You are on page 1of 50

กฎของแก๊สและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส

(Gas law and kinetic theory of gas)


นิยามของแก๊สอุดมคติ

• คือแก๊สที่ประกอบด้วยจำนวนโมเลกุลจำนวนมำก ( >1026 ตัวต่อลบ. เมตร) โดยที่โมเลกุลเหล่ำนั้นมีกำร


เคลื่อนที่แบบสุ่มตำมลักษณะที่เรียกว่ำแบบบรำวน์เนียน (Brownian motion) คือมีขนำดและทิศทำงของ
ควำมเร็วไม่แน่นอน

Brownian Motion
นิยามของแก๊สอุดมคติ (ต่อ)

• มีขนำดของแต่ละโมเลกุลเล็กมำก จนถือได้ว่ำปริมำตรแต่ละโมเลกุลน้อยจนเกือบเป็นศูนย์เมื่อเทียบกับ
ปริมำตรของภำชนะที่บรรจุ

• ไม่มีแรงยึดเหนี่ยวระหว่ำงโมเลกุล แต่จะมีแรงกระทำต่อโมเลกุลของแก๊สเมื่อมีกำรชนกันเองหรือชนกับ
ผนังภำชนะ
• กำรชนกันระหว่ำงโมเลกุลนั้น เป็นกำรชนแบบยืดหยุ่น คือไม่มีกำรสูญเสียพลังงำนเลย มีกำรอนุรักษ์ทั้ง
พลังงำนจลน์และโมเมนตัม
• สำหรับระบบที่ประกอบด้วยแก๊สบริสุทธิ์ชนิดหนึ่ง ย่อมแสดงว่ำโมเลกุลของแก๊สดังกล่ำวต่ำงคล้ำยกัน
กฎของแก๊สอุดมคติ
กฎของบอยล์
(Boyle’s law)

Robert Boyle ได้ใช้หลอดรูปตัว J ในกำรวัดปริมำตรของแก๊สที่ควำมดันต่ำง ๆ


เขำวัดปริมำตรอำกำศในหลอดรูปตัว J ตอนเริ่มต้น จำกนั้นเติมปรอทลงไปเพื่อเพิ่มควำมดัน
ของแก๊ส

เขำค้นพบควำมสัมพันธ์ที่แปรผกผันกันระหว่ำงควำมดันกับปริมำตรของแก๊ส
โดยเมื่อเพิ่มควำมดันจะทำให้ปริมำตรของแก๊สลดลง หรือเมื่อเพิ่มปริมำตรจะทำ
ให้ควำมดันของแก๊สลดลง
กฎของบอยล์
(Boyle’s law)

ที่สภำวะอุณหภูมิ (T) และจำนวนโมล (n)


ของแก๊สคงที่

เมื่อลดปริมำตร (V) ของแก๊ส


โมเลกุลของแก๊สจะชนกับพื้นผิวรอบ ๆ มำก
ขึ้น ส่งผลให้ควำมดัน (P) เพิ่มขึ้น
กฎของบอยล์
(Boyle’s law)
กรำฟไฮเปอร์โบลำของ P กับ V

จำกกรำฟสำมำรถเขียนควำมสัมพันธ์ได้ดังนี้
1
Pα หรือ 𝑃𝑉 = 𝐾1 ที่สภาวะ T, n คงที่
V

เนื่องจำก P.V = ค่ำคงที่ ดังนั้น


P1.V1 = P2.V2 = Pn.Vn
กฎของบอยล์
(Boyle’s law)

เมื่อนักดำน้ำ ดำน้ำลงไปทุก ๆ ควำมลึก 10 เมตร ควำมดันจะเพิ่มขึ้น 1 atm


เนื่องจำกน้ำหนักของน้ำที่อยู่รอบ ๆ ตัวนักดำน้ำ ที่ควำมลึก 20 เมตร ควำมดันจะ
เพิ่มขึ้นเป็น 3 atm

คาถาม ถ้ำนักดำน้ำลอยตัวขึ้นสู่ผิวน้ำอย่ำงรวดเร็ว จะเกิดอะไรขึ้นกับปริมำตรของอำกำศภำยในปอด


