ขวดน้ าเด็ก ภาชนะ
ใสทีใ่ ช้แทนเครือ่ งแก้ว

รูปที่ 2.20 ตัวอย่างของผลิตภัณฑ์จาพวกขวดบรรจุน้ าดื่ม

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 36


2
เชื้อเพลิ งซากดึกดาบรรพ์และผลิ ตภัณฑ์ 2/2554

(ทีม่ า: http://www.made-in-china.com/image/2f0j00nBWQrOidSDcFM/Polycarbonate-Sheet
-For-Rain-Tent.jpg,http://www.learntohealthyourself.com/index.php?main_page=

product_info&products_id=141)

4) พอลิ ยูรีเทน (polyurethane; PU) เป็ นพอลิเมอร์ทม่ี หี มู่ยรู เี ทน ( ) เป็ น


หมู่แสดงสมบัตเิ ฉพาะตัวซึง่ หมู่น้ีเกิดจากปฏิกริ ยิ าระหว่างไดไอโซไซยาเนต (diisocyanate) และได
ออล ตัวอย่างมอนอเมอร์ทเ่ี กิดปฏิกริ ยิ าต่อไปนี้คอื 1,4-บิเทนไดออล กับ เฮกซะเมทิลนี ไดไอโซไซ
ยาเนต ดังสมการ

สมบัติและการใช้ ประโยชน์ : พอลิยูรเี ทนมีสมบัตสิ าคัญๆ ได้แก่ ยืดหยุ่น ทนต่อการขีด


ข่วนได้ดี ทนต่อตัวทาละลาย ทนแรงกระแทก การนาไปใช้ขน้ึ อยู่กบั คุณสมบัตขิ องพอลิยรู เี ทนแต่ละ
ประเภทดังนี้
พอลิยรู เี ทนโฟมทีย่ ดื หยุน่ ได้ ส่วนใหญ่ใช้ทาเบาะเฟอร์นิเจอร์และเบาะรถยนต์
พอลิยูรเี ทนโฟมที่ยดื หยุ่นไม่ได้ ส่วนใหญ่ใช้งานเป็ นตัวอินซูเลเตอร์ (Insulator) สาหรับ
ความร้อนในตูเ้ ย็น ในการก่อนสร้าง ภาชนะเก็บความร้อนและเย็นและเป็ นส่วนประกอบของเรือเพื่อ
ลดน้าหนักของเรือ
พอลิยูรเี ทนอิลาสโตเมอร์ ทังไปสามารถทนต่
่ อ แรงเสียดทานได้ดมี าก มีค วามยืดหยุ่นดี
สามารถต่อต้านน้ ามันและตัวทาละลายทังไปได้ ่ ดี พอลิยูรเี ทนชนิดนี้ส่วนใหญ่ใช้ทายางรถยก ล้อ
รถเข็น พืน้ รองเท้า และยางทีท่ นน้ามัน

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 37


2
เชื้อเพลิ งซากดึกดาบรรพ์และผลิ ตภัณฑ์ 2/2554

รูปที่ 2.20 ตัวอย่างของผลิตภัณฑ์


(ทีม่ า: www.germes-online.com/catalog/17/21/761/wheel,
http://i.ehow.com/images/GlobalPhoto/Articles/4598475/80389-main_Full.jpg)

5) พอลิ ฟีนอลฟอร์มาลดี ไฮด์ (poly(phenol formaldehyde); PF) พอลิเมอร์ชนิดนี้


สังเคราะห์ขน้ึ ออกวางตลาดเป็ นครัง้ แรกในราวปี ค.ศ. 1910 โดยแบกแลนด์ ภายใต้ช่อื การค้าว่า เบ
กาไลต์ (bakelite) เป็นพอลิเมอร์สงั เคราะห์ตวั แรกทีผ่ ลิตในเชิงการค้าทีส่ งั เคราะห์จากสารอินทรียท์ ่ี
มีโมเลกุลขนาดเล็ก พอลิเมอร์ชนิดนี้เกิดจากฟีนอลกับฟอร์มาลดีไฮด์ซง่ึ สามารถเกิดเป็ นพอลิเมอร์ท่ี
เป็นร่างแห

สมบัติ แ ละการใช้ ป ระโยชน์ : พอลิเ มอร์ช นิ ด นี้ ม ีส มบัติ แข็ ง เปราะ ทนความร้อ นที่
อุณหภูมสิ งู ทนสารเคมี และเป็ นฉนวนไฟฟ้า มักนาไปทาเป็ นกาวและแผงวงจรไฟฟ้า
6) อะมิ โนพอลิ เมอร์ (aminopolymer) เป็ นเทอร์โมเซต อีกชนิดหนึ่ง เป็ นพอลิเมอร์ท่ี
เตรียมจากปฏิก ริยาระหว่างเอมีนหรือเอไมด์กับแอลดีไฮด์ ที่สาคัญ มีส องชนิดได้แก่ พอลิยู เ รีย
ฟอร์มาลดีไฮด์ (poly(urea formaldehyde); UF) และ พอลิเมลามีน ฟอร์มาลดีไฮด์ (poly(melamine
formaldehyde); MF)
สมบัติและการใช้ประโยชน์ : สาหรับพอลิยเู รียฟอร์มาลดีไฮด์ มีสมบัตแิ ข็ง เปราะ ทน
ความร้อน ทนสารเคมี มักนาไปทาเป็ นแผงวงจรอิเล็กทรอนิก กาว และ โฟม ส่วนพอลิเมลามีน

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 38


2
เชื้อเพลิ งซากดึกดาบรรพ์และผลิ ตภัณฑ์ 2/2554

ฟอร์มาลดีไฮด์ เป็ นพอลิเมอร์ทท่ี นสารเคมี และกันน้าได้ดี นาไปทาเป็ นแผงวงจร เส้นใยผ้าเพื่อกัน


ความร้อน หูหม้อ หูกระทะ ด้ามภาชนะ ถ้วย จาน
2.4.6 พอลิ เมอร์ที่ได้จากปฏิ กิริยาพอลิ เมอไรเซชันแบบเติ ม
1) พอลิ เอทิ ลีน (polyethylene; PE) เป็ นพอลิเ มอร์ท่เี กิดจากเอทิล ีนมอนอเมอร์
เกิดปฏิกริ ยิ าพอลิเมอไรเซชันแบบเติมดังสมการ

พอลิเมอร์ชนิดนี้มอี ยู่สามชนิดได้แก่ Low density polyethylene (LDPE) เป็ นพอลิเอทิลนี ที่


มีโซ่กงิ่ ของ CH2 ทีย่ าวหากมีกงิ่ ก้านสาขามากจะทาให้พอลิเมอร์มคี วามเป็ นผลึกต่ าเพราโอกาสการ
จัดเรียงตัวให้เป็นระเบียบมีน้อย มีสมบัตทิ างกายภาพ จุดหลอมเหลว ความหนาแน่ น ความแข็งแรง
ต่ า จึงทาให้ก ารแพร่ผ่ านของแก๊ ส และความชื้นได้ เกือ บครึ่งหนึ่งของพอลิเมอร์ชนิดนี้ผ ลิต เป็ น
แผ่นฟิ ลม์ ห่ออาหาร ทาถุงพลาสติก ฟ้าปูโต๊ะ ของเล่นเด็ก ฉนวนหุม้ สายไฟ ถุงซิบยา เป็ นต้น high
density polyethylene (HDPE) เป็ นพอลิเมอร์ทเ่ี ป็ นเส้นตรงไม่มโี ซ่กงิ่ หรือมีน้อยมากๆ พอลิเมอร์
ชนิดนี้เป็ นพอลิเมอร์ทม่ี คี วามเป็ นระเบียบมาก เป็ นสาเหตุให้พอลิเมอร์ชนิดนี้มคี วามเป็ นผลึกที่สูง
ความหนาแน่ น และจุด หลอมตัว ก็สูง ความเหนี ย วและความแข็ง แรงสูง การน าไปใช้ส่ ว นใหญ่
นาไปใช้ผ ลิต ขวดพลาสติก ทาสายยาง ทาถุ ง พลาสติกจาพวกถุ งร้อ น และขวดบรรจุเ คมีภณ ั ฑ์
เพราะทนสารเคมี ทนกรดและเบสได้ดี และ Linear low density polyethylene (LLDPE) เป็ นพอลิ
เมอร์ทม่ี โี ซ่กงิ่ ปานกลางมีคุณสมบัตริ ะหว่าง LDPE และ HDPE

