You are on page 1of 34

.

ปั จจัยทีม
่ ผ
ี ลต่อการเกิดปฏิกริ ย ิ าเคมีมหี ลายปั จจัย เชน ่ ชนิดของสารตัง้ ต ้น พืน้ ทีผ ั ผัสของสารตัง้ ต ้น
่ วิ สม
ตัวเร่งปฏิกริ ยิ า เป็ นต ้น ปั จจัยต่างๆ เหล่านีส ้ ง่ ผลให ้อัตราการเกิดปฏิกริ ย ิ าเปลีย
่ นแปลงไป
ปฏิกริ ย
ิ าเคมีทเี่ กิดขึน ้ ในธรรมชาติมอ ี ยูต ่ ลอดเวลา แต่ละปฏิกริ ย ิ าเกิดในเวลาแตกต่างกัน เชน ่ การเกิด
สนิมเหล็ก การเกิดหินงอกหินย ้อย ใชเวลานานมาก ้ แต่การจุดไม ้ขีดไฟ การจุดพลุ การใสย ่ าเม็ดลดกรด
ลงในน้ำ เกิดปฏิกริ ย ิ าได ้รวดเร็ว อัตราเร็วในการเกิดปฏิกริ ย ิ าขึน
้ กับปั จจัยต่างๆ ปั จจัยทีม ่ ผ
ี ลต่ออัตราการ
เกิดปฏิกริ ยิ าเคมี มีดงั นี้

1. ชนิดของสารตัง้ ต ้น
สารแต่ละชนิดมีสมบัตต ิ า่ งกัน จึงมีความว่องไวต่อการเกิดปฏิกริ ย ่ แมกนีเซย
ิ าต่างกันด ้วย เชน ี มสามารถ
ทำปฏิกริ ยิ ากับสารละลายกรด และเกิดเป็ นแก๊สไฮโดรเจนได ้อย่างรวดเร็ว แต่แมกนีเซย ี มจะทำปฏิกริ ย
ิ า
กับออกซเิ จนได ้ชา้ หรือโลหะโซเดียมทำปฏิกริ ย ิ ากับน้ำเย็นได ้เร็วมาก ขณะทีโ่ ลหะแมกนีเซย ี มจะทำ
ิ ากับน้ำเย็นได ้ชา้ แต่จะเกิดเร็วขึน
ปฏิกริ ย ้ เมือ
่ ทำปฏิกริ ย
ิ ากับน้ำร ้อน เป็ นต ้น

2. ความเข ้มข ้นของสารตัง้ ต ้น


หากสารตัง้ ต ้นมีความเข ้มข ้นมาก ปฏิกริ ย
ิ าจะเกิดเร็ว เนือ ่ งจากความเข ้มข ้นของสารทีม ่ าก จะมีอนุภาค
ของสารอยูร่ วมกันอย่างหนาแน่น อนุภาคของสารจึงมีโอกาสชนกัน แล ้วเกิดปฏิกริ ย ่
ิ าได ้รวดเร็ว เชน
ปฏิกริ ย ้
ิ าระหว่างโลหะกับกรด ถ ้าใชกรดที ม่ ค
ี วามเข ้มข ้นสูงเป็ นสารตัง้ ต ้น จะทำให ้โลหะถูกกัดกร่อนเร็ว

3. พืน
้ ทีผ ั ผัสของสารทีเ่ ข ้าทำปฏิกริ ย
่ วิ สม ิ า
พืน
้ ทีผ
่ วิ ของสารตัง้ ต ้นจะมีผลต่อปฏิกริ ย ิ าเคมี ในลักษณะทีส ่ ารตัง้ ต ้นชนิดหนึง่ มีสถานะเป็ นของแข็ง กับ
สารอีกชนิดหนึง่ มีสถานะเป็ นของเหลว เนือ ่ งจากพืน ้ ทีผ่ วิ ทีเ่ พิม
่ ขึน้ จะทำให ้ของแข็งมีพน ื้ ทีส ั ผัสกับ
่ ม
ของเหลวมากขึน ้ การเกิดปฏิกริ ย
ิ าก็เร็วขึน ้ เชน ่ การเคีย
้ วอาหารให ้ละเอียดก่อนกลืนลงท ้อง ซงึ่ ชว่ ยให ้
อาหารมีขนาดเล็กลง เป็ นการเพิม ่ พืน
้ ทีผ
่ วิ สมั ผัสของอาหาร ทำให ้กรดและเอนไซม์ในน้ำย่อยของ
กระเพาะอาหารทำปฏิกริ ย ิ ากับอาหารได ้เร็วขึน ้

