You are on page 1of 47

จลนศาสตร์เคมี (Chemical Kinetics) 2

1
ผลล ัพธ์การเรียนรู ้ (Intended Learning Outcomes)
ึ ษาจะสามารถ
นักศก

o อธิบายทฤษฎีเกีย ่ วกับจลนศาสตร์เคมีได ้
o ประยุกต์ใชปั้ จจัยทีม่ ผ
ี ลต่ออัตราการเกิดปฏิกริ ย
ิ าเคมีได ้
o เขียนกลไกการเกิดปฏิกริ ย ิ าเคมีได ้

2
Outline
o บทนา (ทบทวนจลนศาสตร์เคมี)
o ทฤษฏีเกีย ิ น
่ วกับจลนศาสตร์เคมี (การชน สภาวะแทรนซช ั )
o พลังงานก่อกัมมันต์
o ปั จจัยทีม
่ ผี ลต่ออัตราการเกิดปฏิกริ ย
ิ าเคมี
o กลไกการเกิดปฏิกริ ย ิ าเคมี

3
จลนศาสตร์เคมี
คืออะไร?

การศก ึ ษาอ ัตราการเกิดปฏิกริ ย ิ า


ของปฏิกริ ย ิ าหนึง่ ๆ
ซงึ่ จะทาให้ทราบถึงความเร็ว
ในการเกิดปฏิกริ ย ิ านน
ั้ ๆ
หรือบอกขนตอนการด
ั้ าเนินไปของ
ปฏิกริ ยิ าจนได้ผลิตภ ัณฑ์สด ุ ท้าย

4
อ ัตราการเกิดปฏิกริ ย
ิ าเคมี (Reaction rate)
คือ การวัดการเปลีย
่ นแปลงความเข ้มข ้นของสารเมือ
่ ปฏิกริ ย
ิ า
ดาเนินไปเทียบกับเวลา
การวัดอัตราการเกิดปฏิกริ ย
ิ าจะเป็ นการวัดการเปลีย
่ นแปลงของ
จานวนโมลของสารตัง้ ต ้นทีล ่ ดลงต่อหน่วยเวลา
หรือจานวนโมลของสารผลิตภัณฑ์ทเี่ พิม
่ ขึน
้ ต่อหน่วยเวลา

5
ทฤษฎีของจลนศาสตร์เคมี

การอธิบายอัตราการเกิดปฏิกริ ย
ิ าเคมีระหว่างสารตัง้ ต ้น
เข ้าทาปฏิกริ ย
ิ ากันสามารถอธิบายโดย
o ทฤษฎีการชน
ิ น
o ทฤษฎีสภาวะแทรนซช ั
ทัง้ สองทฤษฎีจะเน ้นการชนกันของสารตัง้ ต ้น
ิ ธิภาพเพือ
อย่างมีประสท ่ ให ้เกิดสารผลิตภัณฑ์

6
ทฤษฎีการชน
เรี ยบเรี ยงจากตาราของผศ.ดร.วรวิ ท ย์ จั น ทร์ สุ วรรณ

7
ทฤษฎีการชน (Collision theory)
o การเกิดปฏิกริ ย
ิ าเคมีใด ๆ
o อนุภาคของสารตัง้ ต ้น (อะตอม โมเลกุล หรือไอออน) จะต ้องชนกัน
o ยิง่ ชนมาก อัตราการเกิดปฏิกริ ย
ิ าก็ยงิ่ มาก
o ถ ้าความเข ้มข ้นของสารตัง้ ต ้นมาก โอกาสในการชนกันจะสูง
o เมือ
่ อุณหภูมส
ิ งู ขึน
้ โมเลกุลจะเคลือ
่ นทีไ่ ด ้เร็วขึน

o ทาให ้จานวนครัง้ การชนมากขึน
้ อัตราการเกิดปฏิกริ ย
ิ าจะสูงขึน

8
ทฤษฎีการชน (Collision theory) ต่อ
่ ั จจัยหลักเดียว
o จานวนครัง้ ของการชนกันไม่ใชป
o การชนอย่างมีประสท ิ ธิภาพเพือ
่ ให ้เกิดสารผลิตภัณฑ์ได ้จะต ้อง
ประกอบด ้วย 3 เงือ
่ นไข คือ
1) โมเลกุลทีจ
่ ะทาปฏิกริ ย
ิ ากันต ้องเข ้าชนกัน
2) โมเลกุลต ้องเข ้าชนในตาแหน่งและทิศทางทีเ่ หมาะสม
3) โมเลกุลทีเ่ ข ้าทาปฏิกริ ย
ิ าต ้องมีพลังงานเพียงพอ
(สาหรับการสลายพันธะเดิมและสร ้างพันธะขึน
้ มาใหม่)