ตอบ เนื่องจำกควำมดันลดลง 3 เท่ำ จะทำให้ปริมำตรของอำกำศภำยในปอดขยำยตัวเพิ่มขึ้น 3
เท่ำด้วย อำจทำให้อวัยวะภำยได้รับบำดเจ็บได้ดังนั้นควรหำยใจออกถี่ ๆ เวลำลอยตัวขึ้นสู่ผิวน้ำ
กฎของชาร์ลส์
(Charles’s law)

ถ้ำเรำย้ำยบอลลูนจำกอ่ำงน้ำแข็งไปไว้ในอ่ำงน้ำอุ่น ขนำดของบอลลูนจะขยำยตัวอย่ำงรวดเร็ว เนื่องจำกเมื่ออุณหภูมิ


เพิ่มขึ้นส่งผลให้อนุภำคของแก๊สในบอลลูนเกิดกำรเคลื่อนที่เร็วขึ้น ชนกันบ่อยขึ้น แรงที่เกิดจำกกำรชนเพิ่มขึ้น จึงต้องกำร
ใช้พื้นที่ในกำรเคลื่อนตัวเพิ่มมำกขึ้น เพื่อรักษำควำมดันให้คงที่
กฎของชาร์ลส์
(Charles’s law)

ที่สภำวะควำมดัน (P) และจำนวนโมล (n) ของแก๊สคงที่


เมื่อเพิ่มอุณหภูมิ (T) ของแก๊ส
โมเลกุลของแก๊สจะชนกันมำกขึ้นส่งผลให้ปริมำตร (V) เพิ่มขึ้น

V 𝑉
 constant
และเนื ่องจำก = ค่ำคงที่ ดังนั้น
𝑇
จำกรูปสำมำรถเขียนควำมสัมพันธ์ได้ดังนี้ T
V1 V2 V3 VN
𝑉    
V α T หรือ = K2 ที่สภาวะ P, n คงที่ T1 T2 T3 TN
𝑇
กฎของชาร์ลส์
(Charles’s law)

เหตุกำรณ์ใกล้ตัวที่เกี่ยวข้องกับกฎของชำร์ลส์ เช่น กำร


ระเบิดของกระป๋องสเปรย์ที่บรรจุสำรระเหยง่ำยไว้ภำยใน
และถูกวำงไว้ในบริเวณที่อุณหภูมิสูง เช่น ภำยในรถยนต์ที่
ตำกแดดเป็นเวลำนำน จนแก๊สเกิดกำรขยำยตัวอย่ำงรุนแรง
จำกภำพจะเห็นว่ำแรงระเบิดมีควำมรุนแรงเทียบเท่ำแรง
ระเบิดจำกดินปืนเลยทีเดียว
กฎของเกย์-ลูสแซก
Gay-Lussac’s Law

1 atm 2 atm 4 atm


เกย์-ลูสแซก พบว่ำเมื่อปริมำตร (V) และจำนวนโมล
(n) ของแก๊สภำยในภำชนะปิดคงที่
ควำมดัน (P) จะแปรผันตรงกับอุณหภูมิสมั บรูณ์ (T)
ของแก๊ส
T1 < T2 < T3
กฎของเกย์-ลูสแซก
Gay-Lussac’s Law

จำกกรำฟสำมำรถเขียนควำมสัมพันธ์ได้ดังนี้
𝑃
P∝T หรือ = K3
𝑇
Pressure
(atm)
ที่สภำวะ V, n คงที่
𝑃
และเนื่องจำก = ค่ำคงที่ ดังนั้น
𝑇

P1 P2 Pn
Temperature (K)
= =
T1 T2 Tn
ควำมดันของแก๊สแปรผันตรงกับอุณหภูมิของแก๊ส
Avogadro’s law
กฎของอาโวกาโดร