4. อุณหภูม ิ
อัตราการเกิดปฏิกริ ย ิ าเคมีจะเพิม ่ ขึน
้ เมือ
่ อุณหภูมส ิ งู ขึน
้ เนือ
่ งจากอุณหภูมท ิ สี่ งู จะทำให ้อะตอมหรือ
โมเลกุลของสารเคลือ ่ นทีไ่ ด ้เร็วขึน
้ ตัวอย่างเชน ่ การบ่มผลไม ้ในภาชนะทีม ่ ฝ ี าปิ ด จะสุกเร็วกว่าผลไม ้ทีต
่ งั ้
ไว ้ข ้างนอก หรืออาหารทีไ่ ม่ได ้เก็บไว ้ในตู ้เย็น จะเน่าเสย ี ได ้ง่ายกว่าอาหารทีเ่ ก็บในตู ้เย็น เนือ
่ งจากในตู ้
เย็นมีอณ ุ หภูมต ่
ิ ่ำ จึงชวยชะลอการเกิดปฏิกริ ย ิ าเคมีในอาหารได ้ ทำให ้เน่าเสยชาลง ี ้

5. ความดัน
ความดันมีผลกับการเกิดปฏิกริ ย
ิ าเคมีของสารตัง้ ต ้นทีเ่ ป็ นแก๊ส กล่าวคือ เมือ
่ ความดันในระบบเพิม ่ ขึน

อนุภาคของแก๊สจะถูกบีบให ้อยูใ่ กล ้กันมากขึน
้ การเคลือ ่ นทีช
่ นกันจึงเกิดมากขึน้ ด ้วย ปฏิกริ ย
ิ าเคมีจงึ เกิด
ได ้ไวขึน
้ นั่นเอง

6. ตัวหน่วงปฏิกริ ยิ า
ตัวหน่วงปฏิกริ ยิ า คือสารทีเ่ ติมลงไปในปฏิกริ ย ิ าแล ้วทำให ้ปฏิกริ ย ้
ิ าเกิดชาลง หรือมีผลยับยัง้ ปฏิกริ ยิ า
และเมือ ิ้ สุดปฏิกริ ย
่ สน ิ า ตัวหน่วงปฏิกริ ย
ิ ายังคงมีสมบัตทิ างเคมีเหมือนเดิม และมีปริมาณเท่าเดิม เชน ่ การ
เติมวิตามินอีในน้ำมันพืชเพือ ่ ป้ องกันการเหม็นหืน หรือการยับยัง้ การเน่าเสย ี ของอาหารด ้วยการใสส ่ ารกัน
บูด

7. ตัวเร่งปฏิกริ ย
ิ า
ตัวเร่งปฏิกริ ย
ิ า คือ สารทีเ่ ติมลงไปในปฏิกริ ย ิ าแล ้วทำให ้เกิดปฏิกริ ย ิ าได ้เร็วขึน
้ โดยทีต่ วั เร่งปฏิกริ ย ิ าอาจ
จะมีสว่ นร่วมในการเกิดปฏิกริ ย ิ า หรือไม่กไ
็ ด ้ แต่เมือ
่ สน ิ้ สุดปฏิกริ ย
ิ าแล ้ว ตัวเร่งปฏิกริ ย
ิ าเหล่านีย ้ งั คงมี
ปริมาณเท่าเดิม และมีสมบัตเิ หมือนเดิม ตัวเร่งปฏิกริ ย ิ าทีพ ่ บได ้ทัว่ ไป คือ เอนไซม์อะไมเลสในน้ำลายที่
ชว่ ยย่อยแป้ ง เอนไซม์เพปซน ิ ในกระเพาะอาหารทีช ่ ว่ ยย่อยโปรตีน เอนไซม์ไซเมสจากยีสต์ทใี่ ชใน ้
กระบวนการเปลีย ่ นน้ำตาลกลูโคสให ้กลายเป็ นเอทานอล และแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์
กรด (Acid) เป็ นสารเคมีทม
ี่ ส
ี มบัต ิ ดังนี้