9
ต ัวอย่างปฏิกริ ย
ิ าการเกิด AB ในสภาวะทีเ่ ป็นแก๊ส

A2(g) + B2(g)  2AB(g)

 โมเลกุล A2 และ B2 ต ้องชนกัน


 มีทศ
ิ ทางทีเ่ หมาะสม
 มีพลังงานเพียงพอ
 อะตอมและกลุม
่ หมอกอิเล็กตรอนจะจัดเรียงกันใหม่
 เกิดเป็ นสารผลิตภัณฑ์ AB ขึน
้ 2 โมเลกุล

10
ต ัวอย่างการชนก ัน
เมือ
่ ลดอุณหภูมถ ิ งึ จุดหนึง่ ของเหลวและแก๊สจะเปลีย ่ นสถานะเป็ นของแข็ง อนุภาคของสารจะหยุดนิง่
ไม่มกี ารเคลือ ่ นที่ แต่อาจสน ั่ ได ้ โมเลกุลจึงมีพลังงานจลน์น ้อยมาก เมือ ่ เทียบกับของเหลวและแก๊ส ดังนั น

ของแข็งจึงมีคณ ุ สมบัตท ิ แี่ ตกต่างออกไป ได ้แก่
 มีรปู ร่างทีแ่ น่นอน เนือ่ งจากโมเลกุลอยูช ่ ดิ กัน มีแรงยึดเหนีย่ วระหว่างโมเลกุลมากกว่าของเหลวและมี
พลังงานจลน์น ้อยมาก จึงไม่สามารถเคลือ ่ นทีไ่ ด ้
 มีความหนาแน่นมากกว่าของเหลว ยกเว ้นน้ า น้ าแข็งมีความหนาแน่นน ้อยกว่าน้ า
 มีปริมาตรแน่นอน
 บีบหรืออัดให ้เล็กลงได ้ยาก เพราะไม่มท
ี วี่ า่ งระหว่างอนุภาค
 ของแข็งมีทงั ้ พวกทีน
่ าไฟฟ้ าและความร ้อน พวกกึง่ ตัวนาและพวกทีเ่ ป็ นฉนวนไฟฟ้ า
 มี 2 รูปแบบ คือ รูปผลึกและไม่เป็ นรูปผลึก
 มีจด
ุ หลอมเหลวและจุดเดือดสูงกว่าของเหลวและแก๊ส

11
อิทธิพลของจานวนครงการชน
ั้
ต ัวอย่าง แก๊สผสมระหว่าง H2 และ I2 ทีค
่ วามด ันและอุณหภูมป
ิ กติ

H2(g) + I2(g)  2HI(g)

 โมเลกุลทงสองจะชนก
ั้ ันประมาณ 1010 ครงต่
ั้ อวินาที
 พบว่าทีอ
่ ณ
ุ หภูมห
ิ อ
้ ง ปฏิกริ ย ้ ได้ชา้ มาก
ิ าด ังกล่าวเกิดขึน
้ เพียง 1 ใน 1013 ครงของการชนโดยประมาณ
 การชนก ันทีเ่ กิดเป็นผลิตภ ัณฑ์ HI เกิดขึน ั้

 ด ังนน
ั้ ปัจจ ัยทีต
่ อ
้ งพิจารณาคือ พล ังงานระหว่างการชน

12
อิทธิพลของพล ังงานระหว่างการชน
ขณะทีโ่ มเลกุลชนกันพลังงานจลน์จะค่อยๆ เปลีย ั ย์ ดังนัน
่ นเป็ นพลังงานศก ้