"ที่อุณหภูมิและความดันคงที่ แก๊สที่มีจานวนโมเลกุลเท่ากันจะมีปริมาตรเท่ากัน"
ดังนั้นปริมำตรของแก๊ส จึงสำมำรถบอกถึงจำนวนโมเลกุลและจำนวนโมลของแก๊สได้เช่นกัน
Avogadro’s law
กฎของอาโวกาโดร จำกรูปเมื่ออุณหภูมิ (T) และควำมดัน (P) คงที่
ปริมำตร (V) จะแปรผันตำมจำนวนโมล (n) ของแก๊ส

ซึ่งก่อนหน้ำนี้เรำได้ทรำบมำแล้วว่ำแก๊ส 1 โมล มี
ปริมำตรเท่ำกับ 22.4 L หรือ 22.4 dm3
Avogadro’s law
กฎของอาโวกาโดร

จำกกรำฟสำมำรถเขียนควำมสัมพันธ์ได้ดังนี้
V
V∝n หรือ ที่สภำวะ P, T คงที่
n

V
เนื่องจาก = ค่ำคงที่
n
ดังนั้น
V1 V2 V3
= =
n1 n2 n3
Avogadro’s law
กฎของอาโวกาโดร

ตัวอย่ำงปรำกฏกำรณ์ที่
อธิบำยด้วยกฎของอำโวกำโด

จำกรูป ที่อุณหภูมิและควำมดันเดียวกัน แก๊ส He, O2 และ N2 จะมีปริมำตรและโมลเท่ำกัน


แต่น้ำหนักไม่เท่ำกัน
จะจำยังไงดี ?
Boyle’s Law – Temperature is constant BOTTOM

Charles’ Law – Pressure is constant COPY

Gay-Lussac’s Law – Volume is constant GROOVY


สรุปภาพรวมกฎของแก๊สทั้ง 4 กรณี

กฎของแก๊สอุดมคติ
(Ideal gas law)

กฎของบอยล์ กฎของชารลส์ กฎของเกย์-ลุคแซค กฎของอาร์โวกาโดร


(Boyle’s law) (Charles’s law) (Gay-Lussac’s law) (Avogadro’s law)
สภาวะมาตรฐาน
เนื่องจำกปริมำตรของแก๊สแปรผันตำมควำมดันและอุณหภูมิ ดังนั้นนักเคมีจึงกำหนดสภำวะมำตรฐำนขึ้นมำ
เพื่อให้สำมำรถนำค่ำต่ำง ๆ ที่ได้จำกกำรวัดมำเปรียบเทียบกันได้ ภำยใต้สภำวะเดียวกัน

 สภำวะนี้เรียกว่ำ Standard Temperature and Pressure หรือ STP


Standard pressure = 1 atm = 1.013 x 105 N/m2
Standard temperature = 273 K
 นอกจำกนั้น แก๊ส 1 โมล = 22.4 ลิตร หรือ 22.4 dm3
 ดังนั้นถ้ำในระบบมีแก๊ส n โมล จะมีปริมำตรเท่ำกับ n x 22.4 dm3/mol
หรือ n x 22.4 x 10-3 m3/mol
ค่ำควำมดันในสภำวะมำตรฐำน สำมำรถแปลงหน่วยได้ ดังตำรำงต่อไปนี้

หน่วยมาตรฐานต่าง ๆ ของความดันและการแปลงหน่วย
ปริมำตรของแก๊สต่ำง ๆ ในสภำวะมำตรฐำน
ที่ STP แก๊สทุกชนิดปริมำณ 1 โมล จะมีปริมำตรโดยประมำณ 22.4 ลิตร
ปริมำตรของแก๊สต่ำง ๆ ในสภำวะมำตรฐำน
แม้ว่ำแก๊สทุกชนิดจะมีปริมำตรเท่ำกันที่ STP แต่จะมีมวลต่อโมล (molar mass) ไม่เท่ำกัน
ปริมำตรต่อโมลของแก๊สที่ STP

17 g 40 g 44 g 71 g 38 g 28 g 2g 4g
รวมสมการของแก๊สจากกฎของบอยล์, ชาร์ลส์ และ เกย์-ลูสแซก