รูปที่ 2.21 ตัวอย่างของผลิตภัณฑ์จาพวกขวดบรรจุภณ ั ฑ์


(ทีม่ า: http://www.chemistryland.com/PolymerPlanet/Polymers/LDPEcollagecopy.jpg,
http://gotoknow.org/file/godjul/0005_01.jpg)

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 39


2
เชื้อเพลิ งซากดึกดาบรรพ์และผลิ ตภัณฑ์ 2/2554

2) พอลิ โพรพิ ลีน (polypropylenes; PP) พอลิเมอร์ชนิดนี้เตรียมได้จากทาปฏิกริ ยิ าโดยใช้


ตัวเร่งปฏิกริ ยิ าซึง่ มอนอเมอร์ของพอลิเมอร์ชนิดนี้คอื พอลิโพรพิลนี

สมบัติและการใช้ประโยชน์ : เป็นพอลิเมอร์ทม่ี คี วามเป็นผลึกสูง มีสมบัตเิ ชิงกลดีมาก เช่น


เหนียว แข็งแรงและผิวเป็ นมันวาว น้ าหนักเบา ทนต่อแรงดึง ทนต่อการขีดข่วน เฉื่อยต่อปฏิกริ ยิ า
เคมีทวไป
ั ่ ทนน้า อย่างไรก็ตามเสถียรภาพของพอลิเมอร์ชนิดนี้ต่อความร้อน แสงและตัวออกซิไดซ์
มีน้ อ ยกว่ า พอลิเ อทิล ีน ดัง นั ้น ก่ อ นน าไปใช้ ง าน จึง มีก ารเติ ม ตัว แอนติ อ อกซิแ ดนซ์ แ ละตัว
อัลตราไวโอเลตสเตบิไลเซอร์แต่พอลิเมอร์ชนิดนี้มจี ุดหลอมตัวสูงกว่าพอลิเอทิลนี การนาพอลิเมอร์
ชนิดนี้ไปใช้ได้แก่ ภาชนะบรรจุสารเคมี เช่น หม้อแบตเตอรี่ กระเป๋าเดินทาง เครื่องมือแพทย์ เช่น
กระบอกฉีดยาและเครือ่ งมือในห้องทดลอง ถุงน้าร้อนชนิดขุน่ ทาเป็นชิน้ ส่วนของรถยนต์ เป็นต้น

รูปที่ 2.22 ตัวอย่างของผลิตภัณฑ์ จาพวกเข็มฉีดยา และกระเป๋าเดินทาง


(ทีม่ า: http://www.ellsworth.com/imagelibrary/jpegs/600/LargePics/EA301035.jpg)

3) พอลิ ไวนิ ลคลอไรด์ (poly(vinyl chloride); PVC) พอลิเมอร์ชนิดนี้มคี วามเป็ นผลึกต่ า


มาก จึงเห็นพอลิเมอร์ประเภทนี้ขนุ่ ซึง่ พอลิเมอร์ชนิดนี้เกิดจากไวนิลคลอไรด์มอนอเมอร์

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 40


2
เชื้อเพลิ งซากดึกดาบรรพ์และผลิ ตภัณฑ์ 2/2554

สมบัติและการใช้ ประโยชน์ : เนื่องจากพอลิเมอร์ชนิดนี้มคี ลอรีนอะตอมในโมเลกุล ดังนัน้


เมือ่ PVC ติดไฟแล้วจะดับด้วยตนเองได้ PVC มีสมบัตแิ ข็งแต่เปราะและสลายตัวได้ง่ายเมื่อสัมผัส
ความร้อนและแสง เป็ นพอลิเมอร์ท่ที นต่อความชื้น ทนต่อการกัดแทะของแมลงและไม่เป็ นเชื้อรา
ประมาณหนึ่งในสามของPVCที่ผลิต ทัง้ หมดใช้ทาแผ่ นฟิ ล์ม กระเบื้องปูพ้นื หนังเทียม ผ้ากันน้ า
ฉนวนหุ้มสายไฟ จานแผ่นเสียง และเสื้อกันฝน อย่างไรก็ตาม PVC ไม่เหมาะที่จะนาไปทาเป็ น
ภาชนะบรรจุอาหาร เช่นขวดใส่อาหารหรือใช้ห่ออาหาร เนื่องจากก่อนการนา PVC มาใช้จะใส่สาร
จาพวก แอนติออกซิแดนซ์ พลาสติไซเซอร์ และตัวอัลตราไวโอเลตสเตบิไลเซอร์ เพื่อเพิม่ สมบัตขิ อง
พอลิเมอร์ ซึง่ สารเหล่านี้อาจหลุดปนเปื้อนมากับอาหารได้

รูปที่ 2.23 ตัวอย่างของผลิตภัณฑ์ท่อ PVC


(ทีม่ า: http://www.slpipe.com/images/Bryce%20PVC.jpg)

4) พอลิ เตตระฟลูออโรเอทิ ลีน (polytetrafluoroethylene; PTFE) มีช่อื การค้าว่าเทฟ


ฟลอน (Teflon) พอลิเมอร์ชนิดนีพบโดยบังเอิญโดยนักเคมีชาวอเมริกนั พอลิเมอร์ชนิดนี้สงั เคราะห์
ได้จากเตตระฟลูออโรเอทิลนี มอนอเมอร์

สมบัติและการใช้ ประโยชน์ : พอลิเมอร์ชนิดนี้มสี มบัติพเิ ศษกว่าพอลิเมอร์ประเภทอื่นๆ


สามารถทนทานต่อความร้อนเป็ นพิเศษ มีความเหนียวขณะเดียวกันก็ยดื หยุ่นได้ทอ่ี ุณหภูมติ ่ า ไม่
สามารถละลายได้เลยในตัวทาละลายใดๆ และเฉื่อยต่อปฏิกริ ยิ าเป็ นพิเศษ มีสมบัตเิ ป็ นฉนวนไฟฟ้า
ทีด่ เี ยีย่ ม ตัวพอลิเมอร์เองเป็ นของเหลวสีขาว คล้ายเทียนไข มีผวิ ลื่น โครงสร้างพอลิเมอร์มคี วาม
เป็ นผลึกที่สูง เนื่องจากพอลิเมอร์ชนิดนี้ราคาค่อนข้างแพง การใช้งานจึงจากัด โดยทัวไปมั่ กนาไป

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 41


2
เชื้อเพลิ งซากดึกดาบรรพ์และผลิ ตภัณฑ์ 2/2554

เคลือบผิวภาชนะหุงต้มไม่ให้อาหารติด ทาวงแหวนลูกสูบและลูกปืนในเครือ่ งยนต์ เคลือบสายเคเบิล


สายไฟฟ้า เป็ นต้น

5) พอลิ สไตรีน (polystyrene; PS) พอลิเมอร์ชนิดนี้เตรียมได้จากสไตรีนมอนอ


เมอร์ พอลิสไตรีนเป็ นพอลิเมอร์ท่สี าคัญที่สุดพอลิเมอร์หนึ่งในบรรดาพอลิเมอร์ 3 ชนิดที่ใช้เป็ น
พลาสติก (อีก 2 ชนิดได้แก่พอลิเอทิลนี และพอลิไวนิลคลอไรด์)