 ถ ้าโมเลกุลของสารทีจ
่ ะเข ้าทาปฏิกริ ยิ ากันมีพลังงานจลน์ตา่ (เคลือ
่ นทีช ้ จะไม่เกิดเป็ นสาร
่ า)
ผลิตภัณฑ์
 ถ ้าโมเลกุลของสารเคลือ่ นทีเ่ ข ้าชนกันด ้วยความเร็วสูง (พลังงานจลน์สงู ) ได ้เป็ นสารผลิตภัณฑ์

13
การเปลีย ั ขณะทีส
่ นแปลงของพล ังงานศกย์ ่ ารทาปฏิกริ ย
ิ าก ัน

1) ถ ้าผลิตภัณฑ์ทเี่ กิดขึน ั ย์ตา่ กว่าพลังงานของสารตัง้ ต ้น (ค่า ∆H จะเป็ นลบ)


้ มีระดับพลังงานศก
ปฏิกริ ย
ิ านัน
้ เป็ นปฏิกริ ย
ิ าคายความร ้อน (exothermic) ดังภาพ (ก)
2) ถ ้าผลิตภัณฑ์มรี ะดับพลังงานศก ั ย์สงู กว่าตัวของสารตัง้ ต ้น (ค่า ∆ H จะเป็ นบวก) ปฏิกริ ย
ิ านัน

จะเป็ นปฏิกริ ยิ าดูดความร ้อน (endothermic) ดังภาพ (ข)

คายความร้อน ดูดความร้อน

14

ิ น
ทฤษฎีสภาวะแทรนซช
เรี ยบเรี ยงจากตาราของผศ.ดร.วรวิ ท ย์ จั น ทร์ สุ วรรณ

15
ั (transition state theory)
ิ น
ทฤษฎีสภาวะแทรนซช
o มีอก ื่ หนึง่ คือ ทฤษฎีสารเชงิ ซอนกั
ี ชอ ้ มมันต์ (activated complex
theory) เป็ นผลงานของไอย์รงิ (Henry Eyring)
o อธิบายเกีย
่ วกับพลังงานทีจ
่ ะทาให ้การชนกันเกิดปฏิกริ ย
ิ า
o โมเลกุลของสารตัง้ ต ้นต ้องเปลีย
่ นแปลง
o สร ้างพันธะใหม่ทไี่ ม่เสถียรชวั่ ขณะหนึง่
้ ในสภาวะชวั่ คราวนีว้ า่ สารเชงิ ซอนกั
o เรียกสารทีเ่ กิดขึน ้ มมันต์ (activated
complex)

16
ั (transition state theory)
ิ น
ทฤษฎีสภาวะแทรนซช
ตัวอย่างการเกิด สารเชงิ ซอนกั
้ มมันต์
 สภาวะทีแ
่ สดง (A--B)* เรียกว่า
สภาวะแทรนซช ิ น
ั (transition state)

 เสนประ (- - -) แสดงให ้เห็นว่าพันธะ
ของสาร A-A และ B-B เริม่ ยืดออก
และเริม
่ แตกสลาย
 พันธะระหว่าง A กับ B เป็ นสาร
ผลิตภัณฑ์เริม
่ เกิดขึน

17
ั ของการเปลีย
พล ังงานศกย์ ้ นก ัมม ันต์
่ นแปลงในสารเชงิ ซอ
ตัวอย่างการเกิด สารเชงิ ซอนกั
้ มมันต์

สารเชงิ ซอนกั
้ มมันต์ไม่ได ้เป็ นโมเลกุล
แต่เป็ นเพียงการจัดเรียงตัวแบบชวั่ คราว
ของอะตอมเท่านัน ้
ดังนัน
้ จึงไม่สามารถแยกออกมาหรือ
ตรวจสอบได ้

18
ั ของการเปลีย
พล ังงานศกย์ ้ นก ัมม ันต์
่ นแปลงในสารเชงิ ซอ
ตัวอย่างการเกิด สารเชงิ ซอนกั
้ มมันต์