กฎของบอยล์ 𝑃𝑉 = 𝐾1
𝑉 เมื่อรวมควำมสัมพันธ์
กฎของชาร์ลส์ = K2 𝑃𝑉
𝑇 จะได้สมกำร = K4
𝑇
กฎของเกย์-ลูสแซก
𝑃
= K3 𝑃 1 𝑉1 𝑃 2 𝑉2
𝑇 หรือ =
𝑇1 𝑇2
รวมสมการของแก๊สจากกฎของบอยล์, ชาร์ลส์ และ เกย์-ลูสแซก

1 atm 2 atm 4 atm

T1 < T2 < T3

𝑃1 𝑉1 𝑃2 𝑉2
=
𝑇1 𝑇2
PV
ดังนั้น เมื่อแทนค่ำ ในสมกำร = K4 ด้วยสภำวะมำตรฐำนดังที่กล่ำวมำ จะได้
T

5 N −3 m3
PV (1.013×10 2 )(n×22.4×10 mol)
m
K4 = =
T 273.15 K

PV N.m
= n(8.30723 )
T mol.K

ด้วยเหตุนี้จึงได้กำหนดค่ำ 8.30723 หรือ 8.31 N.m/mol.K เป็นค่ำคงตัวสำหรับแก๊สทุกชนิด (รวมทั้งแก๊สอุดมคติด้วย)


เรียกว่ำ ค่ำคงที่ของแก๊ส (gas constant) โดยใช้สัญลักษณ์ R ดังนั้นจึงเขียนเป็นสมกำรควำมสัมพันธ์คือ

PV = nRT
จำกสมกำรของแก๊สอุดมคติ PV = nRT
เมื่อ R = gas constant
= ค่ำคงที่แก๊ส มีค่ำ 8.31 N.m/K.mol หรือ 8.31 J/K.mol

และถ้ำกำหนดให้ N = จำนวนโมเลกุลของแก๊ส
NA = Avogadro’s number = 6.021023 อนุภำค/โมล
ดังนั้นจำนวนโมล n = N/NA
เมื่อแทนค่ำ n ดังกล่ำว ลงในสมกำรแก๊สอุดมคติ จะได้สมกำรควำมสัมพันธ์ใหม่คือ

N โดยที่ k B =
R
PV = RT = Nk B T NA
NA ซึ่งค่ำ k B = ค่ำคงที่โบลต์มนั น์ (Boltzmann constant) = 1.3810-23 J/K
ตัวอย่างที่ 1 แก๊สชนิดหนึ่งมีปริมำตร 1.00 m3 อุณหภูมิ 27 °C ควำมดัน 1 atm จงหำปริมำตรของแก๊สจำนวนนี้ที่อุณหภูมิ
127 °C และควำมดัน 2 atm อุณหภูมิลดลงเหลือ 20 °C

จำกโจทย์ที่สภำวะเดิม P1 = 1.013× 105 Pa , T1 = 300 K และ V1 = 1 m3


ที่สภำวะใหม่ P2 = 2×1.013× 105 Pa = 2.026 × 105 Pa , T1 = 400
K
P1 V1 P2 V2
จำกสมกำร =
T1 T2

(1.013×105 Pa)(1 m3 ) (400 K)


เมื่อแทนค่ำเพื่อหำค่ำ V2 จะได้ V2 = ×
(300 K) (2.026×105 Pa)

ดังนั้นแก๊สที่สภำวะใหม่ V2 จะมีค่ำเท่ำกับ V2 = 0.67m3


ตัวอย่างที่ 2 ออกซิเจนในถังหนึ่งมีปริมำตร 40 dm3 ควำมดัน 20 atm และอุณหภูมิ 27 °C ต่อมำแก๊สรั่วจนควำมดัน
ลดลงเหลือ 4 atm และอุณหภูมิลดลงเหลือ 20 °C โดยปริมำตรไม่เปลี่ยนแปลง จงคำนวณว่ำแก๊สรั่วไปกี่กิโลกรัม
(มวลโมเลกุลของแก๊สออกซิเจน = 32 g/mol และ T(K) = T(0C) + 273 )