สมบัติและการใช้ ประโยชน์ : พอลิสไตรีนมีโครงสร้างสร้างเป็ นแบบอะแทกติก ดังนัน้ จึงไม่


มีความเป็ นผลึกเลย พอลิสไตรีนสามารถละลายในตัวทาละลายนานาชนิด ได้แก่ ตัวทาละลายจะ
พวกอะโรเมติก สมบัตโิ ดนทัวไปของพอลิ
่ เมอร์ชนิดนี้คอื แข็งแต่เปราะ ทนต่อกรดแก่และเบสแก่ ไม่
นาไฟฟ้า ใส โปร่งแสง ผิวเรียบ สมบัตอิ ย่างหนึ่งทีท่ าให้พอลิเมอร์ชนิดนี้ได้รบั ความสนใจคือง่ายต่อ
การขึ้นรูปและแปรรูป การใช้งานของพอลิเ มอร์ชนิดนี้คอื นาไปทาภาชนะบรรจุของที่ใช้แล้วทิ้ง
ชิน้ ส่วนของตูเ้ ย็น ตลับเทป โฟมบรรจุอาหาร ฉนวนสาหรับกระติกน้าร้อน น้าเย็น วัสดุลอยน้า

รูปที่ 2.24 ตัวอย่างของผลิตภัณฑ์จาพวกโฟมบรรจุอาหาร


(ทีม่ า: http://www.promo-mugs.co.uk/acatalog/polystyrene_mug_boxes.jpg)

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 42


2
เชื้อเพลิ งซากดึกดาบรรพ์และผลิ ตภัณฑ์ 2/2554

6) พอเมทิ ลเมทาคริ เลท (poly(methyl methacrylate); PMMA) พอลิเมอร์ชนิดนี้เป็ น


พลาสติกทีเ่ กิดจากเมทิลเมทาคริเลทมอนอเมอร์

สมบัติและการใช้ ประโยชน์ : พอลิเมอร์ชนิดนี้เป็ นพอลิเมอร์ท่โี ปร่งแสง ไม่มสี ี ใสเหมือน


แก้ว ทนต่อแรงอัดและดินฟ้าอากาศดีกว่าพอลิสไตรีนแต่น้อยกว่าแก้ว พอลิเมอร์ชนิดนี้นาไฟ้ฟ้าได้ด ี
ปานกลาง เพราะพอลิเมอร์น้ปี ระกอบด้วยหมู่ทม่ี สี ภาพขัว้ การนาไปใช้ประโยชน์ของพอลิเมอร์ชนิด
นี้คอื ทากระจกครอบไฟ เลนส์แว่นตา วัสดุทนั ตกรรม ไม้บรรทัดชนิดใส

7) พอลิ อะคริ โลไนไตรด์ (polyacrylonitrile; PAN) พอลิเมอร์ชนิดนี้เกิดจากอะคริโลไน


ไตรด์มอนอเมอร์

สมบัติและการใช้ประโยชน์ : สมบัตโิ ดยทัวไปจะแข็


่ ง เหนียว ทนต่อความชืน้ สารเคมี เชือ้
รา ทนต่อสภาพดินฟ้าอากาศ ทนต่อการขีดข่วน มักนาไปทาเป็ นผ้าโอรอน ด้ายสาหรับถักพรมถุง
เท้า เสือ้ ผ้าเด็ก เสือ้ กันหนาว

8) พอลิ ไวนิ ลแอลกอฮอล์ (poly(vinyl alcohol); PVA) พอลิเมอร์ชนิดนี้เป็ นพอลิเมอร์ท่ี


เตรียมจากพอลิเมอร์ชนิดอื่น ไม่ได้เตรียมจากมอนอเมอร์โดยตรง เป็นพอลิเมอร์ทเ่ี ตรียมจากพอลิไว
นิลอะซิเตต

สมบัติและการใช้ ประโยชน์ : สมบัตทิ างกายภาพของพอลิเมอร์ชนิดนี้ขน้ึ อยู่กบั ปริมาณ –


OH เป็ นพอลิเมอร์ท่สี ามารถทนต่อการฉีกขาด มีความเป็ นผลึกที่สูงกว่าและสามารถเกิดพันธะ
ไฮโดรเจนระหว่างโมเลกุลได้ สามารถทนต้านทานต่อตัวทาละลายอินทรียท์ วไปอย่
ั่ างดี พอลิเมอร์ช

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 43


2
เชื้อเพลิ งซากดึกดาบรรพ์และผลิ ตภัณฑ์ 2/2554

นิดนี้มกั ทาเป็ นผ้าที่ใช้แทนฝ้ายได้ เพราะสวมใส่สบาย ซักง่าย แห้งง่าย ทนทานต่ อการสึกกร่อน


และสามารถคงรูปได้เป็นอย่างดี

2.4.7 ผลิ ตภัณฑ์จากพอลิ เมอร์


พอลิเมอร์ท่ไี ด้อาจแบ่งจาแนกตามกรรมวิธผี ลิตและการใช้งาน การจาแนกตามวิธกี ารผลิต
อาจแบ่งได้เป็ น แบบอัดแน่ น หล่อแบบ เปา่ ขึน้ รูป ทาเป็ นฟิลม์ หรือโฟม หรือแบ่งประเภทตามการใช้
งาน เช่น ยาง พลาสติกหรือเส้นใย
1) ยาง มีสมบัตทิ ่ดี นี ัน้ จะต้องสามารถยืดออกได้เป็ นอย่างดี เมื่อรับความเค้นและจะต้อง
สามารถกลับคืนสู่รูปร่างเดิมอย่างรวดเร็ว ยางที่เป็ นพอลิเมอร์ท่สี าคัญของมนุ ษย์ได้แก่ ยางพารา
ยางพาราได้จากการนาน้ ายางสดจากต้นยาง ลักษณะข้นสีขาวคล้ายนม มีสารหลายชนิดผสมอยู่
ด้วย เมื่อปล่อยทิง้ ไว้จะเน่ าบูด การเก็บน้ า ยางนัน้ ทาได้โดยเติมแอมโมเนียลงไปเพื่อเป็ นสารกันบูด
และป้องกันการจับตัวกันเป็ นก้อนของยาง การแยกยางจาน้ ายางทาได้โดยเติมกรดแกซิตกิ หรือกรด
ฟอร์มกิ เจือจาง โดยทัวไปน
่ ้ ายางสดมีเนื้อยางอยู่ประมาณร้อยละ 24 - 45 ทัง้ นี้ขน้ึ อยู่กบั พันธุย์ าง
อายุของต้นยางและฤดูการกรีดยาง เนื้อยางทีไ่ ด้เรียกว่ายางดิบ
โครงสร้างทางเคมีของเนื้อยางประกอบด้วยพอลิไอโซพรีนมอนอเมอร์ ทีเ่ ชื่อมต่อกันในช่วง
1500 ถึง 15000 หน่วย โดยสูตรโครงสร้างของพอลิเมอร์เป็นแบบซิส-พอลิไอโซพรีน

ยางพารา (cis-polyisoprene)

พืชบางชนิดสามารถให้ยางได้ เช่น ต้นยางกัตตา ต้นยางบาราทาและต้นยางชิคเคิล ต้นยาง


ทัง้ สามชนิดเป็นพอลิเมอร์เช่นเดียวกับยางพาราแต่มโี ครงสร้างไม่ใช่ ซิส-พอลิไอโวพรีน ยางมีสมบัติ
สาคัญคือมีความยืดหยุ่นสูง ซึง่ เกิดจากโครงสร้างโมเลกุลทีข่ ดไปมา เป็ นวง โดยมีแรงยึดเหนีย วกัน
ด้วยแรงแวนเดอร์วาลส์ ยางพารามีความต้านทานแรงดึงสูง ทนน้ามัน ทนต่อการขัดถู เป็ นฉนวนทีด่ ี
ทนน้า ทนน้ามันจากพืชและสัตว์ เมื่อได้รบั ความร้อนจะเหนียวและอ่อนตัว แต่จะแข็งและเปราะเมื่อ
ได้รบั ความเย็น