 บริเวณยอดสุดของเสนโค ้งถือว่าเป็ น
สภาวะทีไ่ ม่เสถียร
 อาจเกิดการเปลีย ่ นไปเป็ นสาร
ผลิตภัณฑ์ได ้ ถ ้ามีพลังงานศกั ย์สงู กว่า
 อาจกลับมาเป็ นสารตัง้ ต ้นดังเดิม ถ ้ามี
ั ย์ตา่ กว่าสภาวะแทรนซช
พลังงานศก ิ นั

19
ั สาหร ับปฏิกริ ย
พล ังงานศกย์ ิ า
พลังงานศก ั ย์ของสารทีเ่ กีย
่ วข ้องในปฏิกริ ย ิ า
มีการเปลีย่ นแปลงได ้ 2 แบบคือ
1) ถ ้าสารเชงิ ซอนกั้ มมันต์เปลีย ่ นกลับไป
เป็ นสารตัง้ ต ้นดังเดิม คือไม่มป ี ฏิกริ ย
ิ า
2) ถ ้าสารเชงิ ซอนกั ้ มมันต์เปลีย ่ นไปเป็ นสาร
ผลิตภัณฑ์ เกิดโมเลกุล AB จานวน 2
โมเลกุล จะมีการคายพลังงานออกมาใน
รูปพลังงานจลน์ของโมเลกุล AB ผลต่าง
ระหว่างพลังงานทีด ่ ด
ู กลืนเข ้าไปกับ
พลังงานทีค ่ ายออกมา เรียกว่า เอนทัลปี
(∆H)

20
พล ังงานก่อก ัมม ันต์
เรี ยบเรี ยงจากตาราของผศ.ดร.วรวิ ท ย์ จั น ทร์ สุ วรรณ

21
พล ังงานก่อก ัมม ันต์ (Activation Energy, Ea)
o หรือเรียกว่า พลังงานกระตุ ้น
o คือพลังงานจานวนน ้อยทีส ่ ด
ุ ทีท
่ าให ้โมเลกุลของสารตัง้ ต ้นเข ้าทา
ปฏิกริ ย
ิ ากันเกิดเป็ นสารผลิตภัณฑ์
o ค่าพลังงานก่อกัมมันต์ของแต่ละปฏิกริ ย
ิ าจะมีคา่ เฉพาะ
o ถ ้าพลังงานก่อกัมมันต์สงู โอกาสทีจ
่ ะเกิดปฏิกริ ย
ิ าจะเกิดขึน
้ ได ้น ้อยและ
จะมีอต ิ าชา้
ั ราการเกิดปฏิกริ ย
o ถ ้าพลังงานก่อกัมมันต์มค
ี า่ น ้อย ปฏิกริ ย
ิ าจะเกิดได ้ง่ายและมีอต
ั ราการ
เกิดปฏิกริ ย
ิ าได ้เร็ว
o การเพิม
่ อุณหภูมจ
ิ ะทาให ้อัตราของปฏิกริ ย
ิ าเพิม
่ เร็วขึน

22
ั ันธ์ระหว่างอ ัตราการเกิดปฏิกริ ย
ความสมพ ิ าก ับอุณหภูม ิ
อาร์เรเนียส (Svante Arrhenius) ได ้เสนอสมการแสดงความสม ั พันธ์ระหว่าง
อัตราการเกิดปฏิกริ ย
ิ ากับอุณหภูม ิ เรียกว่า สมการอาร์เรเนียส คือ
−𝐸𝑎
𝑘 = 𝐴𝑒 𝑅𝑇 (1)

เมือ
่ k = ค่าคงทีอ
่ ต
ั ราการเกิดของปฏิกริ ย
ิ า
A = แฟกเตอร์ความถีข
่ องการชน
Ea = ค่าพลังงานก่อกัมมันต์ (kJ/mol)
R = ค่าคงทีข
่ องแก๊ส (8.314 J/mol K)
T = อุณหภูมส ั บูรณ์ (K)
ิ ม

23
ปัจจ ัยทีม
่ ผ
ี ลต่ออ ัตราการเกิดปฏิกริ ย
ิ าเคมี
เรี ยบเรี ยงจากตาราของผศ.ดร.วรวิ ท ย์ จั น ทร์ สุ วรรณ