วิธีทา ก่อนรั่ว P1  20 1.013 105 Pa หลังรั่ว P2  4.0 1.013 105 Pa


T1  273  27  300K T2  273  20  293K
V1  V2  40 103 m3
PV
n1  1 1 
 20 1.013 10 5

N/m 2 40 103 m 3   32.51mol
RT1 8.31J/mol- K  300 K 
จำก PV  nRT
PV
n2  2 2 
 
4.0 1.013  105 N/m 2 40 103 m3   6.66 mol
RT2 8.31J/mol- K  293K 
ดังนั้นแก๊สรั่วไป n1 - n2 = 32.51 - 6.66 = 25.85 mol
g
หรือแก๊สรั่วไปเท่ำกับ (25.85 mol)(32 g/mol) = 827g = 0.827 kg n
M
ตัวอย่างที่ 3 แก๊สปริมำตร 1 𝑚3 ที่สภำวะ STP จะมีจำนวนโมเลกุลเท่ำใด

ที่สภาวะ STP หมายถึง อุณหภูมิ 0°C และความดัน 1 บรรยากาศ หรือ 1.013 × 105 Pa
จำกสมกำร 𝑃𝑉 = 𝑁𝑘𝐵 T
𝑃𝑉
จะได้ N =
kB 𝑇

(1.013×105
N/m2)(1 m3 )
แทนค่า N =
1.38×10−23 J/K (273.15 K)

ดังนัน้ N = 2.69 × 1025 โมเลกุล

แก๊สปริมำตร 1 𝑚3 ที่สภำวะ STP จะมีจำนวนโมเลกุลเท่ำกับ 2.69 × 1025 โมเลกุล


ควำมหนำแน่นของแก๊สที่สภำวะมำตรฐำน

• ควำมหนำแน่น คือ อัตรำส่วนระหว่ำงมวลต่อปริมำตร


• ควำมหนำแน่นของแก๊สนิยมใช้ในหน่วย g/L

มวล
ควำมหนำแน่น =
ปริมาตร
ควำมหนำแน่นของแก๊สที่สภำวะมำตรฐำน

จงคำนวณควำมหนำแน่น
ของแก๊สฮีเลียมและแก๊สไนโตรเจนที่ STP
ควำมหนำแน่นของแก๊สที่สภำวะมำตรฐำน

ควำมหนำแน่นเป็น
สัดส่วนโดยตรงกับ
molar mass
กฎของดาลตันสาหรับความดันย่อย
(Dalton’s law of partial pressure)
กฎของดาลตันสาหรับความดันย่อย
“สำหรับแก๊สผสม ควำมดันของแก๊สแต่ละชนิดขึ้นกับจำนวนโมเลกุลของแก๊สชนิดนั้น”

สมมุติว่ำมีแก๊ส 3 ชนิดมีจำนวนโมเลกุล N1, N2 และ N3 ตำมลำดับแล้วผสมกันได้แก๊สรวมที่มีจำนวนโมเลกุล N


(แก๊สไม่มีปฏิกิริยำต่อกัน) หรือ N = N1 + N2 + N3

N
จำกสมกำร PV = nRT หรือ PV = Nk B T โดยที่ n = และ R = k B NA
NA
จะได้ PV = (N1 + N2 + N3)k B T
N1kB T N2kB T N3kB T
P= + +
V V V ดังนั้นจึงสำมำรถสรุปได้ว่ำ
หรือ P = (P1 + P2 + P3)
ความดันร่วม = ความดันย่อยบวกกัน
กฎของดาลตันสาหรับความดันย่อย

* ควำมดันของแก๊สแต่ละชนิดจะเป็นสัดส่วนกับจำนวนโมลของแก๊ส Pαn

* ควำมดันรวมทั้งหมดจะเป็นผลรวมของควำมดันของแก๊สแต่ละชนิด P = ෍P
i
กฎของดาลตันสาหรับความดันย่อย
สำหรับแก๊สผสมในภำชนะเดียวกันที่อุณหภูมิ T เดียวกัน แก๊สทุกชนิดจะมีปริมำตร V เท่ำกัน
และจำกกฎควำมดันย่อย P = P1 + P2 + P3 + … และจำกสมกำรของแก๊สอุดมคติ PV = nRT จะได้ว่ำ

P1V  n1RT , P2V  n2 RT , P3V  n3 RT , ...