1. มีคา่ pH น ้อยกว่า 7
2. เปลีย ี ระดาษลิตมัสจากสน
่ นสก ี ้ำเงินเป็ นสแ
ี ดง
3. มีรสเปรีย
้ ว
4. เมือ
่ ละลายน้ำจะแตกตัวเป็ นไอออน กลายเป็ นสารละลายทีน
่ ำไฟฟ้ า
ได ้
5. ละลายน้ำแล ้วแตกตัวให ้ไฮโดรเจนไอออน (H+) หรือให ้โปรตอนแก่
สารอืน

6. สารละลายกรดทำให ้สารละลายของเบสมีคา่ ความเป็ นเบสลดลง
หรือเป็ นกลางได ้
7. กรดเมือ่ ทำปฏิกริ ย
ิ ากับเบส เรียกว่า ปฏิกริ ย
ิ าสะเทิน จะได ้
ผลิตภัณฑ์เป็ นเกลือกับน้ำ เชน ่ กรดซลั ฟิ วริกทำปฏิกริ ย
ิ ากับโพแทสเซยี ม
ไฮดรอกไซด์ ได ้โพแทสเซย ี มซล
ั เฟตกับน้ำ
8. ทำปฏิกริ ยิ ากับโลหะได ้เกลือของโลหะนัน ้ และบางกรณีได ้แก๊ส
ไฮโดรเจนด ้วย เชน ่ สงั กะสท
ี ำปฏิกริ ย ั ฟิ วริกจะได ้ซงิ
ิ ากับกรดซล
ั เฟตและแก๊สไฮโดรเจน
ค์ซล
9. ทำปฏิกริ ย
ิ ากับสารคาร์บอเนตหรือสารประกอบไฮโดรเจน
คาร์บอเนตได ้แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ เชน ่ แคลเซย ี มคาร์บอเนต (หินปูน)
ทำปฏิกริ ย
ิ ากับกรดซล ั ฟิ วริกได ้แคลเซย
ี มซลั เฟต น้ำ และแก๊ส
คาร์บอนไดออกไซด์
10. ทำปฏิกริ ย
ิ ากับสารประกอบซล ั ไฟด์ได ้แก๊สไฮโดรเจนซล
ั ไฟด์ เชน

ั ไฟด์ ทำปฏิกริ ย
ไอร์ออน (II) ซล ิ ากับกรดไฮโดรคลอริกจะได ้ไอร์ออน (II)
คลอไรด์และแก๊สไฮโดรเจนซล ั ไฟด์
ประเภทของสารละลายกรด

สารละลายกรดแบ่งเป็ น 2 ประเภท ได ้แก่

กรดอินทรีย ์ (Organic acid) เป็ นกรดทีไ่ ด ้จากธรรมชาติ จากสงิ่ มีชวี ต ่


ิ เชน
- กรดแอซต ิ ก
ิ (acetic acid) หรือกรดน้ำสม้ ได ้จากการหมักแป้ งหรือน้ำตาลโดยใชจุ้ ลน
ิ ทรีย ์ ซงึ่

นิยมใชในการผลิ ้
ตน้ำสมสายชู

ิ ริก (citric acid) หรือกรดมะนาว เป็ นกรดทีอ


- กรดซต ่ ยูใ่ นผลไม ้ทีม
่ รี สเปรีย ่ สม้ มะนาว
้ ว เชน

ิ (ascorbic acid) หรือวิตามินซ ี มีอยูใ่ นผลไม ้ทีม


- กรดแอสคอร์บก ่ รี สเปรีย
้ ว
้ ้างโปรตีน มักพบในเนือ
- กรดอะมิโน (amino acid) เป็ นกรดทีใ่ ชสร ั ว์ ผลไม ้เปลือกแข็ง หรือพืช
้ สต
ตระกูลถัว่