24
ปัจจ ัยทีม
่ ผ
ี ลต่ออ ัตราการเกิดปฏิกริ ย
ิ าเคมี
1) ธรรมชาติของสาร
2) ความเข ้มข ้นของสารตัง้ ต ้น
3) พืน
้ ทีผ
่ วิ ของสารตัง้ ต ้น
4) อุณหภูม ิ
5) ตัวเร่งปฏิกริ ย
ิ าและตัวหน่วงปฏิกริ ย
ิ า

25
ธรรมชาติของสาร
 สารแต่ละชนิดมีความว่องไวในการเกิดปฏิกริ ย
ิ าเคมีไม่เท่ากัน
 การเปลีย
่ นชนิดของสารจะทาให ้อัตราการเกิดปฏิกริ ย
ิ าเปลีย
่ นไป

เชน H2(g) + F2(g)  2HF(g) ……………..เกิดเร็วมาก

H2(g) + I2(g)  2HI(g) ……………..เกิดชามาก
 สารบางชนิดมีหลายอัญรูป แต่ละอัญรูปมีความว่องไวในปฏิกริ ย
ิ าต่างกัน

เชน ฟอสฟอรัสขาวจะลุกไหม ้ติดไฟได ้ในอากาศ
แต่ฟอสฟอรัสแดงและฟอสฟอรัสดาเสถียรในอากาศ

26
ความเข้มข้นของสารตงต้
ั้ น
ิ าเคมีสว่ นใหญ่อต
 ปฏิกริ ย ั ราการเกิดปฏิกริ ย
ิ าขึน
้ อยูก
่ บ
ั ความเข ้มข ้นของ
สารตัง้ ต ้นทีเ่ ข ้าทาปฏิกริ ย
ิ า
 สามารถใชทฤษฎี ้ การชนอธิบายได ้ว่า เมือ
่ ความเข ้มข ้นของสารตัง้ ต ้นที่
เข ้าทาปฏิกริ ย
ิ าเพิม
่ ขึน
้ ทาให ้อัตราการเกิดปฏิกริ ย
ิ าสูงขึน

 กรณีทค
ี่ วามเข ้มข ้นของสารตัง้ ต ้นไม่มผ
ี ลต่ออัตราการเกิดปฏิกริ ย
ิ าเคมี
เพราะปฏิกริ ย
ิ านัน
้ มีขน
ั ้ ตอนการเกิดหลายขัน ้ ตอน

เชน NO2 + NO2  NO3 + NO ………………..เกิดชา้
NO3 + CO  NO2 + CO2 ………………..เกิดเร็ว
ปฏิกริ ย
ิ ารวม NO2(g) + CO(g)  CO2(g) + NO(g) ; rate = k[NO2]2

27
้ ทีผ
พืน ่ วิ ของสารตงต้
ั้ น
 ปฏิกริ ย
ิ าเคมีทพ
ี่ น
ื้ ทีผ
่ วิ มีผลจะเกิดขึน
้ กับปฏิกริ ย
ิ าเนือ
้ ผสม
(Heterogeneous reaction)
 ปฏิกริ ย
ิ าเนือ
้ ผสมนัน้ ต ้องมีสารตัง้ ต ้นทีเ่ ป็ นของแข็งทาปฏิกริ ย
ิ ากับแก๊ส
หรือทาปฏิกริ ย ิ ากับของเหลวก็ได ้
่ Mg(s) + 2HCl(aq)  MgCl2(aq) + H2(g)
เชน
 ถ ้าพืน
้ ทีผ
่ วิ ของโลหะ Mg มากอัตราการเกิดปฏิกริ ย
ิ าจะเร็ว
 ถ ้าพืน
้ ทีผ ั ผัสน ้อยอัตราการเกิดปฏิกริ ย
่ วิ สม ิ าจะชา้

28
อุณหภูม ิ
ปฏิกริ ย
ิ าโดยทัว่ ไปจะมี
 อัตราการเกิดเพิม
่ ขึน

เมือ
่ เพิม
่ อุณหภูม ิ
 อัตราการเกิดจะลดลง
เมือ
่ ลดอุณหภูม ิ
 สมการอาร์เรเนียส
(Arrhenius Equation)
−𝐸𝑎
𝑘= 𝐴𝑒 𝑅𝑇