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 44


2
เชื้อเพลิ งซากดึกดาบรรพ์และผลิ ตภัณฑ์ 2/2554

ปี พ.ศ.2382 (ค.ศ.1839) ชาร์ล กูดเยียร์ นักประดิษฐ์ชาวอเมริ กนั ค้นพบว่าเมื่อยางทา


ปฏิกริ ยิ ากับกามะถันในปริมาณเหมาะสม ทีอ่ ุณหภูมกิ ว่าจุดหลอมเหลวของกามะถัน จะทาให้ยางมี
สภาพคงตัวในอุ ณหภูมติ ่างๆ ทนต่อความร้อน แสง และละลายในตัวทาละลายยากขึ้น ซึ่งเรียก
กระบวนการดังกล่าวว่า วัลคาไนเซชัน ปฏิกริ ยิ าทีเ่ กิดขึน้ เป็นดังนี้

รูปที่ 2.25 สมการการเกิดกระบวนการวัลคาไนเซซัน

ยางทีเ่ ติมกามะถันในปริมาณทีเ่ หมาะสม จะเกิดพันธะโคเวเลนต์ของกามะถันเชื่อมต่อ


ระหว่างโซ่พอลิไอโซพรีนในบางตาแหน่ง เมือ่ ได้รบั แรงกระทา สายโซ่จะไม่เลื่อนหลุดออกจากกันได้
ง่าย จึงทาให้ยางมีความยืดหยุน่ คงรูปร่างมากขึน้

รูปที่ 2.26 ตัวอย่างยางทีม่ กี ารเติมกามะถันก่อนทาการยืดและขณะยืด

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 45


2
เชื้อเพลิ งซากดึกดาบรรพ์และผลิ ตภัณฑ์ 2/2554

การเติมซิลกิ า ซิลเิ กต และผงถ่าน ยังช่วยเพิม่ ความแข็งแกร่งให้ยางที่นาไปใช้ผลิตยาง


ของยานยนต์ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ผงถ่านจะช่วยป้องกันการสึกกร่อนและถูกทาลายด้วยแสงแดดได้ด ี
ตัวอย่างผลิตภัณฑ์ทท่ี าจากยางธรรมชาติ ได้แก่ ถุงมือแพทย์ กระเป๋าน้ าร้อน ยางยืด ถุงยางอนามัย
เบ้าหล่อตุ๊กตา ฟองน้าสาหรับทาทีน่ อนและหมอน
ยางสังเคราะห์ มีการผลิตขึน้ มาใช้หลายชนิด เช่น พอลิบวิ ทาไดอีน มีสูตรโครงสร้างพอลิ
เมอร์คอื (–CH2–CH=CH–CH2–)n เป็ นยางสังเคราะห์ชนิดแรกของโลก ผลิตขึน้ ในประเทศเยอรมนี
ในช่วงสงครามโลกครัง้ ที่ 2 เนื่องจากการขาดแคลนยางธรรมชาติโดยใช้มอนอเมอร์คอื บิวทาไดอีน
(CH2=CH–CH=CH2) เมื่อ ผ่ า นกระบวนการวัล คาไนเซชัน แล้ ว มีค วามยืด หยุ่ น น้ อ ยกว่ า ยาง
ธรรมชาติ ใช้ทายางรถยนต์ได้
ยางสังเคราะห์ท่มี สี มบัตเิ หมาะกับการใช้งานในลักษณะต่างๆเช่น พอลิคลอโรพรีนซึ่งเป็ น
พอลิเมอร์มชี ่อื ทางการค้าว่า นีโอพรีน เป็ นพอลิเมอร์ท่สี ลายตัวยาก ทนไฟ มีสมบัตบิ างประการ
ดีกว่ายางธรรมชาติ คือทนต่อสภาพที่ต้องสัม ผัสกับน้ า อากาศและอุณหภูมทิ ่เี ปลี่ยนแปลง น้ ามัน
เบนซินและตัวทาละลายอื่นๆ

นีโอพรีน

ยางเอสบีอาร์หรือยางสไตรีนบิวทาไดอีน เป็ นโคพอลิเมอร์ทไ่ี ด้จากปฏิกริ ยิ าระหว่าง สไต


รีนกับบิว ทาไดอีน ถ้า มีส ไตรีนมากเรีย กว่ าพลาสติก สไตรีน บิว ทาไดอีน ถ้ามีบิว ทาไดอีน มาก
เรียกว่ายางสไตรีนบิวทาไดอีน ใช้เป็ นส่วนผสมในการผลิตยางรถยนต์ มีสมบัตทิ นทานต่อการขัดถู
และเกิดปฏิกริ ยิ ากับออกซิเจนได้ยากกว่ายางธรรมชาติ แต่มคี วามยืดหยุน่ น้อย
วัต ถุ ดิบ ที่ใ ช้ใ นการผลิต ยางสัง เคราะห์ล้ว นได้ม าจากอุ ต สาหกรรมปิ โ ตรเคมี การที่
สถานการณ์ น้ า มัน ของโลกมีค วามแปรปรวนทัง้ ด้า นราคาและปริม าณ จึง มีผ ลต่ อ ราคาและ
อุตสาหกรรมยางกลับมาใช้ยางจากธรรมชาติเป็ นวัตถุดบิ การผลิตผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ เพิม่ มากขึ้น
ปริมาณการใช้ยางธรรมชาติจงึ มีแนวโน้มเพิม่ ขึน้
2) เส้นใย มีสมบัตติ รงข้ามกับยาง เส้นใยทีด่ จี ะต้องไม่แปรรูปง่าย หรือสามารถต่อต้านการ
แปรรูป เมื่อได้รบั แรงเค้น พอลิเมอร์เหล่านี้เกิดขึ้นได้ทงั ้ ในธรรมชาติและจากการสังเคราะห์ ซึ่ง
จาแนกได้ดงั รูป

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 46


2
เชื้อเพลิ งซากดึกดาบรรพ์และผลิ ตภัณฑ์ 2/2554

เส้นใย

เส้นใย เส้นใยกึง่ เส้นใยสังเคราะห์


ธรรมชาติ สังเคราะห์
พอลิเอส อื่นๆ
เซลลูโลส ใยหิน เรยอน เทอร์
พอลิอะคริโล
โปรตีน พอลิเอ ไนไตรด์
ไมด์

