You are on page 1of 24

ปฏิ กิริยาเคมี

ปฏิกิริยาเคมี
ปฏิกิริยาเคมี คือ การเปลี่ยนแปลงที่เกิดจากการ
จัดเรียงตัวใหม่ของอะตอมของธาตุ โดยไม่มีการ
เปลี่ยนแปลงชนิดของธาตุ
ปฏิกิริยาเคมี
สมการเคมี
การเกิดปฏิกิริยาเคมีจะแสดงรายละเอียดด้วยสมการเคมี
1. สารตัง้ ต้นอยูท่ างซ้ายของลูกศร
2. สารผลิตภัณฑ์อยูท่ างขวาของลูกศร
3. จํานวนอะตอมของธาตุแต่ละชนิดจะต้องเท่ากันทั้ง
เลขสัมประสิทธิ์
ด้านซ้ายและขวาของสมการ
สมการเคมี
การแสดงภาวะและปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับปฏิกิริยาเคมี
1. สถานะของสาร
พี่ ๆ ดูหนังสือหน้า 99-101
2. การดูดหรือคายพลังงาน ประกอบนะคะ จะได้เ ข้า ใจ
มากขึ้นค่ะ
3. การใช้ตวั เร่งปฏิกิริยา
4. อื่น ๆ
สมการเคมี
1. สถานะของสาร
สมการเคมี
2. การดูดและคายพลังงาน
สมการเคมี
2.1 ปฏิกิริยาดูดพลังงาน

• ระบบดูดพลังงานจากสิ่งแวดล้อมเข้าไป

• เมื่อจับภาชนะจะรูส้ ึกเย็น หรือมีหยดนํ้าเกาะข้างภาชนะ


สมการเคมี
2.2 ปฏิกิริยาคายพลังงาน

• ระบบคายพลังงานให้แก่สิ่งแวดล้อม

• เมื่อจับภาชนะจะรูส้ ึกร้อน หรือมีไอนํ้าลอยขึ้นข้างบน รวม


ไปถึงระเบิด
สมการเคมี
3. การใช้ตวั เร่งปฏิกิริยา (catalyst)
• ตัวเร่งปฏิกิริยาจะไม่ทาํ ปฏิกิริยากับสารตัง้ ต้น ทําหน้าที่เพียงเร่ง
ปฏิกิริยาให้เร็วขึ้นเท่านั้น
• เช่น enzyme ต่าง ๆ , Pt และ Ni
สมการเคมี
4. อื่น ๆ

• ความร้อน

• แสง/ที่มืด

• สภาวะความเป็ นกรดเบส
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ปัจจัยทีส่ ง่ ผลต่อการเกิดปฏิกริ ยิ าเคมี
1. ธรรมชาติของสารตั้งต้น
2. ความเข้มข้น พี่ ๆ คิดว่าเรื่องเหล่านี้ สามารถ
อธิ บ ายสิ่ ง ต่ า ง ๆ ที่ เ กิ ด ขึ้ นใน
3. พื้นที่ผิวของสารตั้งต้น ชีวิตประจําวันอย่างไรบ้างคะ
4. ความดัน
5. อุณหภูมิ
6. ตัวเร่งปฏิกิรยิ า
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
1. ธรรมชาติของสารตัง้ ต้น
• สารแต่ละชนิดมีสมบัตเิ ฉพาะตัว ทําให้มีความไวต่อการเกิดปฏิกิรยิ าเคมีไม่เท่ากัน
เช่น
1. โลหะโซเดียมทําปฏิกิรยิ ากับนํ้าอย่างรุนแรง แต่โลหะแมกนีเซียมทําปฏิกิริยากับ
นํ้าไม่รุนแรง
2. ฟอสฟอรัสขาวลุกไหม้ในอากาศ ฟอสฟอรัสแดงทําหัวไม้ขีดไฟ ส่วนฟอสฟอรัส
ดําเสถียร
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
2. ความเข้มข้นของสาร
• สารตัง้ ต้นมีความเข้มข้นมากจะทําให้ปฏิกิริยาเคมีเกิดได้เร็วขึ้น
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
3. พื้นที่ผิวของสารตัง้ ต้น
• สารตัง้ ต้นมีพ้ ืนที่ผิวมากจะเกิดปฏิกิริยาได้เร็ว
• มีผลกับสารตั้งต้นที่มีสถานะเป็ นของแข็งทําปฏิกิริยากับสารตั้งต้นที่มี
สถานะเป็ นของเหลว
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
4. ความดัน
• สารตั้ ง ต้ น มี พลั ง งานมากขึ้ นจึ ง
เกิดปฏิกิริยาได้เร็ว
• มี ผ ลกั บ สารตั้ ง ต้น ที่ มี ส ถานะเป็ น
แก๊สเท่านั้น
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5. อุณหภูมิ
• เมื่ อระบบมี อุ ณ หภู มิ มากขึ้ น มี
แนวโน้ม ที่ จ ะเกิ ด ปฏิ กิ ริ ย าได้เ ร็ ว
เพราะอนุภาคของสารเคลื่อนที่ได้เร็ว
ขึ้น
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
6. ตัวเร่งปฏิกิริยา
• บางปฏิกิริยาจําเป็ นต้องใช้ตวั เร่งปฏิกิริยา เพื่อให้ปฏิกิริยาเกิดได้เร็วขึ้น
• ตัวเร่งปฏิกิริยามักเป็ นโลหะหรือเอนไซม์
ปฏิกิริยารีดอกซ์
ปฏิ กิริย ารีดอกซ์ คือ ปฏิกิริยาที่มีการถ่ ายโอน
ระหว่างสารเคมี
• ปฏิกิรยิ ารีดอกซ์บางปฏิกิริยาสามารถทําให้เกิด
กระแสไฟฟ้ าได้
ปฏิกิริยารีดอกซ์
ปฏิกิริยารีดอกซ์
ปฏิกิริยารีดอกซ์
ปฏิกิริยารีดอกซ์ที่พบในชีวิตประจําวัน
1. การสังเคราะห์ดว้ ยแสง
2. การหายใจ
3. การชุบโลหะ
4. เซลล์ไฟฟ้ าเคมี
ปฏิกิริยารีดอกซ์
เซลล์ไฟฟ้าเคมี
• เซลล์ไฟฟ้ าเคมี คือ เครื่องมือหรืออุปกรณ์ทางเคมีที่เกิดจากการ
เปลี่ยนแปลงพลังงานเคมีเป็ นพลังงานไฟฟ้ า หรือไฟฟ้ าเป็ นเคมี
1. ถ่านไฟฉาย
2. แบตเตอรี่

You might also like