29
ต ัวเร่งปฏิกริ ย
ิ าและต ัวหน่วงปฏิกริ ย
ิ า
 ตัวเร่งปฏิกริ ย
ิ า (Catalyst) คือสารทีเ่ ปลีย
่ นความเร็วของปฏิกริ ย
ิ า
 ตัวเร่งปฏิกริ ย
ิ าจะไม่เกิดการเปลีย
่ นแปลงทางเคมีอย่างถาวรในปฏิกริ ย
ิ า
 ตัวเร่งปฏิกริ ย
ิ าโดยทัว่ ไปแบ่งออกเป็ น 2 ประเภท ได ้แก่
1) ตัวเร่งปฏิกริ ย
ิ าเนือ
้ เดียว หรือตัวเร่งปฏิกริ ย
ิ าเอกพันธ์
(Homogeneous catalyst)
2) ตัวเร่งปฏิกริ ย
ิ าเนือ
้ ผสม หรือตัวเร่งปฏิกริ ย
ิ าวิวธิ ภัณฑ์
(Heterogeneous catalyst)

30
ต ัวเร่งปฏิกริ ย
ิ าเอกพ ันธ์ (Homogeneous catalyst)
 หมายถึงตัวเร่งปฏิกริ ย
ิ าทีม
่ วี ฏ
ั ภาคเหมือนกับสารตัง้ ต ้น
่ 2H2O2(aq)  2H2O(l) + O2(g)
 เชน

31
ต ัวเร่งปฏิกริ ย
ิ าวิวธ
ิ ภ ัณฑ์ (Heterogeneous catalyst)
 หมายถึง ตัวเร่งปฏิกริ ย
ิ า
ทีม
่ วี ฏ
ั ภาคต่างจากสารตัง้ ต ้น
 มักเป็ นของแข็งกับโลหะ
่ กลไกการเกิด C2H6
 เชน

โดยใชโลหะเป็ น
ตัวเร่งปฏิกริ ย
ิ า

32
ต ัวหน่วงปฏิกริ ย
ิ าหรือต ัวย ับยงปฏิ
ั้ กริ ย
ิ า (Inhibitor)
 สารทีเ่ ติมลงไปในปฏิกริ ย
ิ า
แล ้วทาให ้ปฏิกริ ย
ิ าเคมีนัน ้
้ เกิดชาลง
ิ าอาจมีสว่ นร่วมใน
 ตัวหน่วงปฏิกริ ย
การเกิดปฏิกริ ย
ิ าแล ้วเปลีย
่ นเป็ นสารใหม่
 หรืออาจจะไปขัดขวางการทาหน ้าที่
ของตัวเร่งปฏิกริ ย
ิ า

33
ต ัวอย่าง
จากปฏิกริ ย
ิ าการสลายตัวของ NO2 ดังสมการ
2N2O(g) 2NO(g) + O2(g)
มีข ้อมูลจากการทดลองดังนี้

จงหาค่าของพลังงานก่อกัมมันต์ ของปฏิกริ ย
ิ า

34
กลไกการเกิดปฏิกริ ย
ิ า
เรี ยบเรี ยงจากตาราของผศ.ดร.ทรงกฎ อุ ต รา

35
กลไกการเกิดปฏิกริ ย
ิ า (reaction mechanism)
 ตามทฤษฎีการชน สารผลิตภัณฑ์เกิดจากการชนกันของสารตัง้ ต ้น
 บางปฏิกริ ย ิ า สารตัง้ ต ้น ชนกันเพียงขัน
้ ตอนเดียว ก็ได ้ สารผลิตภัณฑ์
ิ าสว่ นมาก มักจะต ้องชนกันหลายขัน
 แต่ปฏิกริ ย ้ ตอน จึงจะได ้ สารผลิตภัณฑ์

ตัวอย่าง ปฏิกริ ย
ิ าทีม
่ ก
ี ารชนกันขัน
้ ตอนเดียว

2CN(g)  C2(g) + N2(g)

H+ + OH-  H2O

NO(g)+ O3(g)  NO2(g)+ O2(g)

