You are on page 1of 25

ปฎิกริ ิยาเคมีในเซลล์ ของสิ่ งมีชีวติ

• สารต่างๆ นา้ คาร์โบไฮเดรต โปรตีน ลิพิด กรดนิวคลีอิก มี


ความสาคัญต่อสิ่งมีชีวิต
• เป็ นส่วนประกอบของเซลล์และเนือ้ เยื่อ
• รักษาดุลยภาพของร่างกายให้ดารงชีวิตอยูไ่ ด้
• การเปลี่ยนแปลงของสารต่างๆอยูใ่ นรูปของปฎิกิรยิ าเคมี
ต่างๆภายในเซลล์
ปฎิกริ ิยาเคมีในเซลล์ ของสิ่ งมีชีวติ
แบ่งออกเป็ น 2 ประเภท คือ
• 1. ปฏิกิริยาคายพลังงาน หมายถึง ปฏิกิริยาทีเ่ กิดขึน้ แล้วจะปล่อย
พลังงานออกมามากกว่า พลังงานกระตุน้ ทีใ่ ส่เข้าไป
• 2. ปฏิกิริยาดูดพลังงาน หมายถึง ปฏิกิริยาทีเ่ กิดขึน้ แล้วจะปล่อย
พลังงานออกมาน้อยกว่า พลังงานกระตุน้ ทีใ่ ส่เข้าไป
การแยกน้ าโดยใช้พลังงานไฟฟ้า

แก๊สที่ข้ วั บวกคือก๊าซออกซิ เจน


แก๊สที่ข้ วั ลบคือก๊าซไฮโดรเจน
การรวมตัวระหว่างแก๊สไฮโดรเจนกับแก๊สออกซิเจน
จุดไฮโดรเจนในบรรยากาศที่มีออกซิเจนจะเกิดการระเบิดอย่างรุนแรง เนื่องจากออกซิเจนที่
อยูใ่ นบรรยากาศจะรวมตังกับเคมีกบั ไฮโดรเจนอย่างรวดเร็วและคายพลังงานออกมา
2H2 + O2 = 2H2O + พลังงาน

การแยกนา้ การเกิดนา้
ปฏิกริ ิยาดูดพลังงาน (endergonic reaction)
• มีการดูดพลังงานจาก
ภายนอกไปใช้เพื่อ
เปลี่ยนแปลงสารตัง้ ต้นใน
ปฏิกิรยิ าให้กลายเป็ น
ผลิตภัณฑ์
• พลังงานของผลิตภัณฑ์มีคา่
สูงกว่าพลังงานของสารตัง้
ต้น
• การแยกนา้ โดยใช้ไฟฟ้า
ปฏิกริ ิยาคายพลังงาน (exergonic reaction)
• เป็ นปฏิกิรยิ าที่เกิดขึน้
แล้วจะมีการปล่อย
พลังงานออกมา
• พลังงานของสารตัง้ ต้น
มีคา่ สูงกว่าพลังงาน
ของสารผลิตภัณฑ์
• การรวมตัวกันของ
อะตอมของไฮโดรเจน
กับอะตอมของ
ออกซิเจนกลายเป็ นนา้
ปัจจัยที่มีผลต่ อปฏิกริ ิยาเคมี
1. ธรรมชาติของสารตัง้ ต้น : สารตัง้ ต้นบางชนิดทาปฏิกริ ิยาได้เร็วแต่บางชนิดทา
ปฏิกิริยาได้ช้า
2. ความเข้มข้นของสารตัง้ ต้น : สารทีม่ ีความเข้มข้นมากจะเกิดปฏิกริ ิยาได้เร็ว
กว่าสารทีม่ ีความเข้มข้นน้อย
3. พืน้ ทีผ่ ิวของสารตัง้ ต้น: การเพิม่ พืน้ ทีผ่ ิวจะทาให้ปฏิกริ ิยาเกิดขึน้ ได้เร็ว
4. อุณหภูมิ
5. ตัวเร่ง และตัวหน่วง :
– ตัวเร่งปฏิกิริยา (catalyst) เป็ นสารทีช่ ่วยเร่งให้ปฏิกริ ิยาเกิดได้เร็วขึน้
– ตัวหน่วงปฏิกิริยา (Inhibitor) มีผลทาให้ เกิดปฏิกิริยาได้ช้าลง หรือ
หยุดยัง้ ปฏิกริ ิยาได้อย่างสิน้ เชิง
การดูดพลังงานและคายพลังงานในปฏิริยาเคมี
เอนไซม์ ( Enzyme)
และการทางานของเอนไซม์
• เป็ นสารอินทรียป์ ระเภทโปรตีน ทาหน้าทีเ่ ป็ นตัวเร่งปฏิกิริยาเคมี
ในเซลล์ของสิ่งมีชีวิต โดยการลดระดับพลังงานกระตุน้ ลง ทาให้
เกิดปฏิกิริยาง่ายขึน้
• สารตัง้ ต้นจะเข้าจับกับเอนไซม์ทบี่ ริเวณจาเพาะเรียกบริเวณเร่ง
(active site)
• คุณสมบัตทิ สี่ าคัญทีส่ ุดของเอนไซม์คอื มีความเฉพาะเจาะจง
(SPECIFICITY) เอนไซม์จะทาหน้าทีไ่ ด้ดท ี อ่ี ุณหภูมิและความเป็ น
กรด-เบสทีเ่ หมาะสม
Lock and key model
Induced fit model