รูปที่ 2.27 การจาแนกชนิดของเส้นใย

เส้นใยธรรมชาติท่นี ามาใช้ประโยชน์ อย่างแพร่หลายคือเซลลูโลส ซึ่งได้จากส่วนต่าง ๆ


ของพืช ได้แก่ เส้นใยหุม้ เมล็ดฝ้าย นุ่ น ใยมะพร้าว เส้นใยจากเปลือกไม้ เช่น ลินิน ปอ กัญชา เส้น
ใยจากใบ เช่น สับปะรด ศรนารายณ์ เส้นใยจากฝ้ายเป็ นเซลลูโลสบริสุทธิ ์ นามาใช้ประโยชน์ มาก
ทีส่ ุดถึง 50% ของเส้นใยทัง้ หมด
เส้นใยทีไ่ ด้จากสัตว์เป็ นเส้นใยโปรตีน เช่น ขนแกะ ขนแพะ และเส้นใยจากรังไหม เส้นใย
เหล่านี้มสี มบัตทิ วไปคล้
ั่ ายโปรตีนอื่นๆ คือเมื่อเปียกน้ าจะมีความเหนียวและความแข็งแรงลดลง ถ้า
ถูกแสงแดดเป็นเวลานานจะสลายตัวหรือกรอบ
เส้นใยธรรมชาติบางชนิด เช่น ฝ้าย เมื่อนามาทอเป็ นผ้าเพื่อใช้งานจะเป็ นราได้ง่าย ส่วน
ผ้าไหมจะหดตัวเมือ่ ได้รบั ความร้อนและความชืน้ เส้นใยธรรมชาติบางชนิดต้องผลิตด้วยมือ ถ้าผลิต
ด้ว ยเครื่อ งจัก รจะได้เ ส้นใยที่มคี ุ ณ ภาพไม่ด ีแ ละมีก ารสูญ เสียมาก เช่ น ลินิ น ป่าน มีผู้พยายาม
สังเคราะห์เส้นใยเพื่อทดแทนเส้นใยธรรมชาติ เช่น เซลลูโลสแอซิเตต ซึง่ เป็ นพอลิเมอร์ก่งึ สังเคราะห์
ชนิดแรกที่เตรียมได้จากการนาเซลลูโลสมาทาปฏิกริ ยิ ากับกรดแอซิตกิ เข้มข้น โดยกรดทาหน้าที่
เป็นตัวเร่งปฏิกริ ยิ า
3) พลาสติก พลาสติกทัวไปมี ่ สมบัตอิ ยู่ระหว่างยางและเส้นใย ซึง่ โดยทัวไปมี
่ แรงดึ งดูด
ระหว่างโมเลกุลสูงกว่ายาง แต่ต่ ากว่าของเส้นใย ผลิตภัณฑ์พลาสติก อาจจาแนกตามกรรมวิธผี ลิต
และการใช้งานดังรูป

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 47


2
เชื้อเพลิ งซากดึกดาบรรพ์และผลิ ตภัณฑ์ 2/2554

รูปที่ 2.28 จาแนกตามกรรมวิธผี ลิตและการใช้งานของพลาสติก


(ทีม่ า: หนังสือเรียนสาระการเรียนรูพ้ น้ื ฐานและเพิม่ เติม เคมี เล่ม 5)

การใช้งานของพลาสติ กจาแนกอย่างกว้างๆ ออกไป 2 ประเภทดังนี้


1) พลาสติ กที่ ยืดหยุ่นได้ พลาสติกประเภทนี้มคี วามเป็ นผลึกปานกลางถึงสูง มีความ
ยืดหยุน่ พอลิเมอร์ชนิดนี้ได้แก่ พอลิเอทิลนี พอลิโพรพิลนี พอลิสไตรีน เป็นต้น
2) พลาสติ กแข็งหรือไม่ยืดหยุ่น มีคุณสมบัตแิ ข็งมากและไม่ยดื ตัว สามารถต่อต้านการ
แปรรูปเป็นอย่างดี ตัวอย่างพอลิเมอร์ชนิดนี้ได้แก่ โคพอลิเมอร์ของฟีนอลฟอร์มาลดีไฮด์ และ พอลิยู
เรีย ฟอร์มาลดีไฮด์ เป็นต้น

การใช้งานของพอลิ เมอร์ต่างๆ สามารถแบ่งได้ ดังนี้

ตารางที่ 2.2 การใช้ประโยชน์ของพอลิเมอร์

ยาง พลาสติ ก เส้นใย


Polyisoprene Polyethylene
Polyisobutylene Polytetrafluoroethylene
Copolymer ของ styrene และ Poly(methyl methacrylate)
butadiene
สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 48
2
เชื้อเพลิ งซากดึกดาบรรพ์และผลิ ตภัณฑ์ 2/2554

ยาง พลาสติ ก เส้นใย


Poly(phenol formaldehyde)
Poly(urea formaldehyde)
Poly(melamine formaldehyde)
Polystyrene
Poly(vinyl chloride)
Polyurethane
Polyamide
Polyester
Cellulosics
Polypropylene
Polyacrylonitrile

2.4.7 ความก้าวหน้ าทางเทคโนโลยีของผลิ ตภัณฑ์พอลิ เมอร์สงั เคราะห์


เทคโนโลยีของการผลิตพอลิเมอร์มคี วามก้าวหน้าและพัฒนาขึน้ อย่างรวดเร็ว นับตัง้ แต่การ
เตรียมมอนอเมอร์การเตรียมพอลิเมอร์การศึกษาสมบัตทิ างกายภาพและทางเคมีของพอลิเมอร์ การ
ปรับปรุงสมบัติของพอลิเ มอร์รวมทัง้ การแปรรูปพอลิเ มอร์เ พื่อ ให้ได้ช้นิ งานที่มรี ูปร่างแพร่หลาย
สามารถแปรรูปให้เป็ นชิ้นงานได้หลายรูปแบบการขึ้นรูปชิ้นงานจะใช้วธิ ใี ดขึ้น อยู่กบั ประเภทของ
พลาสติกว่าเป็ นเทอร์มอพลาสติกหรือพลาสติกเทอร์มอเซต นอกจากนี้ยงั มีการเติมสารบางชนิดลง
ไปเพื่อให้พลาสติกมีสมบัตดิ ขี น้ึ เช่น เติมสีให้มคี วามสวยงาม เติมใยแก้วเพื่อเพิม่ ความแข็งแรงและ
ทนต่อแรงกระแทกซึง่ มีช่อื เรียกกันทัวไปว่
่ า ไฟเบอร์กลาส นอกจากนี้ยงั มีการเติมผงแกรไฟต์เพิม่ ให้
มีสมบัตนิ าไฟฟ้าได้ในปจั จุบนั ใช้พอลิเมอร์หลายชนิดทาสารเคลือบผิวของวัสดุต่าง ๆ
การใช้ประโยชน์จากพลาสติกในปจั จุบนั เป็ นไปอย่างกว้างขวาง เช่น ทางการแพทย์ใช้พอ
ลิไวนิลคลอไรด์ผลิตถุงใส่เลือด เส้นเลือดเทียม พอลิสไตรีนใช้ทาหลอดฉีดยา พอลิโ พรลีนใช้ทา
กระดูกเทียม เอ็นเย็บแผล พอลิเอทิลนี ใช้ทาอวัยวะเทียม เช่น ฟนั ปลอม ลิน้ หัวใจ กระเพาะปสั สาวะ
และท่อน้ าดี พอลิเมทิลเมทาคริเลตใช้ทาเลนส์สมั ผัสทัง้ ชนิดแข็งและชนิดอ่อน ซิลโิ คนจัดเป็ นพอลิ
เมอร์อนินทรียท์ ใ่ี ช้ทาแม่พมิ พ์และใช้ในด้านศัลยกรรมตกแต่ง
พอลิเมอร์สงั เคราะห์หลายประเภทนามาใช้เป็ นสารช่วยยึดติดโดยใช้ทงั ้ ในสภาพของแข็ง
และของเหลว เช่น กาวพอลิไวนิลแอซีเตต หรือทีร่ จู้ กั กันดีในชื่อกาวลาเท็กซ์ กาวอะคริลกิ กาวไซ
ยาโนอะคริเลต ทีร่ จู้ กั กันในชื่อของกาวอิพอกซี

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 49


2
เชื้อเพลิ งซากดึกดาบรรพ์และผลิ ตภัณฑ์ 2/2554

โดยทัวไปพอลิ
่ เมอร์มสี มบัตเิ ป็ นฉนวนกันไฟฟ้า แต่มพี อลิเมอร์บางประเภทแสดงสมบัติ
เป็ นสารกึ่งนาหรือนาไฟฟ้าได้ โครงสร้างทางเคมีท่สี าคัญของพอลิเมอร์กลุ่มนี้ได้แก่ อะตอมของ
คาร์บอนต่อ กันอยู่ด้วยพันธะเดี่ยวสลับกับพันธะคู่ หรือมีวงแหวนอะโรมาติก หรือ มีอะตอมของ
กามะถันและไนโตรเจนอยู่ในวงแหวน จึงทาให้มกี ารกระจายของอิเล็กตรอนได้ เช่นเดียวกับโลหะ
ตัวอย่างโครงสร้างของพอลิเมอร์นาไฟฟ้า ได้แก่