36
ปฏิกริ ย
ิ าทีม
่ ก
ี ารชนก ันหลายขนตอน
ั้
 ปฏิกริ ย
ิ าทีม่ ก
ี ลไกการเกิดปฏิกริ ย ิ าหลายขัน ้ ย่อย
 ลาดับของปฏิกริ ย ิ าย่อยทีร่ วมกันแล ้วได ้เป็ นปฏิกริ ย
ิ ารวม เรียกว่า กลไกการเกิดปฏิกริ ย
ิ า
 ปฏิกริ ยิ ารวมจะเป็ นปฏิกริ ย
ิ าทีจ
่ ะบอกเฉพาะสารตัง้ ต ้นและสารผลิตภัณฑ์

ปฏิกริ ย
ิ าย่อยที่ 1 A+B C
ปฏิกริ ยิ าย่อยที่ 2 C+B D

ดังนัน
้ ปฏิกริ ย
ิ ารวมจะเขียนได ้ว่า A + 2B  D

โมเลกุลของ C เป็ นโมเลกุลสมมติ เรียกว่าโมเลกุลของสารมัธยันตร์ (intermediate)

37
ต ัวอย่าง ปฏิกริ ย
ิ าของโบรมีน ก ับ ไนตริกออกไซด์
Br2 (g) +2NO (g)  2BrNO (g)

 กลไก : จากการศก ึ ษาพบว่า Br2 และ NO จะรวมกันในขัน ้ เริม


่ ต ้น ได ้สารมัธยันตร์ Br2NO
 สารมัธยันตร์ซงึ่ ไม่เสถียรจะทาปฏิกริ ย
ิ าต่อกับ NO อีกโมเลกุลหนึง่ ได ้สารผลิตภัณฑ์ BrNO
 ปฏิกริ ย
ิ ารวมจะเป็ นผลบวกของปฏิกริ ย ิ าย่อยแต่ละขัน
้ ดังนี้

ปฏิกริ ยิ าย่อยที่ 1 Br2(g) + NO (g)  Br2NO (g)


ปฏิกริ ย
ิ าย่อยที่ 2 Br2NO (g) + NO (g)  2BrNO (g)
Br2(g) +2 NO (g) + Br2NO (g)  Br2NO (g)+ 2BrNO (g)
ปฏิกริ ย
ิ ารวม Br2 (g) + 2NO (g)  2BrNO (g)
จากปฏิกริ ย
ิ ารวมจะเห็นได ้ว่าสารมัธยันตร์ คือ Br2NO

38
ปฏิกริ ย
ิ ามูลฐาน (elementary reaction)
o ปฏิกริ ย
ิ ามูลฐานหรือปฏิกริ ย
ิ าย่อยเกิดขึน
้ จากการชนกันของสารตัง้ ต ้น
เพียงครัง้ เดียว
o ปฏิกริ ย
ิ ามูลฐานทัง้ หมดทีแ
่ สดงลาดับขัน
้ ของการเกิดปฏิกริ ย
ิ าก็คอ

กลไกของปฏิกริ ย ิ า
oโมเลกุลาริต ี (molecularity) ของปฏิกริ ยิ ามูลฐาน หมายถึง จานวน
โมเลกุลของสารตัง้ ต ้นทีจ
่ าเป็ นทีจ ้
่ ะใชในการชนเพื อ
่ ทาให ้เกิดปฏิกริ ย
ิ า
o Unimolecular
o Bimolecular
o Termolecular

39
กระบวนการแบบ 1 โมเลกุล (Unimolecular)
ประโยชน์ของการทราบเกีย
่ วกับกลไกของปฏิกริ ย
ิ า และปฏิกริ ย
ิ ามูลฐาน
ทาให ้นักเคมีสามารถอนุมานกฎอัตราได ้

A  (P) ผลิตภัณฑ์

จะได ้กฎอัตราอันดับ 1 ดังสมการ


rate = k[A]

40
กระบวนการแบบ 2 โมเลกุล (Bimolecular)
กระบวนการ 2 โมเลกุล กฎอัตราของปฏิกริ ย
ิ าจะเป็ นปฏิกริ ย
ิ าอันดับสอง
A+BP
ดังนัน
้ rate = k[A][B]