P1V n1 RT P2V n2 RT P3V n3 RT  ni 


 ,  ,  , ... ดังนั้น Pi    P  xP
PV nRT PV nRT PV nRT n

นิยาม เศษส่วนโมล (mole fraction) x ของแก๊สใด ๆ หมำยถึงอัตรำส่วนเชิงโมล


ของแก๊สชนิดนั้นเทียบกับจำนวนโมลทั้งหมดของแก๊สผสม
กฎของดาลตันสาหรับความดันย่อย
ตัวอย่างที่ 4 ถัง A บรรจุ O2 ความดัน 1 atm ถัง B บรรจุ H2 ความดัน 2 atm และถัง C บรรจุ N2 ความดัน 3 atm
เมื่อนาถังแก๊สทั้งสามถังมาต่อเข้าด้วยกัน ความดันรวมจะเป็นเท่าใด ถ้าปริมาตร A = 2 litre , B = 3 litre และ C = 5
litre (ในการผสมอุณหภูมิคงที)่

วิธีทา จำนวนโมเลกุลหลังผสม = ก่อนผสม n = nA + nB + nC

PAVA
ถัง A, nA 
RTA
PBVB
จำกสมกำร ถัง B, nB 
RTB
PV = nRT PCVC
ถัง C, nC 
RTC
PV
โมลรวม n
RT
PV PA VA PB VB PC VC
จำกสมกำร n = nA + nB + nC แทนค่ำจำกสมกำรจะได้ RT
=
RTA
+
RTB
+
RTC

PV PA VA + PB VB + PC VC
โดยที่ T = TA = TB = TC ทำให้ได้ =
RT RT

PA VA + PB VB + PC VC
และจำก V = VA + VB + VC ดังนั้น P=
VA + V B + Vc

(1)(2)+(2)(3)+(3)(5)
P= = 2.3 atm ตอบ
2+3+5
ตัวอย่างเหตุการณ์ในชีวิตประจาวันที่เกี่ยวข้องกับเรือ่ งของความดันย่อย

• บริเวณที่สูงกว่าระดับน้าทะเลมาก ๆ ความดันย่อยของ O2 จะมีค่าน้อยกว่า 40 torr การหายใจจะติดขัด

• บริเวณที่ลึกลงไปใต้ทะเลถ้าความดันย่อยของ O2 มากกว่าหรือเท่ากับ 2 บรรยากาศจะทาให้เกิดอาการชักหรือ


โคม่าได้

• ถ้าความดันย่อยของ N2 มากกว่าหรือเท่ากับ 3.9 บรรยากาศจะทาให้แก๊สไนโตรเจนเป็นพิษ (Nitrogen narcosis)


ทาให้เกิดอาการมึนงงไม่มีสติ ดังนั้นในการดาน้าลึก ถังอากาศจะผสมระหว่าง He 97% กับ O2 3% แทนการใช้
N2 และหัวควบคุมแก๊สจะปรับให้แก๊สที่ใช้หายใจมีความดันเท่ากับความดันสมบูรณ์ที่กดตัวนักดาน้าเสมอ
ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส (Kinetic theory of gas)
ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส (Kinetic theory of gas)

“เป็นการศึกษาการเคลื่อนที่ของแก๊สแต่ละโมเลกุล”
อ้ำงอิงจำกสมมติฐำนแบบจำลองแก๊สอุดมคติ
1. เป็นทรงกลมขนำดเล็ก
2. แก๊สประกอบด้วยอนุภำคจำนวนมำกที่มีขนำดเล็กมำก จนถือได้ว่ำอนุภำคของแก๊สไม่มี
ปริมำตรเมื่อเทียบกับขนำดภำชนะที่บรรจุ โมเลกุลของแก๊สอยู่ห่ำงกันมำก ทำให้แรงดึงดูด
และแรงผลักระหว่ำงโมเลกุลน้อยมำก จนถือได้ว่ำไม่มีแรงกระทำต่อกัน
3. โมเลกุลของแก๊สเคลื่อนที่อย่ำงรวดเร็วในแนวเส้นตรง เป็นอิสระ ด้วยอัตรำเร็วคงที่ และ
ไม่เป็นระเบียบ เมื่อชนผนังภำชนะก็จะเปลี่ยนทิศทำงและอัตรำเร็ว
ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส (Kinetic theory of gas)