ซิส-พอลิอะเซทิลนี ทรานส์-พอลิอะเซทิลนี

พอลิไพรอท พอลิไทโอฟีน พอลิพาราฟีนิลนี

นอกจากนี้ยงั มีการนาพอลิเมอร์มาใช้ในงานก่อสร้างต่าง ๆ เช่น ใช้พอลิสไตรีน –บิวทาได


อีน–สไตรีน (Styrene–Butadiene–Styrene = SBS) ผสมกับยางมะตอยเป็ นวัสดุเชื่อมรอยต่อของ
คอนกรีต เพื่อทาหน้าที่รองรับการขยายตัวของคอนกรีตเมื่อได้รบั ความร้อน ช่วยให้ยางมะตอยไม่
เหลวมากในฤดูรอ้ นและไม่แห้งแตกจนหลุดออกจากรอยต่อในฤดูหนาว
ด้านการเกษตร ใช้พลาสติกพีวซี คี ลุมดินเพื่อช่วยรักษาความชุ่มชื้น และป้องกันการถูก
ทาลายของผิวดินใช้ทาตาข่ายกันแมลงในการปลูกผักปลอดสารพิษ ใช้พอลิเอทิลนี ปูพน้ื ดินทีเ่ ป็ นดิน
ร่วนหรือดินปนทรายเพื่อช่วยให้สามารถกักเก็บน้ าไว้ได้ และยังใช้เม็ดพลาสติกผสมในดินเหนียว
เพื่อช่วยให้ดนิ ร่วนขึน้ ด้วย
โฟม เป็นพลาสติกทีผ่ ่านกระบวนการเติมแก๊สเพื่อทาให้เกิดฟองอากาศจานวนมากแทรก
อยู่ระหว่างเนื้อพลาสติก โฟมชนิดแรกคือฟองน้ ายางซึ่งมีใช้มานานกว่า 60 ปี แล้ว ทาได้โดยผสม
โซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนตกับน้ ายางและให้ความร้อนจะได้ แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์แทรกอยู่ใน

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 50


2
เชื้อเพลิ งซากดึกดาบรรพ์และผลิ ตภัณฑ์ 2/2554

เนื้อยาง จึงทาให้เนื้อยางฟูและเป็นรูพรุน โฟมทุกชนิดจะต้องมีสารทีท่ าให้เกิดโฟม เช่น อากาศหรือ


สารเคมีท่สี ลายให้แก๊สเมื่อได้รบั ความร้อน เพื่อช่วยให้มแี ก๊สแทรกอยู่ในเนื้อโฟม และทาให้โฟมมี
น้ าหนักเบา มีความยืดหยุ่น กันหรือเก็บความร้ อนได้ดี โฟมบางชนิดที่มสี าร Chlorofluorocarbon
(CFC) แทรกอยู่เป็ นฉนวนกันความร้อนและฉนวนไฟฟ้ าที่ด ีมาก จึง นิยมใช้ทาเป็ นกล่ องส าหรับ
บรรจุอาหารต่างๆ เช่น กล่องใส่ไอศกรีม กล่องใส่อาหารร้อน นอกจากนี้ยงั ใช้บุฝาผนังห้องเย็นอีก
ด้วย ในปจั จุบนั ทีท่ ราบแล้วว่าสาร CFC ก่อให้เกิดปรากฏการณ์เรือนกระจก และทาลายแก๊สโอโซน
ในบรรยากาศ จึงมีการศึกษาวิจยั เพื่อใช้สารอื่นทดแทน ซึ่งพบว่าแก๊สเพนเทนและบิวเทนสามารถ
นามาใช้ผลิตโฟมแทน CFC ได้ในปจั จุบนั สามารถผลิตโฟมได้จากพอลิเมอร์หลายชนิด เช่น พีวซี ี
พอลิเอทิลนี และพอลิสไตรีน

2.5 ภาวะมลพิ ษที่เกิ ดจากการผลิ ตและใช้ผลิ ตภัณฑ์จากเชื้อเพลิ งซากดึกดาบรรพ์


การนาเชื้อเพลิงซากดึกดาบรรพ์ขน้ึ มาใช้ ทาให้เกิดการขยายตัวทางด้านอุตสาหกรรมต่าง
ๆ เช่น การกลันน ่ ้ ามันการแยกแก๊สธรรมชาติ การผลิตและการนาปิ โตรเคมีภณ ั ฑ์ไปใช้ การขนส่ง
การทิ้งกากของเสียและขยะของสารที่ใช้แล้ว อุตสาหกรรมเหล่านี้ล้วนมีผลโดยตรงต่อสิง่ แวดล้อม
ทาให้คุ ณ ภาพของอากาศ น้ า และดินเปลี่ยนแปลงไป เกิดอันตรายทัง้ ทางตรงและทางอ้อ มต่ อ
สิง่ มีชวี ติ ภาวะแวดล้อมที่ก่อให้เกิดอันตรายเรียกว่า ภาวะมลพิ ษ และเรียกวารที่ก่อให้เกิดภาวะ
มลพิษว่า สารมลพิ ษ ภาวะมลพิษด้านต่างๆ ที่สาคัญได้แก่ ภาวะมลพิษทางอากาศ ทางน้ า และ
ทางดิน

2.5.1 มลภาวะทางอากาศ
มลพิษทางอากาศมีสาเหตุส่วนใหญ่มาจากการเผาไหม้เชือ้ เพลิงในโรงงานอุตสาหกรรมหรือ
ในเครื่อ งยนต์ของยานพาหนะ การเผาถ่ านหินหรือ เชื้อ เพลิงที่มกี ามะถันและสารประกอบของ
กามะถันเป็นองค์ประกอบ จะมีแก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์เกิดขึน้ เมื่อปะปนมากับน้ าฝนทาให้เกิดเป็ น
ฝนกรด ซึง่ มีผลกระทบต่อการดารงชีวติ ของสัตว์น้า ทาให้สใี บไม้ซดี จางและสังเคราะห์แสงไม่ได้ กัด
กร่อนโลหะและอาคารบ้านเรือน ถ้าร่างกายได้รบั แก๊สนี้จะทาให้เกิดอาการปวดเมื่อยเรือ้ รัง โลหิต
จาง และเป็ นอันตรายต่อระบบทางเดินหายใจและปอด การเผาไหม้เชื้อเพลิง ปิ โตรเลียมอย่างไม่
สมบูรณ์จะได้เขม่าและออกไซด์ของคาร์บอนซึง่ ได้แก่ CO2 และ CO นอกจากนี้ยงั เกิดแก๊สอื่น ๆ อีก
หลายชนิดเช่น SO2 NO2 และ H2S รวมทัง้ เถ้าถ่านทีม่ โี ลหะปริมาณน้อยมากเป็ นองค์ประกอบ
แก๊ ส CO2 จะทาหน้ าที่ค ล้า ยกับผ้า ห่มที่ห่อ หุ้มโลกและกัก เก็บความร้อ นเอาไว้ ทาให้
อุณหภูมขิ องโลกสูงขึน้ ที่เรียกว่าเกิดภาวะเรือนกระจก ซึ่งส่งผลกระทบต่อมนุ ษย์และสิง่ แวดล้อม

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 51


2
เชื้อเพลิ งซากดึกดาบรรพ์และผลิ ตภัณฑ์ 2/2554

อย่างมาก CO2 ในบรรยากาศสามารถอยู่ได้นานเป็ นสิบถึงร้อยปี โดยไม่สูญสลาย ถ้าการเผาไหม้