A + A  P หรือ 2A  P
จะได ้ว่า rate = k[A]2

**ปฏิกริ ย
ิ ามูลฐานจะมีจานวนโมเลกุลเท่ากับอันดับของปฏิกริ ย
ิ ามูลฐาน

41
ต ัวอย่าง กฎอ ัตราสาหร ับปฏิกริ ย
ิ ามูลฐานแบบต่าง ๆ

ปฏิกริ ย
ิ ามูลฐาน โมเลกุลาริต ี กฎอ ัตรา
AP Unimolecular rate = k[A]

A+BP Bimolecular rate = k[A][B]

A+AP Bimolecular rate = k[A]2

2A + B  P Termolecular rate = k[A]2[B]

42
ขนก
ั้ าหนดอ ัตรา (rate determining step)
อัตราการเกิดปฏิกริ ย ้ ส
ิ ามูลฐานย่อยทีเ่ กิดชาที ่ ด
ุ จะเป็ นขัน
้ ทีก
่ าหนดอัตราการ
เกิดปฏิกริ ย
ิ าเคมี
ึ ษากลไกของปฏิกริ ย
นักเคมีจะศก ิ าโดย
1. ทาการทดลองเพือ
่ หาอัตราการเกิดปฏิกริ ย ้
ิ าโดยใชสารตั ง้ ต ้นทีม
่ ค
ี วามเข ้มข ้นต่าง ๆ
2. นาข ้อมูลทีไ่ ด ้มาหาค่าคงทีอ
่ ต
ั รา อันดับปฏิกริ ย
ิ า และกฎอัตรา
3. เขียนสมมติฐานของกลไกการเกิดปฏิกริ ย
ิ าด ้วยปฏิกริ ย
ิ ามูลฐานทีอ
่ าจจะประกอบด ้วยขัน

เดียวหรือหลายขัน
้ ย่อย

43
ขนก
ั้ าหนดอ ัตรา (rate determining step)
สมมติฐานของกลไกปฏิกริ ย
ิ าต ้องสามารถตอบคาถามดังต่อไปนีไ
้ ด้
1. ผลรวมของปฏิกริ ย
ิ ามูลฐานต ้องมีคา่ เท่ากับผลรวมของปฏิกริ ย
ิ าทัง้ หมด
ทีด
่ ล
ุ สมการแล ้ว
2. ขัน
้ กาหนดปฏิกริ ย
ิ าต ้องมีกฎอัตราเท่ากับกฎอัตราทีห
่ าได ้จากการทดลอง

44
ต ัวอย่าง
การสลายตัวของไนตรัสออกไซด์ประกอบด ้วยปฏิกริ ย
ิ ามูลฐาน 2 ขัน


N2O (g)  N2 (g) + O (g) (ชา)
N2O(g) + O (g)  N2 (g) + O2 (g) (เร็ว)
จากปฏิกริ ย
ิ าทีก
่ าหนดให ้
(1) จงเขียนปฏิกริ ย
ิ ารวม
(2) จงเขียนกฎอัตราของปฏิกริ ย
ิ า

45
ต ัวอย่าง
วิธท
ี า 1) รวมปฏิกริ ย
ิ ามูลฐานทัง้ 2 ขัน
้ ตอนได ้สมการดังนี้
ปฏิกริ ย
ิ าย่อยที่ 1 ้
N2O (g)  N2 (g) + O (g) (ชา)
ปฏิกริ ย
ิ าย่อยที่ 2 N2O(g) + O (g)  N2 (g) + O2 (g) (เร็ว)
ปฏิกริ ย
ิ ารวม 2N2O(g) + O (g)  2N2 (g) + O2 (g) + O(g)
สารมัธยันตร์คอ
ื O ดังนัน
้ ปฏิกริ ย
ิ ารวมคือ 2N2O(g)  2N2 (g) + O2 (g)
2) ขัน
้ กาหนดอัตราคือขัน ้ ส
้ ทีเ่ กิดชาที ่ ด
ุ ้
N2O (g)  N2 (g) + O (g) (ชา)
และปฏิกริ ย
ิ าสามารถเขียนเป็ นกฎอัตราได ้ดังนี้
rate = k[N2O]

46
คาถาม (Questions)
ASSIGNMENT

47

You might also like