4. โมเลกุลเคลื่อนที่ตลอดเวลำแบบสุ่ม ตำมลักษณะแบบ Brownian motion โดยมีทิศทำงและควำมเร็วต่ำงกัน


5. กำรชนกันระหว่ำงโมเลกุลเป็นแบบยืดหยุ่นสมบูรณ์ (KEก่อน = KEหลัง)
6. โมเลกุลของแก๊สที่ชนกันเองหรือชนกับผนังภำชนะจะเกิดกำรถ่ำยโอนพลังงำนให้แก่กันได้ แต่พลังงำนรวมของระบบ
คงที่ ณ อุณหภูมิเดียวกัน โมเลกุลของแก๊สแต่ละโมเลกุลเคลื่อนที่ด้วยอัตรำเร็วไม่เท่ำกัน แต่จะมีพลังงำนจลน์เฉลี่ยเท่ำกัน
โดยที่ พลังงานจลน์เฉลี่ยของแก๊สจะแปรผันตรงกับอุณหภูมิเคลวิน

“ด้วยเหตุที่โมเลกุลแก๊สเคลื่อนที่ด้วยอัตรำเร็วสูง และแรงยึดเหนี่ยวระหว่ำงโมเลกุลแก๊สแทบจะไม่มีเลย
พลังงำนของโมเลกุลจึงอยู่ในรูปของ “พลังงำนจลน์” (Kinetic energy, KE) เพียงอย่ำงเดียว”
แก๊สโมเลกุลอะตอมเดี่ยว ตัวอย่างแก๊สโมเลกุลอะตอมเดี่ยวที่มักพบ เช่น He, Ne หรือ Ar เป็นต้น
ใช้อธิบำยได้เฉพำะแก๊สอะตอมเดี่ยว โมเลกุลของแก๊สมีลักษณะเป็นจุด
โดยคิดเฉพำะกำรเคลื่อนที่ (translation motion) 3 แกน คือ แกน x, y และ z
หรือเรียกว่ำมีองศำควำมเป็นอิสระ (degree of freedom: D) เท่ำกับ 3
1
แต่ละองศำควำมเป็นอิสระมีพลังงำน = k T
2 B

ดังนั้นพลังงำนจลน์เฉลี่ยใน 3 ทิศทำง 3
ของแก๊สโมเลกุลอะตอมเดี่ยวจึงเป็น KE = kBT
2

kB = ค่ำคงที่ของโบลต์ซมันน์ (Boltzmann constant) = 1.38 × 10-23 J/K


* จำกสมกำรพลังงำนจลน์เฉลีย่ จะพบว่ำ พลังงำนจลน์จะแปรผันตรงกับอุณหภูมิ
แก๊สโมเลกุลอะตอมคู่ สำหรับแก๊สโมเลกุลคู่ (diatomic gas) เช่น H2 : จะมีรูปร่ำงคล้ำย dumbbell

กำรเคลื่อนที่จะมี 3 ลักษณะ 1. กำรเคลื่อนที่ : Translation motion (3 แนว)


2. กำรหมุน : Rotation motion (2 แนว)
3. กำรสั่น : Vibration motion (2 แนว)
จำกแนวทำงกำรเคลื่อนที่จึงทำให้โมเลกุล
ลักษณะนี้มี องศำควำมเป็นอิสระ
(degree of freedom: D) เท่ำกับ 7