เกิดขึน้ มาก CO2 ก็จะไปสะสมอยูใ่ นบรรยากาศมากขึน้
ในบริเวณทีม่ ยี วดยานสัญจรไปมาอย่างคับคังหรื ่ อการจราจรติดขัดจะมีปริมาณของแก๊ส CO
สูง แก๊ สชนิดนี้เป็ นแก๊สพิษที่ไม่มสี แี ละกลิน่ จะฟุ้ งกระจายปะปนอยู่ในอากาศ เมื่อหายใจเอาแก๊ส
CO เข้าไป จะรวมกับฮีโมโกลบินในเลือดเกิดเป็ นคาร์บอกซีฮโี มโกลบิน ทาให้เม็ดเลือดแดงไม่
สามารถรับออกซิเจนได้ตามปกติ จะเกิดอาการเวียนศีรษะ หายใจอึดอัด คลื่นไส้อาเจียน ถ้าร่างกาย
ได้รบั เข้าไปมากทันทีอาจทาให้เสียได้
การเผาไหม้ของเชื้อเพลิงในเครื่องยนต์ต่าง ๆ มีไฮโดรคาร์บอนที่เผาไหม้ไม่หมดออกมา
ด้วย โดยเฉพาะไฮโดรคาร์บอนที่โมเลกุลมีพนั ธะคู่จะรวมตัวกับออกซิเจนหรือแก๊สโอโซน เกิดเป็ น
สารประกอบแอลดีไ ฮด์ ซ่ึง มีก ลิ่น เหม็น ท าให้ เ กิ ด อาการระคายเคือ งเมื่อ สู ด ดม นอกจากนี้
ไฮโดรคาร์บอนยังอาจเกิดปฏิกริ ยิ ากับออกซิเจนและไนโตรเจนไดออกไซด์ เกิดสารประกอบเปอร์
ออกซีแอซีติล ไนเตรต (PAN) ซึ่งเป็ นพิษทาให้เกิดการระคายเคืองต่อดวงตาและระบบทางเดิน
หายใจ นอกจากนี้ยงั มีผลต่อพืชโดยทาลายเนื้อเยือ่ ทีใ่ บอีกด้วย

2.5.2 มลภาวะทางน้า
สาเหตุสาคัญประการหนึ่งทีก่ ่อให้เกิดมลพิษทางน้ า คือ การใช้ปิโตรเคมีภณ ั ฑ์ เช่น ปุ๋ยเคมี
สารปราบศัตรูพชื และผงซักฟอก แม้ว่าปุ๋ยเคมีและผลซักฟอกจะไม่เป็ นพิษโดยตรงต่อมนุ ษย์แต่ ก็
เป็นอาหารทีด่ ขี องพืชน้าบางชนิด จากการศึกษาวิจยั น้ าจากแหล่งชุมชนพบว่ามีปริมาณฟอสเฟตสูง
มาก ทัง้ นี้เป็ นเพราะน้ าทิง้ จากอาคารบ้านเรือนมีฟอสเฟตในผลซักฟอกปนอยู่ด้วย สารดังกล่าวจะ
กระตุ้น การเจริญ งอกงามของพืช น้ า ได้ดีแ ละรวดเร็ว เมื่อ พืช น้ า ตาย จุล ิน ทรีย์ใ นน้ า จะต้อ งใช้
ออกซิเจนจานวนมากในการย่อยสลายซากพืชเหล่านัน้ เป็ นเหตุให้ปริมาณออกซิเจนในน้ าลดลง จึง
ทาให้เกิดน้ าเน่ าเสีย สารเคมีและวัตถุมพี ษิ ที่ใช้ในการเกษตรเพื่อเพิม่ ผลผลิตในการเพาะปลูก สาร
ก าจัด แมลงและก าจัดวัชพืช เช่น สารประกอบไนไตรต์แ ละไนเตรต สารประกอบคอลริเ นเตด
ไฮโดรคาร์บอน ออร์แกโนฟอสเฟต คาร์บาเมต เมือ่ ตกค้างอยูใ่ นอากาศหรือดินก็จะถูกน้ าชะล้างลงสู่
แหล่งน้ า ทาให้แหล่งน้ าในบริเวณเกษตรกรรม หรือสายน้ าที่ไหลผ่านมีสารพิษสะสมหรือปะปนอยู่
การจับสัตว์น้าจากแหล่งนี้ในบริเวณนัน้ มาบริโภคก็จะมีโอกาสได้รบั พิษจากสารดังกล่าวด้วย
น้ามันเป็นสารอีกชนิดหนึ่งทีก่ ่อให้เกิดมลพิษทางน้า เมือ่ น้ามันรัวไหลลงสู
่ ่ทะเลหรือแม่น้ าลา
คลองจะเกิดคราบน้ามันลอยอยูท่ ผ่ี วิ น้า คราบน้ามันจะเป็นแผ่นฟิลม์ ปกคลุมผิวน้ าทาให้ออกซิเจนใน
อากาศไม่สามารถละลายลงไปในน้าได้ ทาให้น้าขาดออกซิเจน สัตว์น้ าทีอ่ ยู่ในแหล่งน้ าบริเวณนัน้ ๆ
อาจตายได้ ตามปกติน้าในธรรมชาติจะมีออกซิเจนละลายอยู่ประมาณ 5-7 ส่วนในล้านส่วน ปริมาณ
ออกซิเจนในน้ าหรือ DO (Dissolved Oxygen) จึงมีความสาคัญและจาเป็ นอย่างยิ่งสาหรับการ
ดารงชีวติ ของพืชและสัตว์น้าการบ่งชีค้ ุณภาพของน้ าอาจทาได้ เช่น
สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 52
2
เชื้อเพลิ งซากดึกดาบรรพ์และผลิ ตภัณฑ์ 2/2554

1) หาปริมาณออกซิเจนทีจ่ ุลนิ ทรียต์ ้องใช้ไปในการย่อยสลายสารอินทรียใ์ นน้ า เรียกว่า ค่า


BOD (Biochemical Oxygen Demand) ซึง่ จะบอกถึงปริมาณจุลนิ ทรียท์ ต่ี อ้ งใช้ออกซิเจนในน้า
2) หาปริมาณความต้องการออกซิเจนของสารเคมีทอ่ี ยู่ในน้ า เรียกว่า ค่า COD (Chemical
Oxygen Demand) ซึง่ จะบอกถึงปริมาณของสารเคมีทส่ี ามารถทาปฏิกริ ยิ ากับออกซิเจนในน้า