สารตัง้ ต้นจับกับบริเวนเร่งทาให้บริเวณเร่งเปลี่ยนรูปร่างให้เข้ากับสารตัง้ ต้นได้พอดี


Induced fit model

*****ไลโซมไซม์ มีบริเวณเร่งที่
สามารถจับกับเพปทิโดไกลแคนที่
เป็ นองค์ประกอบของผนังเซลล์ของ
แบคทีเรียได้
*****เมื่อเพปทิโดไกลแคนจับกับ
เอนไซม์ จะมีการเหนี่ยวนาให้บริเวณ
เร่งมีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างจนเข้า
กันได้
โคเอนไซม์

• เอนไซม์บางชนิดมีองค์ประกอบที่ไม่ใช่โปรตีนอยู่ แต่มีผลต่อการทางาน
ของเอนไซม์ เช่น แคลเซียมไอออน ซิงค์ไออน วิตามิน B1 B2 K
กิจกรรม 2.2 เอนไซม์จากสิ่ งมีชีวติ
ปัจจัยที่มีมีผลต่ อการทางานของเอนไซม์

1. pH เอนไซม์แต่ละตัวจะมีค่า pH ทีท่ างานได้ดที ส่ี ุด ส่วน


ใหญ่จะอยู่ระหว่าง pH 5 ถึง pH 9
2. อุณหภูมิ อุณหภูมิทเี่ หมาะสมต่อการทางานของของเอนไซม์ใน
คนประมาณ 25-40๐C
• แต่ทอ่ี ุณหภูมิสูงเกินไปอาจทาให้เอนไซม์เสียสภาพธรรมชาติ
อัตราเร็วจะลดลงทันที
สิ่งแวดล้อมทีม่ ีผลต่อการทางานของเอนไซม์
ตัวยับยั้งเอนไซม์ (enzyme inhibitor)
• การยับยัง้ เอนไซม์หรือการทาให้ปฏิกิริยาเอนไซม์ดาเนินช้าลง
หรือหยุดทางาน
• ตัวยับยัง้ เอนไซม์มีรูปร่างคล้ายกับสารตัง้ ต้น
• ตัวยับยัง้ เอนไซม์ไปแย่งจับกับบริเวณเร่งของเอนไซม์
• ตัวยับยัง้ เอนไซม์ไปจับกับเอนไซม์บริเวณอืน่ ทาให้เอนไซม์มี
รูปร่างเปลี่ยนไป
เพนิซิลลิน
• เป็ นยาปฎิชีวนะที่เป็ นตัวยับยัง้ เอนไซม์โดยไปยับยัง้ การเจริญเติบโตของ
แบคทีเรีย
• แย่งจับกับบริเวณเร่งของเอนไซม์ในปฏิกิรยิ าการสร้างเพปทิโดไกลแคน
ที่ผนังเซลล์ ทาให้ไม่สามารถสร้างผนังเซลล์ได้

You might also like