ดังนั้นพลังงำนจลน์เฉลี่ยใน 7 ทิศทำง 7
ของแก๊สโมเลกุลอะตอมคู่จึงเป็น KE = k B T
2
ดังนั้นโมเลกุลที่มี degree of freedom = D จะมีสมกำรควำมสัมพันธ์คือ KE = D k B T
2
ถ้ำระบบมี N โมเลกุล KE รวม จะถูกเรียกว่ำ พลังงานภายในของระบบ = U
D
นั่นคือ U= N. KE =
2
k B TN หรือ U = D2 nRT
แสดงว่ำถ้ำ T = คงที่  T = 0 ดังนั้น U คงที่ด้วย  U = 0
ในควำมเป็นจริง แก๊สโมเลกุลอะตอมคู่ทั่วในอำจจะไม่มีกำรเคลื่อนในบำงลักษณะ เช่น กำรสั่น
(ยกเว้นอุณหภูมิจะสูงมำก ๆ) จึงอำจจะตัดควำมเป็นไปได้ในกำรเคลื่อนที่แนวกำรสั่นออกไปได้ ทำให้
แก๊สโมเลกุลอะตอมคู่มีค่ำ degree of freedom เท่ำกับ 5 ส่งผลให้สมกำรค่ำเฉลี่ยพลังงำนจลน์อำจ
เท่ำกับ
5 5
KE = k B T
2
หรือ U = RT
2
จำกทฤษฎีจลน์ในกำรเคลื่อนที่ของอะตอมแก๊สทั้งแบบเดี่ยวหรือคู่ ซึ่งเป็นกำรเคลื่อนที่พร้อม ๆ กันในหลำยทิศทำง ดังนั้น
ในกำรคำนวณควำมเร็วเคลื่อนที่ของอะตอม ต้องใช้วิธีกำรเฉลี่ยในทุกทิศทำง ซึ่งควำมเร็วเฉลี่ยนี้ถูกกำหนดในนำมของ
Vrms (Root mean square velocity) ซึ่งมีสูตรในกำรคำนวณได้ดังนี้

3kBT 3RT
Vrms = ഥ2 =
V =
m M

โดยที่
kB ค่ำคงที่ของโบลต์ซมันน์ (Boltzmann constant) = 1.38 × 10-23 J/K
T อุณหภูมิ (K)
m มวลของโมเลกุล (kg)
M น้ำหนักโมเลกุล (g/mol)
ตัวอย่างที่ 5 ค่ำอัตรำเร็วรำกที่สองเฉลี่ยของโมเลกุลไฮโดรเจน ณ อุณหภูมิ 300 K เป็นเท่ำใด
กำหนดมวลของโมเลกุลไฮโดรเจน 1.67 x 10-27 kg

วิธีทา แก๊สไฮโดรเจนถือเป็นแก๊สโมเลกุลอะตอมคู่

3kBT
จำกสมกำร Vrms =
m

โดยมวลของโมเลกุลแก๊สไฮโดรเจน (m) = 2 x (1.67 x 10-27) kg


1
3 × (1.38 × 10−23 ) × 300 2
ดังนั้น Vrms =
2 × (1.67 × 10−27 )

Vrms = 1,928 m/s


ตัวอย่างที่ 6 จงหำ vrms ของโมเลกุลของแก๊ส He ที่อุณหภูมิ 300 K

วิธีทา 3kBT 3RT


สำหรับแก๊สอะตอมเดี่ยวเรำทรำบว่ำ Vrms = m
=
M

เมื่อ m = มวลของ 1 อะตอม แต่ M = มวลโมเลกุล ซึ่ง MHe = 2 g/mol

แทนค่ำ Vrms = 3RT


=
3(8.31 J/K.mol)(300K)
= 1,933.8 m/s
M 2×10−3 kg/mol
ตัวอย่างที่ 7 จงหำพลังงำนจลน์เฉลี่ยของแก๊สโมเลกุลอะตอมเดี่ยวที่อุณหภูมิ 303 K

3
จำกสมกำร KE = k T
2 B

3
แทนค่ำ KE = (1.38 × 10−23 J/K)(303 K)
2

ดังนั้น KE = 6.275 × 10−21 J

You might also like