กรดอนินทรีย(์ Inorganic Acids) เป็ นกรดทีไ่ ด ้จากแร่ธาตุ จึงอาจเรียกว่ากรดแร่กไ


็ ด ้ มีความสามารถใน
การกัดกร่อนสูง ถ ้าถูกผิวหนังหรือเนือ
้ เยือ
่ ของร่างกายจะทำให ้ไหม ้ แสบ หรือมีผน ื่ คัน

ตัวอย่างเชน

- กรดไฮโดรคลอริก (hydrochloric acid) หรือกรดเกลือ

- กรดไนตริก (nitric acid) หรือกรดดินประสวิ

- กรดคาร์บอนิก (carbonic acid) หรือกรดหินปูน

ั ฟิ วริก (sulfuric acid) หรือกรดกำมะถัน


- กรดซล

สารละลายเบส

เบส คือ สารประกอบทีท่ ำปฏิกริ ย


ิ ากับกรด แล ้วได ้เกลือกับน้ำจะสามารถแตกตัวให ้ไฮดรอกไซ
ด์ไอออน (OH-) เบสทุกชนิดจะมีรสฝาด

สมบัตข
ิ องสารละลายเบส

เบสทุกชนิดมีรสฝาดหรือเฝื่ อน
เปลีย
่ นสกี ระดาษลิตมัสจากสแ ี ดงเป็ นสนี ้ำเงิน (มีคา่ pH มากกว่า 7)
ทำปฏิกริ ยิ ากับน้ำมันพืช หรือน้ำมันหมู จะได ้สารละลายทีม ่ ฟ
ี องคล ้ายสบู่
ทำปฏิกริ ย ิ ากับแอมโมเนียไนเตรตจะได ้แก๊สทีม ่ ก
ี ลิน
่ ฉุนของแอมโมเนีย
สามารถกัดกร่อนโลหะ อะลูมเิ นียมและสงั กะส ี และมีฟองแก๊สเกิดขึน ้
ทำปฏิกริ ย ิ ากับกรดได ้เกลือและน้ำ เชน่ สารละลายโซดาไฟ (โซเดียมไฮดรอกไซด์) ทำปฏิกริ ยิ ากับกรด

เกลือ (กรดไฮโดรคลอริก) ได ้เกลือโซเดียมคลอไรด์ หรือเกลือแกงทีใ่ ชปรุงอาหาร นอกจากนีโ้ ซดาไฟ
ยังสามารถทำปฏิกริ ย ิ ากับกรดไขมัน ได ้เกลือโซเดียมของกรดไขมัน หรือทีเ่ รียกว่า สบู่
ประเภทของเบส

ตัวอย่างสารละลายเบสในชวี ต
ิ ประจำวันและสงิ่ แวดล ้อม มีดงั ต่อไปนี้

สารประเภททำความสะอาด

- โซเดียมไฮดรอกไซด์ (NaOH) ใชทำสบู ่

- แอมโมเนีย (CH3) น้ำยาล ้างกระจก,น้ำยาปรับผ ้านุ่ม

ั ฟอก
- โซเดียมคาร์บอเนต (Na2CO3) อุตสาหกรรมผงซก

สารปรุงแต่งอาหาร
- โซเดียมไฮดรอกไซด (NaOH) ทำผงชูรส

- โซเดียมไบคาร์บอเนต (NaHCO3) ทำขนม


สารทีใ่ ชทางการเกษตร ได ้แก่ ปุ๋ย
้ ๋ย
- ยูเรีย [CO(NH2)2] ใชทำปุ

ี มไฮดรอกไซด์ [Ca(OH)2] แก ้ดินเปรีย


- แคลเซย ้ ว

ยารักษาโรค
- NH3(NH4)2CO3 แก ้เป็ นลม

ี มไฮดรอกไซด์ [ Ca(OH)2] ลดกรดในกระเพาะอาหาร


- แคลเซย

ี มไฮดรอกไซด์ [ Mg(OH)2] ลดกรดในกระเพาะอาหาร , ยาถ่าย


- แมกนีเซย

You might also like