2.5.3 มลภาวะทางดิ น
ดินเป็ นปจั จัยที่สาคัญประการหนึ่งของสิง่ มีชวี ติ จึงจาเป็ นต้องรักษาดินให้ใช้ประโยชน์ได้
นานทีส่ ุด การกาจัดสารพิษด้วยวิธกี ารฝงั ดินรวมทัง้ การกาจัดขยะมูลฝอยและสิง่ ปฏิกูลต่าง ๆ โดย
การทิง้ บนดิน จะเป็ นสาเหตุทาให้ดนิ มีสภาพไม่เหมาะสมสาหรับการเพาะปลูก และก่อให้เกิดภาวะ
มลพิษทางดิน ปุ๋ยเคมีและสารเคมีทใ่ี ช้ปราบศัตรูพชื ก็เป็ นอีกสาเหตุหนึ่งทีท่ าให้เกิดภาวะมลพิษทาง
ดินได้ เครือ่ งมือเครือ่ งใช้ในชีวติ ประจาวัน เช่น ยางรถยนต์ พลาสติก บรรจุภณ ั ฑ์ ผลิตภัณฑ์เหล่านี้
สลายตัวยาก มีความทนทานต่อน้า แสงแดด และอากาศ จึงตกค้างอยูใ่ นสิง่ แวดล้อมทัง้ ในดินและน้ า
นักวิทยาศาสตร์จงึ คิดค้นวิธกี าจัดพลาสติกทีใ่ ช้แล้ว รวมทัง้ ค้นคว้าเพื่อสังเคราะห์พลาสติกชนิดใหม่
ๆ ทีส่ ามารถใช้งานได้ในช่วงระยะเวลาหนึ่ง หลังจากนัน้ จะเสื่อมสลายไปหรือสังเคราะห์พลาสติกที่
จุลนิ ทรียส์ ามารถย่อยสลายได้ ในปจั จุบนั มีวธิ กี าจัดพลาสติกทีใ่ ช้แล้วหลายวิธดี งั นี้
1) ใช้ ปฏิ กิริยาชี วเคมี เนื่องจากพลาสติกส่วนใหญ่มคี วามทนทานต่อการย่อยสลายของ
เอนไซม์จากจุลนิ ทรีย์ นักวิทยาศาสตร์จงึ ได้ค ิดค้นพลาสติกที่มโี ครงสร้างทางเคมีท่สี ามารถถู ก
ทาลายได้ด้วยเอนไซม์ของจุลนิ ทรียพ์ วกแบคทีเรียและเชือ้ รา ตัวอย่างเช่น เซลลูโลสซานเทต และ
เซลลูโลสแอซีเตต หรือการผสมแป้งข้าวโพดในพอลิเอทิลนี แล้วนามาผลิตวัสดุบรรจุภณ ั ฑ์
2) ใช้ ส มบัติการละลายในน้ า พลาสติกบางชนิด เช่น พอลิไวนิล แอลกอฮอล์ส ามารถ
ละลายในน้ าได้เมื่ออยู่ในสิง่ แวดล้อมที่มคี วามชื้นสูง หรืออยู่ในน้ าซึ่งเป็ นตัวทาละลายในธรรมชาติ
เมือ่ อุณหภูมสิ งู ขึน้ พลาสติกจะละลายได้เพิม่ ขึน้
3) ใช้แสงแดด นักเคมีชาวแคนาดาพบว่าการเติมหมูฟ่ งั ก์ชนั ทีไ่ วต่อแสงอัลตราไวโอเลต
เข้าไปในโซ่พอลิเมอร์ เมือ่ พลาสติกถูกแสงแดดจะเกิดสารทีท่ าปฏิกริ ยิ ากับออกซิเจนในอากาศทาให้
พลาสติกเสื่อมคุณสมบัติ เปราะ แตก และหักง่าย
4) ใช้ความร้อน พลาสติกพวกทีเ่ ป็นสารประกอบไฮโดรคาร์บอน เมือ่ ได้รบั ความร้อนถึง
ระดับหนึ่งจะสลายตัวเป็นโมเลกุลขนาดเล็ก ในทีส่ ุดจะได้คาร์บอนไดออกไซด์กบั น้ าหรือสารอื่นซึง่
เป็นพิษปนออกมาด้วย ทัง้ นี้ขน้ึ อยูก่ บั ชนิดของพลาสติก เช่น พอลิเอทิลนี ติดไฟง่าย พอลิสไตรีนเผา
ไหม้ให้ควันดาและเขม่ามาก ส่วนพอลิเวนิลคลอไรด์ตดิ ไฟยากต้องให้ความร้อนตลอดเวลาและมี
แก๊สไฮโดรเจนคลอไรด์ซง่ึ เป็นแก๊สพิษเกิดขึน้ ด้วย การเผาเป็นวิธกี าจัดพลาสติกทีร่ วมเร็ว แต่ม ี
ข้อเสียคืออาจเกิดสารพิษทีก่ ่อให้เกิดภาวะมลพิษทางอากาศได้

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 53


2
เชื้อเพลิ งซากดึกดาบรรพ์และผลิ ตภัณฑ์ 2/2554

5) นากลับมาใช้ใหม่ พลาสติกประเภทเทอร์มอพลาสติกสามารถนากลับมาใช้ใหม่ได้ โดย


ล้างทาความสะอาดแล้วนาเข้าเครือ่ งตัดเป็ นชิน้ เล็กก่อนเข้าเครือ่ งอัดเม็ด เม็ดพลาสติกทีไ่ ด้จะ
สามารถนาไปหลอมเป็นชิน้ งานได้อกี เช่น นาไปใช้ทาโฟมกันกระแทกในการบรรจุผลิตภัณฑ์ ผสม
ั่
ในซีเมนต์เพื่อให้รบั แรงกระแทก ใช้ถมทีด่ นิ ชายฝงทะเลแล้ วอัดให้แน่ นเพื่อสร้างทีอ่ ยูอ่ าศัย หรืออาจ
นามาอัดให้แน่ นใช้ทาเป็ นอิฐหรือวัสดุก่อสร้างซึง่ เป็นวิธที เ่ี หมาะสมในแง่เศรษฐกิจและเป็นการสงวน
ทรัพยากร

2.7 บรรณานุกรม
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ. (2549) หนังสือเรียน
สาระการเรียนรู้พื้นฐานและเพิ่ มเติ ม เคมี เล่ม 5. พิมพ์ครัง้ ที่ 2; กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุ
สภาลาดพร้าว.
บริษทั อะโรเมติกส์ (ประเทศไทย) จากัด (มหาชน). (2550).สารอะโรมาติ กส์ เฉลิ มพระเกียรติ
ตะวัน สุขน้ อย. พิมพ์ครัง้ ที่ 1. กรุงเทพฯ
สืบค้นออนไลน์จาก http://dnfe5.nfe.go.th/ilp/sunshine/SUN-2.htm
สืบค้นออนไลน์จากhttp://std.kku.ac.th/4930406251/PRODUCTION/
PROCESS_PRODUCTION.htm
สืบค้นออนไลน์จาก http://www.chevronthailand.com/energy.asp
การไฟฟ้าฝา่ ยผลิตแห่งประเทศไทย. (2547). ถ่านหิ น. [ออน-ไลน์]. แหล่งทีม่ า:
http://www.egat.co.th/fuel/lignite/coal.html
______. (2547). การทาเหมืองถ่านหิ น. [ออนไลน์]. แหล่งทีม่ า:
http://www.egat.co.th/fuel/lignite/mining2.html
กรมเชือ้ เพลิงธรรมชาติ. (2547). เทคโนโลยีถ่านหิ นสะอาด. [ออนไลน์]. แหล่งทีม่ า:
htpp://www.dmf.go.th/petro_focus/ coal.diagram.htm.
______. (2547). ปริ มาณสารองถ่านหิ น. [ออนไลน์]. แหล่งทีม่ า:
htpp://www.dmf.go.th/petro_focus/coal.reservation.htm.
Associated Mining Consultants Limited. (2005). Open Pit Mining. [On-line]. Available:
http://www.amcl.ca/images/ verticalimages-4.jpg
Australian Coal Association. (2005). Coal Mining Method. [On-line]. Available:
http://www.australiancoal.com.au/methods.htm

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 54


2
เชื้อเพลิ งซากดึกดาบรรพ์และผลิ ตภัณฑ์ 2/2554

B&E International. (2005). Open Cast Mining. [On-line]. Available:


http://www.bequarries.co.za/opencastmining.gif.
Coal Deposits within the Geological Time-Scale. (2004). Coal. [On-line]. Available:
http://www.cartage.org.lb/en/themes/Sciences/Earthscience/Geology/Coal/TooMuchC
oal/TooMuchCoal.htm
Energy Information Administration. (2004). International Energy Outlook 2004. [On-line].
Available: http://www.eia.doe.gov/oiaf/ieo/index.html.
______. (2004d). Underground Mining. [On-line]. Available:
http://www.eia.doe.gov/coal/mining/underground.html
Kentucky. (2000). Types of Mining. [On-line]. http://www.caer.uky.edu/kdmm/.
The Environment Literacy Council. (2004). Greenhouse Gases. [On-line]. Available:
http://www.enviroliteracy.org/article.php/18.html
World Coal Institute. (2005a). Bituminous Coal. [On-line]. Available:
http://www.wci-coal.com/web/ list.php?menu_id=2.3.3
______. (2005b). Sub-Bituminous Coal. [On-line]. Available:
http://www.wci-coal.com/web/content.php?menu_id=2.3.2
______. (2005c). Coal Uses – Overview. [On-line]. Available:
http://www.wci-coal.com/ web/list.php?menu_id=2.7.1

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 55

You might also like